295 ผลลัพธ์ สำหรับ *ปฏิเสธ*
ภาษา
หรือค้นหา: ปฏิเสธ, -ปฏิเสธ-Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N | [มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, o) มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: Norma Jeane Mortenson) เกิดวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1926 – 5 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นอดีตนักแสดง นักร้อง นางแบบชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากบทบาท "dumb blonde" เธอกลายเป็นสัญลักษณ์ทางเพศที่ได้รับความนิยมในคริสต์ทศวรรษ 1950 เป็นสัญลักษณ์ของทัศนคติที่มีต่อเพศแห่งยุค แม้ว่าเธอได้เป็นนักแสดงระดับต้น ๆ เพียงแค่หนึ่งทศวรรษ ภาพยนตร์ของเธอทำรายได้ได้ 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐก่อนที่เธอจะเสียชีวิตอย่างไม่คาดคิดใน ค.ศ. 1962[ 1 ] เธอยังถือว่าเป็นสัญรูปของวัฒนธรรมสมัยนิยมหลัก ๆ นับแต่นั้นมา[ 2 ] มอนโรเกิดและเติบโตในลอสแอนเจลิส วัยเด็กเธออาศัยอยู่ในบ้านรับเลี้ยงเด็ก และสถานเด็กกำพร้า และสมรสครั้งแรกเมื่ออายุ 16 ปี ขณะทำงานในโรงงานเป็นส่วนหนึ่งของกำลังสงคราม ใน ค.ศ. 1944 เธอพบกับช่างภาพคนหนึ่ง และเริ่มทำอาชีพนางแบบ งานของเธอทำให้เธอได้เซ็นสัญญากับภาพยนตร์ขนาดสั้น 2 เรื่องกับค่ายทเวนตีท์เซนจูรีฟอกซ์ (1946-1947) และโคลัมเบียพิกเจอส์ (1948) หลังจากรับบทย่อยในภาพยนตร์จำนวนหนึ่ง เธอเซ็นสัญญาใหม่กับฟอกซ์ใน ค.ศ. 1951 เธอกลายเป็นนักแสดงที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็วด้วยบทบาทตลกขบขันหลายบทบาท เช่นในเรื่อง แอสยังแอสยูฟีล (1951) และมังกีบิสเนส (1952) และในภาพยนตร์ดรามาเรื่อง แคลชบายไนต์ (1952) และ โดนต์บาเดอร์ทูน็อก (1952) มอนโรเผชิญหน้ากับข่าวลือหลังจากมีการเปิดเผยว่าเธอเคยถ่ายแบบเปลือยก่อนมาเป็นนักแสดง แต่แทนที่จะทำลายอาชีพเธอ มันกลับทำรายได้ให้กับบอกซ์ออฟฟิศ ก่อน ค.ศ. 1953 มอนโรเป็นหนึ่งในดาราฮอลลิวูดที่มีบทบาทนำในภาพยนตร์ 3 เรื่อง ได้แก่ ฟิล์มนัวร์ เรื่อง ไนแอการา (ภาพยนตร์ ค.ศ. 1953)|ไนแอการา ซึ่งมุ่งจุดสนใจที่เสน่ห์ทางเพศของเธอ และภาพยนตร์ตลกเรื่อง เจนเทิลเม็นพรีเฟอร์บลอนส์ และ ฮาวทูแมร์รีอะมิลเลียนแนร์ ซึ่งสร้างภาพลักษณ์ให้เธอเป็น "dumb blonde" แม้ว่าเธอจะมีบทบาทสำคัญในการสร้างและจัดการภาพลักษณ์สาธารณะของเธอตลอดอาชีพการทำงาน เธอรู้สึกผิดหวังต่อสตูดิโอที่ไทป์แคสต์ และการให้ค่าตัวเธอต่ำไป เธอถูกพักงานเป็นช่วงสั้น ๆ ในต้นปี ค.ศ. 1954 เนื่องจากเธอปฏิเสธโครงการทำภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง แต่กลับมาเป็นดาราในภาพยนตร์เรื่องที่ประสบความสำเร็จที่สุดเรื่องหนึ่งคือ เดอะเซเวนเยียร์อิตช์ (1955) เมื่อสตูดิโอยังลังเลที่จะเปลี่ยนแปลงสัญญาของเธอ มอนโรก่อตั้งบริษัทผลิตภาพยนตร์ใน ค.ศ. 1954 ชื่อ มาริลิน มอนโร โพรดักชันส์ (MMP) ขณะก่อสร้างบริษัท เธอเริ่มศึกษาการแสดงที่แอกเตอส์สตูดิโอ ในปลายปี ค.ศ. 1955 ฟอกซ์มอบฉันทะให้เธอควบคุมและให้เงินเดือนสูงขึ้น หลังจากได้รับคำสรรเสริญจากการแสดงในเรื่อง บัสสต็อป (1956) และการแสดงในภาพยนตร์อิสระเรื่องแรกของบริษัท MMP เรื่อง เดอะพรินซ์แอนด์เดอะโชว์เกิร์ล (1957) เธอได้รับรางวัลลูกโลกทองคำจากเรื่อง ซัมไลก์อิตฮอต (1959) ภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายของเธอที่ถ่ายทำจนเสร็จคือเรื่อง เดอะมิสฟิตส์ (1961) |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ปฏิเสธ | (v) deny, See also: refuse, refute, decline, reject, Syn. ไม่ยอมรับ, ไม่รับ, ไม่ยอม, Ant. ยอมรับ, รับ, Example: รัฐบาลปฏิเสธไม่ยอมรับรองความตกลงที่คณะผู้เจรจาทำเอาไว้ |
คำปฏิเสธ | (n) refusal, See also: denial, refutation, reject, decline, Example: นักเรียนไม่พอใจกับคำปฏิเสธของท่านอธิการเรื่องการขออนุญาตจัดงานปีใหม่ |
ประโยคปฏิเสธ | (n) negative sentence, Example: ประโยคบอกเล่าในภาษาไทยเปลี่ยนเป็นประโยคปฏิเสธได้โดยการเติมคำว่า ไม่ หน้าคำกริยา |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ปฏิเสธ | ก. ไม่รับ, ไม่ยอมรับ, เช่น ปฏิเสธการเชิญ, ไม่ยอมรับข้อเท็จจริง เช่น ปฏิเสธข้อกล่าวหา |
ปฏิเสธ | แสดงความหมายตรงกันข้ามกับยืนยัน รับ หรือ ยอมรับ. |
ปฏิเสธข่าว | ก. แสดงยืนยันว่าไม่เป็นไปตามนั้น. |
ก้มหัว | ก. น้อมหัวลงเพื่อแสดงกิริยาเคารพ, โดยปริยายหมายความว่า ยอมอ่อนน้อม (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่ยอมก้มหัวให้ใคร. |
กระดิกหู | เข้าใจดี, รู้เรื่องดี, ใช้กับการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ภาษาอังกฤษฉันกระดิกหูเสียที่ไหนถึงจะให้ไปทำงานบ้านฝรั่ง. |
กินกัน | ก. เอาเงินกันในระหว่างคู่ขาการพนัน, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่กินกัน. |
กินเกลียว | ก. เข้ากันได้สนิท, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่กินเกลียวกัน. |
กินเส้น | ก. ชอบกัน, เข้ากันได้, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่กินเส้นกัน. |
แก่นสาร | น. สิ่งที่ยั่งยืนถาวร, หลักที่ควรยึดถือ, คุณประโยชน์, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่เป็นแก่นสาร. |
ขยับเขยื้อน | (-ขะเยื่อน) ก. เคลื่อนที่, เลื่อนที่, ย้ายที่, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น หมอห้ามไม่ให้ขยับเขยื้อนเพราะกระดูกหัก. |
ข้องแวะ | ก. ติดต่อ, เอาใจใส่, เกี่ยวพัน, เกี่ยวข้อง, มักใช้ในประโยคที่มีความหมายเป็นเชิงถามหรือปฏิเสธ. |
ขานนาค | ก. กล่าวตอบในเวลาที่พระคู่สวดสวดถามคุณสมบัติและโรคต้องห้ามเป็นภาษาบาลีในที่ประชุมสงฆ์ แล้วนาคผู้ขอบวชเป็นภิกษุตอบรับหรือปฏิเสธเป็นภาษาบาลีเช่นกัน. |
ขึ้น ๒ | มีเหตุผลสมควร เช่น ฟังขึ้น, ถ้าใช้ในความปฏิเสธ เช่น เถียงไม่ขึ้น หมายความว่า เถียงไม่ชนะ. |
เข้าเรื่อง | มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น พูดไม่เข้าเรื่อง ทำไม่เข้าเรื่อง. |
เข้าหู | ว. น่าฟัง (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น พูดไม่เข้าหู. |
ค่อย ๓ | ว. คำนำหน้าความข้างท้ายให้ติดต่อกับความข้างหน้า แสดงกิริยาที่กระทำภายหลัง เช่น กินข้าวแล้วค่อยไป, ถ้าใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ค่อย หมายความว่า น้อย, บ้าง, (ตามส่วนของสิ่งที่พูดถึง) เช่น ไม่ค่อยมี ไม่ค่อยพูด, ไม่ใคร่ ก็ว่า. |
คำให้การ | น. ถ้อยคำหรือข้อความที่ผู้ถูกกล่าวหาหรือถูกฟ้อง รับ ภาคเสธ ปฏิเสธ หรือแก้ข้อหาในคดีที่ถูกกล่าวหาหรือถูกฟ้องในคดีอาญา หรือที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกเป็นข้อต่อสู้ในคดีแพ่งหรือในคดีปกครอง. |
แคล้ว | (แคฺล้ว) ก. รอดไป, พ้นไป, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น เป็นเนื้อคู่กันแล้วไม่แคล้วกัน ไม่แคล้วไม้เรียว. |
เจียมสังขาร | ก. รู้จักประมาณร่างกาย, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่เจียมสังขาร. |
ชา ๖ | ก. เอาใจใส่, ถือสา, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น อย่าถือคนบ้า อย่าชาคนเมา (ลาว ว่า เอาใจใส่, ว่ากล่าว, บอกสอน, กำกับ). |
ใช่ | บางทีก็ใช้เป็นคำปฏิเสธหมายความว่า ไม่ใช่ เช่น รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม, ใช่นางเกิดในปทุมา สุริวงศ์พงศาก็หาไม่ (อิเหนา). |
ดอก ๓ | ว. คำประกอบใช้ในความแย้งหรือปฏิเสธ เช่น ได้แต่มัทรีที่แสนดื้อผู้เดียวดอก ไม่รู้จักปลิ้นปลอกพลิกไพล่เอาตัวหนี (ม.ร่ายยาว มัทรี), (ปาก) มักพูดว่า หรอก เช่น ไม่ไปหรอก. |
ดูดำดูดี | ก. เอาใจใส่ดูแลทั้งในเวลามีทุกข์และมีสุข เช่น จะหวังอะไรให้เขามาดูดำดูดีกับคนอย่างเรา, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เขาไม่ดูดำดูดีเด็กคนนี้เลย. |
ดูตาม้าตาเรือ | ก. มีความรอบคอบระมัดระวัง (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เขาเดินไม่ดูตาม้าตาเรือเลยถูกรถชน. |
ดูเบา | ก. เห็นเป็นการเล็กน้อย, เห็นไม่เป็นสำคัญ, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น อย่าดูเบา. |
เดียงสา | ว. รู้ภาษา, รู้ความ, รู้ผิดรู้ชอบตามปรกติสามัญ, (มักใช้ในความปฏิเสธ), เช่น เด็กยังไม่รู้เดียงสา. |
ได้สติ | ใช้ในความปฏิเสธหมายความว่า ไม่ดี ใช้การไม่ได้ ในคำว่า ไม่ได้สติ. |
ตรึก ๒ | (ตฺรึก) ก. หมด, สิ้น, เปลือง, น้อย, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ตรึก, มิตรึก, หมายความว่า มาก, เช่น จึงองค์มิสาระปันหยี จึงตอบว่าข้าจะให้ไก่ดีดี ของเรามีไม่ตรึกอย่าร้อนใจ (อิเหนา), ท่านก็ไม่ขัดสนจนพราย มากมายตามพรูอยู่มิตรึก แรกรักจะรำพันให้ครั่นครึก (ขุนช้างขุนแผน), ฤๅจะใคร่ได้เมียสาวสาว ขาวขาวดี ดีมีไม่ตรึก (มณีพิชัย). |
ตรึกถอง | (ตฺรึก-) ว. น้อย, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ตรึกถอง หรือ ไม่ตรึกไม่ถอง, หมายความว่า มาก, เช่น มีทรัพย์สมบัติไม่ตรึกถอง นับไม่ตรึกไม่ถอง. |
ถือสา | ก. ยึดเอาเป็นเรื่องเป็นราว, ถือเอาเป็นโทษ, (มักใช้ในทางปฏิเสธ) เช่น เรื่องเล็กน้อยไม่ควรถือสา. |
ทันกิน | ก. คิดหรือทำการใด ๆ ทันท่วงที (โดยปรกติใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น ทำการงานช้าไม่ทันกิน มัวงุ่มง่ามอยู่อย่างนี้ไม่ทันกิน. |
ที่ไหนได้ | ว. อะไรได้, หาใช่เช่นนั้นไม่, คำใช้แสดงความประหลาดใจ ไม่พอใจ ปฏิเสธ หรือแย้ง เป็นต้น เช่น ก พูดว่า หนังสือเล่มนี้ราคาถึง ๑๐ บาทไหม ข ตอบว่า ที่ไหนได้ ตั้ง ๕๐ บาท. |
นำพา | ก. เอาใจใส่, เอื้อเฟื้อ, ช่วยธุระ, ใช้ในประโยคปฏิเสธว่า ไม่นำพา. |
นิยมนิยาย | น. ความแน่นอน, ใช้ในความปฏิเสธว่า เอานิยมนิยายไม่ได้ หมายความว่า หาความแน่นอนจริงจังอะไรไม่ได้. |
นิเสธ | ว. ปฏิเสธ, ทางลบ. |
บรรลุโสดา | หมดกิเลส, รอบรู้ทุกสิ่งทุกอย่าง, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ฉันยังไม่บรรลุโสดานี่ |
บังควร | ว. ควรอย่างยิ่ง, เหมาะอย่างยิ่ง, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่บังควร หาเป็นการบังควรไม่. |
บันเบา | ว. น้อย (โดยมากมักใช้ในทางปฏิเสธหรือเป็นเชิงคำถาม) เช่น เขามีวาทศิลป์พูดชักจูงใจคนไม่บันเบาทีเดียว. |
บ้านเมืองมีขื่อมีแป | น. บ้านเมืองหรือประเทศย่อมมีกฎหมายคุ้มครอง เช่น ถ้าบ้านเมืองมีขื่อมีแป คงไม่ทำกับอ้ายแก่เช่นนี้ได้ (เสภาพญาราชวังสัน), มักใช้ในเชิงปฏิเสธว่า บ้านเมืองไม่มีขื่อไม่มีแป. |
แบ่งรับแบ่งสู้ | ก. รับบ้างปฏิเสธบ้าง, รับหรือปฏิเสธโดยมีเงื่อนไข, ภาคเสธ. |
โบกมือ | ก. ชูมือขึ้นแล้วกวักมือทำสัญญาณเรียก, ชูมือขึ้นแล้วส่ายมือไปมาทำสัญญาณทักทาย ลา หรือปฏิเสธ เป็นต้น. |
ประพจน์ | ประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธซึ่งเป็นข้อความจริงหรือเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น จะมีความหมายกำกวมไม่ได้. (อ. proposition). |
ประโยค | (ปฺระโหฺยก) น. คำพูดหรือข้อความที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่ง ๆ เช่น ประโยคบอกเล่า ประโยคปฏิเสธ ประโยคคำถาม |
ประสีประสา | น. วิสัย, เรื่องราว, ความเป็นไป, ความหมาย, (มักใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น ไม่รู้ประสีประสา. |
ปรานีปราศรัย | (ปฺรานีปฺราไส) ก. ปรานี (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ใช้อย่างไม่ปรานีปราศรัย. |
ปริปาก | ก. แย้มปากพูดออกมา (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น อย่าปริปากบอกใครนะ. |
ปิดงาน | น. การที่นายจ้างปฏิเสธไม่ยอมให้ลูกจ้างทำงานชั่วคราวเนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน. |
เป็นการ | ก. ได้ผล, สำเร็จ, เช่น เป็นการหรือไม่เป็นการ, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น เห็นจะไม่เป็นการ. |
เป็นควัน | ว. อาการที่ปฏิเสธข้อกล่าวหาอุตลุดเป็นพัลวัน. |
เป็นชิ้นเป็นอัน | ว. เป็นสาระ, เป็นเรื่องเป็นราว, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
peremptory exceptions | การปฏิเสธคำฟ้องโดยสิ้นเชิง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
proportion of refusal | สัดส่วนของการปฏิเสธ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
repudiation | การปฏิเสธ (การชำระหนี้, สัญญา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
refusal | การปฏิเสธ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
rejection | ปฏิกิริยาปฏิเสธสิ่งปลูกถ่าย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rejection | การปฏิเสธ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rejection risk insurance | การประกันภัยปฏิเสธนำเข้า [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
refuse | ปฏิเสธ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
repudiation | การปฏิเสธ, การไม่ยอมรับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standing mute | การปฏิเสธโดยการนิ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
alternative denial | การปฏิเสธแบบเลือก [ มีความหมายเหมือนกับ NAND ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
joint denial | การปฏิเสธแบบร่วม [ มีความหมายเหมือนกับ NOR ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
qui non negat fatetur (L.) | ผู้ไม่ปฏิเสธถือว่ายอมรับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
consideration, failure of | การละเลยไม่ให้สินจ้าง, การปฏิเสธไม่ให้สินจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
disavow | ปฏิเสธ, ไม่ยอมรับ (การกระทำที่ไม่ได้รับมอบหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
decline list | รายการภัยที่ปฏิเสธ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
denial | การปฏิเสธ, คำปฏิเสธ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
denial of justice | การไม่ให้ความยุติธรรม, การปฏิเสธความยุติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
general issue | การปฏิเสธตลอดข้อหา, การปฏิเสธโดยสิ้นเชิง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
failure of consideration | การละเลยไม่ให้สินจ้าง, การปฏิเสธไม่ให้สินจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ei qui affirmat non ei qui negat incumbit probatio (L.) | หน้าที่นำสืบเป็นของผู้กล่าวอ้างไม่ใช่ของผู้ปฏิเสธ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
irrationallism | คติปฏิเสธเหตุผลนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
traverse | คำปฏิเสธข้อกล่าวหา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
negative pregnant | การภาคเสธ, การปฏิเสธที่มีผลเท่ากับการยอมรับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
wilful refusal | การจงใจบอกปัด, การจงใจปฏิเสธ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Pending | ช่วงระยะเวลาที่สำนักงานสิทธิบัตรกำลังพิจารณา ยังไม่ตัดสินว่าจะให้สิทธิหรือปฏิเสธแก่การประดิษฐ์ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Disposal | คำขอรับสิทธิบัตรนั้นถูกตัดสินแล้ว, คำขอรับสิทธิบัตรนั้นถูกตัดสินแล้ว อาจเป็นการถอนคืน ปฎิเสธ หรืออนุมัติให้สิทธิ แต่ส่วนใหญ่ให้ความหมายเป็นนัยว่าการปฏิเสธรับ, Example: ใช้ในบางประเทศ เช่นสหรัฐอเมริกา เป็นการกล่าวถึงว่า คำขอรับสิทธิบัตรนั้นถูกตัดสินแล้ว อาจเป็นการถอนคืน ปฎิเสธ หรืออนุมัติให้สิทธิ แต่ส่วนใหญ่ให้ความหมายเป็นนัยว่าการปฏิเสธรับ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Rejection | สำนักงานสิทธิบัตรปฏิเสธ ไม่ยอมรับคำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Conscientious objection | การปฏิเสธที่จะปฏิบัติตามกฎหมายที่ขัดต่อมโนธรรม [TU Subject Heading] |
Agreement | การที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง [การทูต] |
Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] |
Exequatur | คำนี้แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า ?let him perform? เป็นหนังสือหรืออนุมัติบัตรแสดงการรับรองผู้ที่ดำรงตำแหน่งกงสุลโดยประมุข หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัฐซึ่งกงสุลผู้นั้นได้ถูกส่งไป ประจำ Exequatur เป็นอนุมัติบัตรที่มอบให้กงสุล แสดงว่ามีอำนาจที่จะปฏิบัติตามหน้าที่ของกงสุลทั้งหมด สามารถเป็นหลักฐานที่ใช้แสดงต่อเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นภายในเขตอาณัติของกงสุล ด้วย รัฐที่ปฏิเสธไม่ออก Exequatur ให้นั้น ไม่จำเป็นต้องบอกเหตุผลแก่รัฐผู้ส่งว่าเพราะเหตุผลใดจึงปฏิเสธ ในเรื่องนี้ข้อ 12 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ว่า?1. หัวหน้า สถานที่ทำการทางกงสุล จะเข้าปฏิบัติการหน้าที่ของตนได้ โดยอนุมัติจากรัฐผู้รับเรียกว่า อนุมัติบัตรไม่ว่าการให้อนุมัติจะเป็นไปในรูปใดก็ตาม 2. รัฐซึ่งปฏิเสธไม่ให้อนุมัติบัตรไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการปฏิเสธ เช่นว่านั้นแก่รัฐผู้ส่ง 3. ภายในข้อบังคับแห่งบทของข้อ 13 และ 15 หัวหน้าสถานที่ทำการทางกงสุลจะไม่เข้ารับหน้าที่ของตนจนกว่าจะได้รับอนุมัติ บัตรแล้ว? [การทูต] |
Good Offices และ Mediation | วิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยฉันมิตร คำว่า Good Offices หมายถึง การช่วยเป็นสื่อกลาง ส่วน Mediation หมายถึง การไกล่เกลี่ยศัพท์ทั้งสองนี้หมายถึงวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยฉันมิตร กล่าวคือ ในกรณีข้อพิพาทซึ่งการเจรจากันทางการทูตไม่สามารถตกลงกันได้ง่าย ๆ ดังนั้น รัฐที่สามอาจยื่นมือเข้าช่วยเป็นสื่อกลาง หน้าที่ในการนี้มิใช่ออกความเห็นหรือวินิจฉัยชี้ขาดว่าใครถูกใครผิดในกรณี ข้อพิพาท หากเป็นแต่เพียงแสวงหาลู่ทางที่จะระงับข้อพิพาทจะต้องมีให้น้อยที่สุดเท่า ที่จะทำได้ และถือว่าเป็นกาดรกระทำฉันมิตร (Friendly act) คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธข้อเสนอได้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดทางการ เมือง หรือคู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจขอร้องให้ช่วยเป็นสื่อกลาง หรือให้ช่วยไกล่เกลี่ย ตามธรรมดาการช่วยเป็นสื่อกลางนั้นเป็นเพียงการเข้าช่วยงานพื้นฐาน หรือให้มีการเริ่มต้นการเจรจาเท่านั้น ส่วนงานเจรจาที่จะกระทำโดยตรงกว่าจะมีลักษณะเป็นการไกล่เกลี่ย แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีการคำนึงกันนักถึงความแตกต่างจริงๆ ระหว่างวิธีทั้งสอง คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธไม่ยอมรับการไกล่เกลี่ยไม่ว่าเวลาใดก็ได้ จะเห็นได้ว่า การช่วยเป็นสื่อกลางกับการไกล่เกลี่ยนั้นแตกต่างกัน คือ ในกรณีการช่วยเป็นสื่อกลาง ฝ่ายที่สามจะกระทำแต่เพียงช่วยให้มีการหันหน้าเข้าเจรจากันระหว่างคู่พิพาท ส่วนในกรณีการไกล่เกลี่ย ฝ่ายที่สามพยายามจัดให้มีการเจรจากันจริง ๆ ตามมูลฐานข้อเสนอของตน ฝ่ายที่เสนอช่วยเป็นสื่อกลางหรือช่วยไกล่เกลี่ยนั้น อาจจะมาจากประเทศที่สาม หรือจากองค์การระหว่างประเทศ หรือจากบุคคลธรรมดาคนหนึ่งก็ได้ [การทูต] |
Palestine Question | ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต] |
Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] |
Recall of Diplomats | การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] |
Size of Staff of Diplomatic Mission | ขนาดของคณะผู้แทนทางการทูต โดยพฤตินัย จำนวนคณะผู้แทนทางการทูตจะมีตั้งแต่แห่งละหนึ่งหรือสองคนขึ้นไป จนถึงแห่งละ 100 กว่าคนได้ แต่โดยส่วนเฉลี่ย คณะผู้แทนทางการทูต จะมีจำนวนระหว่าง 12 ถึง 24 คน สำหรับคณะผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ในนครหลวงของประเทศใหญ่ๆ เช่น ที่กรุงวอชิงตันดีซี กรุงลอนดอน กรุงปารีส กรุงมอสโก กรุงปักกิ่ง และกรุงโตเกียว เป็นต้น จะมีเจ้าหน้าที่ทูตมากกว่าปกติอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูตได้บัญญัติอยู่ในมาตรา 11 ว่า ?1. เมื่อไม่มีความตกลงเฉพาะในเรื่องขนาดของคณะผู้แทน รัฐผู้รับอาจเรียกร้องให้ขนาดของคณะผู้แทนอยู่ในจำนวนจำกัดตามที่ตนเห็นว่า เหมาะหรือเป็นปกติได้ ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงพฤติการณ์หรือสภาวการณ์ในรัฐผู้รับ และความจำเป็นของคณะผู้แทนเฉพาะราย 2. ภายในสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกัน และบนมูลฐานที่ไม่เลือกปฏิบัติ รัฐผู้รับอาจปฏิเสธได้เช่นเดียวกัน ที่จะยอมรับพนักงานเฉพาะรายประเภทหนึ่งประเภทใดก็ได้? [การทูต] |
State Peace and Development Council | สภาเพื่อสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ เป็นองค์กรปกครองสูงสุดของพม่าในปัจจุบัน เดิมมีชื่อว่าสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (SLORC - State Law and Order Restoration Council) อันเป็น กลุ่มทหารพม่าที่เข้ายึดอำนาจการปกครองในวันที่ 18 กันยายน 2531 ภายหลังจากที่ประชาชนชาวพม่าได้ออกมาเดินขบวนประท้วงรัฐบาลภายใต้การนำของ พรรคโครงการสังคมนิยมพม่า การเข้ายึดอำนาจรัฐในครั้งนั้นเป็นไปอย่างนองเลือดและคณะทหารดังกล่าวได้ให้ สัญญาว่าจะจัดให้มีการเลือกตั้ง แต่ภายหลังการเลือกตั้งในวันที่ 27 พฤษภาคม 2533 SLORC กลับปฏิเสธที่จะมอบอำนาจการปกครองให้แก่พรรค National League for Democracy (NLD) และเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2540 SLORC ก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น SPDC [การทูต] |
Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] |
Allograft Rejection | ร่างกายปฏิเสธอวัยวะที่นำมาปลูกถ่ายให้, การสลัดกราฟท์, การขับไล่อวัยวะที่นำมาปลูกฝังให้ [การแพทย์] |
Denial | ไม่ยอมรับรู้, ปฏิเสธ, ไม่ยอมรับความเป็นจริง, การปฏิเสธ [การแพทย์] |
proposition [ statement ] | ประพจน์, ข้อความที่เป็นจริงหรือเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น โดยอาจอยู่ในรูปประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธก็ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Graft vs Host Reaction | เซลล์ที่ให้อาจปฏิเสธร่างกายผู้รับ [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ให้การปฏิเสธ | [hai kān patisēt] (v, exp) EN: deny |
จำเลยให้การปฏิเสธ | [jamloēi hai kān patisēt] (n, exp) EN: the accused denied everything |
การปฏิเสธ | [kān patisēt] (n) EN: repudiation |
คำปฏิเสธ | [kham patisēt] (n) EN: refusal ; denial |
ปฏิเสธ | [patisēt] (v) EN: deny ; repudiate ; refute ; reject ; decline ; refuse ; renounce ; disclaim ;disown ; negate ; disavow FR: nier ; réfuter ; décliner ; refuser ; désavouer ; rejeter ; démentir ; infirmer |
ปฏิเสธคำขอ | [patisēt khamkhø] (v, exp) EN: refuse a request |
ปฏิเสธข่าวลือ | [patisēt khāoleū] (v, exp) EN: decline rumours ; deny rumours FR: démentir un bruit |
ปฏิเสธข้อเรียกร้อง | [patisēt khørīekrøng] (v, exp) EN: repudiate a claim |
ปฏิเสธข้อเรียกร้องที่ไม่มีเหตุผล | [patisēt khørīekrøng thī mai mī hētphon] (v, exp) EN: repudiate an unfounded claim |
ปฏิเสธไม่ได้ | [patisēt mai dāi] (adj) EN: undeniable FR: indéniable |
ตอบปฏิเสธ | [tøp patisēt] (v, exp) EN: say no ; answer in the negative FR: répondre par la négative |
Longdo Approved EN-TH
civil disobedience | (n) ลัทธิดื้อแพ่ง/อารยะขัดขืน, เป็นการปฏิเสธที่จะปฏิบัติตามกฎหมายบางมาตรา ด้วยเหตุผลที่ว่ากฎหมายนั้นๆ ไม่ชอบธรรม |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Hope Dictionary
alpha privative | คำเสริมหน้า a- ที่ใช้ไวยากรณ์กรีกเพื่อแสดงการปฏิเสธหรือลบล้าง |
buts | (บัทซ) n., pl. ความขัดข้อง, การปฏิเสธ |
contradict | (คอนทระดิคทฺ') { contradicted, contradicting, contradicts } vt. โต้แย้ง, เถียง, ปฏิเสธ. vi. กล่าวแย้ง., See also: contradicter n. ดูcontradict contradictor n. ดูcontradict |
declination | n. การเอียงลาด, การเสื่อมลง, การบอกปฏิเสธอย่างสุภาพ |
decline | (ดิไคลน') vi., n. (การ) เอียง, ลาด, เสื่อมลง, ปฏิเสธ, บอกปัด, ไม่ยอม, Syn. lessen |
deep six n. | การปฏิเสธอย่างสิ้นเชิง, การโยนลงทะเล |
denegation | n. การปฏิเสธ, การขัดแย้ง, การคัดค้าน |
deniable | (ดิไน'อะเบิล) adj. ซึ่งปฏิเสธได้, ซึ่งบอกปัดได้ |
denial | (ดิไน'เอิล) n. การปฏิเสธ, การบอกปัด, การไม่ยอมรับ, การบังคับใจตัวเอง, การไม่ยอมตามใจตัวเอง |
denier | (ดิไน'เออะ) n. ผู้ปฏิเสธ, ผู้ไม่ยอมรับ |
dis- | Pref. 'แยก', 'ห่าง', 'จาก', 'ปฏิเสธ', 'ตรงข้าม', "สอง" |
disallow | (ดิสอะเลา') vt. ไม่ยอม, ไม่ยอมให้มี, ไม่ยอมรับความจริง, ปฏิเสธ, ไม่อนุญาต, See also: disallowable adj. disallowance n. |
disavow | (ดิสอะเวา') vt. บอกปัด, ไม่ยอมรับ, ปฏิเสธ (การรับภาระ) ., See also: disavowal n. ดูdisavow |
disclaim | (ดิสเคลม') vt., vi. ไม่ยอมรับ, สละสิทธิ, ละทิ้ง, ปฏิเสธความเป็นเจ้าของ, ออกตัว |
disclamation | (ดิสคละเม'เชิน) n. การสละสิทธิ์, การปฏิเสธความเป็นเจ้าของ, การไม่ยอมรับ |
gainsay | (เกน'เซย์) { gainsaid, gainsaying, gainsays } vt. ปฏิเสธ, พูดคัดค้าน, คัดค้าน, ต่อต้าน., See also: gainsayer n., Syn. deny, dispute, oppose |
hard | (ฮาร์ด) adj. แข็ง, แน่น, ยาก, ลำบาก, รุนแรง, ดุเดือด, เลว, ทนไม่ได้, เข้มงวด, ปฏิเสธไม่ได้ adv. รุนแรง, เอาจริงเอาจัง, เข้มงวด, เสียใจจริง ๆ , ใกล้, ใกล้ชิด, มากเกิน, ใกล้ชิด, |
heaveho | (ฮีฟ'โฮ) n. การปฏิเสธ, การขับออก, การไล่ออก |
il- | abbr. ดูลบล้าง, ปฏิเสธ |
indisputable | (อินดิสพิว'ทะเบิล) adj. โต้แย้งไม่ได้, ปฏิเสธไม่ได้., See also: indisputability n. indisputably adv., Syn. incontestable |
jilt | (จิลทฺ) { jilted, jilting, jilts } vt. ปฏิเสธ, ขว้างทิ้ง n. หญิงผู้สลัดคนรักทิ้ง., See also: jilter n., Syn. abandon |
jolt | (โจลทฺ) { jolted, jolting, jolts } vt., vi., n. (การ) กระทุ้ง, กระแทก, เขย่า, ทำให้สั่นไหว, ทำให้ส่าย, ต่อยจนมึน, ทำให้งงงวย, บุกรุก, ทำให้วุ่นวาย, สิ่งที่ทำให้เกิดการสั่นไหว, ความพ่ายแพ้อย่างกะทันหัน, การปฏิเสธอย่างกะทันหัน., See also: jolter n. ดูjolt joltingl |
nay | (เน) adv. ไม่, และไม่เป็นเช่นนั้น. n. การปฏิเสธ, การออกเสียงปฏิเสธ |
negate | (นิเกท', เนก'เกท) vt., vi. คัดค้าน, ปฏิเสธ, ลบล้าง., See also: negator, negater n. |
negation | (นิเก'เชิน) n. การคัดค้าน, การปฏิเสธ |
negative | (เนก'กะทิฟว) adj., n. (การ) คัดค้าน, ปฏิเสธ, ได้ผลขั้วลบ, ฟิล์มหรือกระจกถ่ายรูปที่กลับสีดำเป็นขาว, ค่าหรือสัญลักษณ์ที่เป็นลบ, เครื่องหมายลบ |
no | (โน) adv. adv. ไม่, ไม่มี -n. การปฏิเสธ, คำปฏิเสธ pl. noes, nos |
offcast | (ออดคาสทฺ, -แคสทฺ) adj. ซึ่งถูกขว้างทิ้ง, ซึ่งถูกปฏิเสธ |
peremptory | (พะเรมพฺ'ทะรี, เพอ'เรมโทรี, -ทอรี) adj. ไม่มีโอกาสปฏิเสธ, จำต้อง, เด็ดขาด, วางอำนาจ, เผด็จการ., See also: peremptorily adv. peremptoriness n., Syn. absolute |
protest | (โพรเทสทฺ') vt., vi. คัดค้าน, ประท้วง, ประกาศยืนยัน, ยืนยัน, เสนอแย้ง, ปฏิเสธชำระ (บิล) n. (โพร'เทสทฺ) การคัดค้าน, การประท้วง, การปฏิเสธการชำระบิล, คำร้อง., See also: protester n. protestingly adv., Syn. objection |
rebuff | (รีบัฟ') vt., n. (การ) บอกปัด, ปฏิเสธ, หยุดยั้ง, ขับออก, See also: rebuffable adj., Syn. reject |
refusable | (รีฟิว'ซะเบิล) adj. ปฏิเสธได้, ไม่ยอมได้, บอกปัดได้, |
refusal | (รีฟิว'เซิล) n. การปฏิเสธ, การไม่ยอม, การบอกปัด, Syn. rejection, denial, veto |
refuse | (รีฟิวซ') vt., vi. ปฏิเสธ, ไม่ยอม, ไม่ยอมให้, ไม่ยอมรับสิทธิ n. (เรฟ'ฟิวซ) ขยะ, กาก, สิ่งของที่ทิ้งแล้ว, เศษที่ใช้แล้ว adj. ถูกทิ้ง, ทิ้งแล้ว, ไร้ค่า, See also: refusable adj., Syn. decline, Ant. accept |
refutation | (เรฟฟิวเท'เชิน) n. การพิสูจน์ว่าไม่จริง, การโต้แย้ง, การหักล้าง, การลบล้าง, การปฏิเสธ, , Syn. refutal, disproof |
refute | (รีฟิวทฺ') vt. พิสูจน์ว่าไม่จริง, โต้แย้ง, หักล้าง, ลบล้าง, ปฏิเสธ, , See also: refutability n. refutable adj. refuter n. |
regret | (รีเกรท') vt. เสียใจ, โทมนัส, สลดใจ, n. ความเสียใจ, ความรู้สึกเสียใจ, ความโทมนัส, ความสลดใจ, See also: regrets n. การปฏิเสธการเชิญอย่างสุภาพ regretable adj. regrettable adj. regretter n. regrettingly adv., Syn. dep |
reject | (รีเจคทฺ') vt. ปฏิเสธ, ทิ้ง, ไม่ยอมรับ, บอกปัด, อาเจียน, ละทิ้ง, n. สิ่งที่ถูกปฏิเสธหรือบอกปัด, See also: rejectable adj. rejecter n. rejective adj., Syn. rebuff, throw away |
rejection | (รีเจค'เชิน) n. การปฏิเสธ, การบอกปัด, สิ่งที่ถูกปฏิเสธ, สิ่งที่ถูกละทิ้ง |
repel | (รีเพล') vt. ขับไล่, ผลักออก, ตีกลับ, ต้านทาน, โต้กลับ, ด้านการซึมผ่าน, ยับยั้ง, ปฏิเสธ, ขจัด, ทำให้รังเกียจ vi. ขับไล่, ผลักออก, ทำให้รังเกียจ, See also: repellence, repelency n. repeller n., Syn. reject, refuse, Ant. accept, attract |
reprobate | (เรพ'ระเบท) n. คนสารเลว, คนเลวทราม, คนสำมะเลเทเมา, คนเหลือขอ, คนที่พระเจ้าทอดทิ้งและไม่สามารถจะช่วยได้ vt. ประณาม, ตำหนิ, สาปแข่ง, ทอดทิ้ง, ปฏิเสธ, ไม่ยอมรับ., See also: reprobacy n. reprobateness n. reprobater n., Syn. bad |
reprobation | (เรพระเบ'เชิน) n. การประณาม, การตำหนิ, การสาปแช่ง, การทอดทิ้ง, การปฏิเสธ, การไม่ยอมรับ, See also: reprobationary adj. |
reprobative | (เรพ'ระเบทิฟว) adj. ประณาม, ตำหนิ, สาปแช่ง, ทอดทิ้ง, ปฏิเสธ, ไม่ยอมรับ, See also: reprobatively adv., Syn. reprobating |
repudiate | (รีพิว'ดิเอท) vt. บอกปัด, ไม่ยอมรับ, ปฏิเสธ, ทอดทิ้ง, See also: repudiable adj. repudiative adj. repudiation n. repudiator n. repudiatory adj., Syn. disavow, reject, discredit |
soap | (โซพ) n. สบู่, โครงการที่ถูกปฏิเสธ. vt. ถูด้วยสบู่, ใส่สบู่ลงบน, ประจบสอพลอ. |
Nontri Dictionary
declination | (n) การเบนลง, การเอียงลง, ความทรุดโทรม, การปฏิเสธ |
decline | (n) ความทรุดโทรม, ความเสื่อม, การปฏิเสธ, ตอนจบ |
decline | (vt) ปฏิเสธ, บอกปัด, ไม่รับ, ไม่ยอม, กระจายคำ |
denial | (n) การปฏิเสธ, การไม่ยอมรับ, การบอกปัด |
deny | (vt) ปฏิเสธ, บอกปัด, ไม่ปฏิบัติตาม, ไม่ตกลง, ไม่ยอมรับ |
disallow | (vt) ไม่อนุญาต, ไม่ยอม, ปฏิเสธ |
disavow | (vt) ไม่ยอมรับ, ปฏิเสธ, บอกปัด |
disown | (vt) ไม่ยอมรับ, ปฏิเสธ, บอกปัด, บอกเลิก, บอกศาลา |
fain | (adv) ด้วยความเต็มใจ, ด้วยความยินดี, อย่างไม่ปฏิเสธ |
jilt | (vt) สลัดทิ้ง, ทอดทิ้ง, ปฏิเสธ |
nay | (n) การปฏิเสธ |
negate | (vt) ปฏิเสธ, ลบล้าง, คัดค้าน, แก้ |
negation | (n) การปฏิเสธ, การลบล้าง, การคัดค้าน |
negative | (adj) เชิงลบ, เป็นการปฏิเสธ, เป็นการคัดค้าน |
negative | (n) คำปฏิเสธ, การคัดค้าน, ฟิล์มถ่ายรูป, ทางลบ, เครื่องหมายลบ |
rebuff | (n) การปัดภาระ, การขัดขวาง, การปฏิเสธ, การหยุดยั้ง, การขับออก |
rebuff | (vt) บอกปัด, ขัดขวาง, ปฏิเสธ, หยุดยั้ง, ขับออก |
recant | (vt) ปฏิเสธ, ยกเลิก, กลับคำ, ถอนคำพูด, ประกาศเลิก |
recantation | (n) การปฏิเสธ, การยกเลิก, การกลับคำ, การถอนคำพูด |
refusal | (n) คำปฏิเสธ, การปฏิเสธ, การบอกปัด |
refuse | (vi, vt) บอกปัด, ปฏิเสธ, ไม่ยอมรับ |
reject | (vt) ถ่ายออก, ทิ้ง, อาเจียน, บอกปัด, ปฏิเสธ |
rejection | (n) การปฏิเสธ, การทิ้ง, การบอกปัด |
repel | (vt) ขับไล่, ต้านทาน, ไม่ยอมรับ, ผลักไส, ปฏิเสธ |
reprobate | (vt) สาปแช่ง, ตำหนิ, ประณาม, ปฏิเสธ |
reprobation | (n) การสาปแช่ง, การตำหนิ, การประณาม, การปฏิเสธ, การทอดทิ้ง |
repudiate | (vt) บอกปัด, ละทิ้ง, ทอดทิ้ง, ปฏิเสธ |
repudiation | (n) การบอกปัด, การละทิ้ง, การทอดทิ้ง, การปฏิเสธ |
snub | (n) การบอกปัด, การปฏิเสธ, การตำหนิ |
snub | (vt) บอกปัด, ปฏิเสธ, ตำหนิ, วางปึ่ง |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
turn down | (vi) ปฏิเสธ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
勘弁 | [かんべん, kanben] (n) ยกโทษ ขออภัย ในบางครั้งใช้ในการปฏิเสธคำขอร้อง |
必ずしも | [かならずしも , kanarazushimo] เสียทีเดียว, ซะทีเดียว (ใช้ในรูปปฏิเสธ) |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
断る | [ことわる, kotowaru] TH: ปฏิเสธ EN: to refuse |
過不足 | [かふそく, kafusoku] TH: ขาดหรือเกิน มักใช้ในรูปปฏิเสธ ไม่ขาดไม่เกิน พอดี EN: excess or deficiency |
Longdo Approved DE-TH
Ißt du nicht? Doch, doch. | ไม่กินเหรอ? กิน กิน! สังเกตการใช้คำว่า Doch ซึ่งใช้ตอบประโยคคำถามที่มีความหมายเชิงปฏิเสธ โดย Doch บ่งชี้คำตอบรับที่มีความหมายตรงกันข้าม |
doch | ใช่ดอก (ใช้เวลาต้องการตอบใช่ในคำถามปฏิเสธ) เช่น Hast du noch kein Mittagessen gehabt? - Doch. เธอยังไม่ได้ทานอาหารกลางวันใช่ไหม - ผมทานแล้ว |
Ablehnungsbescheid | (n) |der| คำปฏิเสธ เช่น คำปฏิเสธเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย เป็นต้น, See also: A. der Zulassungsbescheid |
ablehnen | (vt) |lehnte ab, hat abgelehnt| ปฏิเสธ เช่น Der Direktor hat alle Vorschläge abgelehnt. ผู้อำนวยการปฏิเสธข้อเสนอทุกข้อ, Syn. verweigern |
nicht | (adv) ไม่ (ใช้บ่งการปฏิเสธของประโยค) เช่น Thailand ist nicht in Europa. ประเทศไทยไม่ได้อยู่ในทวีปยุโรป |
Absage | (n) |die, pl. Absagen| การบอกยกเลิกนัด, การปฏิเสธ, Syn. die Streichung |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0706 seconds, cache age: 4.167 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม