433 ผลลัพธ์ สำหรับ *ตัดสิน*
ภาษา
หรือค้นหา: ตัดสิน, -ตัดสิน-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ตัดสิน | (v) judge, See also: pass judgement on, render a decision, determine, decide, Syn. ลงความเห็น, ชี้ขาด, วินิจฉัย, Example: คณะกรรมการตัดสินให้ฝ่ายแดงเป็นฝ่ายชนะอย่างเป็นเอกฉันท์ |
คำตัดสิน | (n) decision, See also: judgement, verdict, ruling, Syn. คำวินิจฉัย, คำพิพากษา, Example: ศาลฎีกาจึงยืนยันคำตัดสินให้ประหารชีวิตเขา |
ตัดสินใจ | (v) determine, See also: resolve, believe on firmly, make up one's mind, have decided, Syn. ตกลงใจ, Example: เขาตัดสินใจลาออกจากงานเพื่อเรียนต่อระดับปริญญาเอกโดยไม่ฟังคำทัดทานจากคนรอบข้าง |
ตัดสินคดี | (v) judge a case, Example: ผู้พิพากษาท่านนี้ตัดสินคดีได้อย่างยุติธรรมมากที่สุด, Thai Definition: ลงความเห็นชี้ขาดเรื่องที่พิพาทหรือกล่าวหากันในทางกฎหมาย |
ตัดสินโทษ | (v) judge, See also: decide, sentence, condemn, adjudge, adjudicate, give verdict, doom, written judgment, cour, Syn. พิพากษา, ตัดสินลงโทษ, Example: ศาลตัดสินโทษให้ยิงเป้าผู้ต้องหาคดีขายความลับทางราชการแก่ชาวต่างชาติ |
ผู้ตัดสินใจ | (n) decision-maker, See also: person who decides, Syn. คนตัดสินใจ, Example: สังคมไทยให้ความสำคัญและคาดหวังเพศชายในฐานะผู้นำ ผู้ตัดสินใจ ผู้สืบทอดเชื้อสายทางครอบครัว, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ตัดสินว่าจะเลือกสิ่งใด |
ผู้ตัดสินคดี | (n) judge, Syn. ผู้พิพากษา, Example: ภาระใหญ่ของเขาคือตั้งตนเป็นผู้ตัดสินคดีแทนสังคม คอยวินิจฉัยความผิดความถูก, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ทำหน้าที่ลงความเห็นชี้ขาดเรื่องที่พิพาทหรือข้อกล่าวหากันในทางกฎหมาย |
กรรมการตัดสิน | (n) umpire, See also: referee, Syn. คณะกรรมการตัดสิน, Example: เราทุกคนมีสิทธิ์ที่จะเป็นกรรมการตัดสินร่วมกัน, Count Unit: คน, Thai Definition: กรรมการที่ทำหน้าที่ในการตัดสินแพ้ชนะในการแข่งขัน |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ตัดสิน | ก. ลงความเห็นชี้ขาด. |
ตัดสินใจ | ก. ตกลงใจ. |
กระยึกกระยัก | ว. ยึกยัก, อาการที่ลังเลไม่กล้าตัดสินใจ. |
คดีดำ | น. คดีหมายเลขดำ ซึ่งหมายถึง คดีที่ฟ้องร้องต่อศาลและศาลได้ลงทะเบียนคดีในสารบบความของศาล โดยเริ่มตั้งแต่เลข ๑ ทับเลขปี พ.ศ. เรียงเป็นลำดับไปจนสิ้นปี เมื่อศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดีหรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีออกจากสารบบความหรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีชั่วคราว ศาลจะให้หมายเลขคดีใหม่เรียกว่าคดีหมายเลขแดง ควบคู่ไปกับคดีหมายเลขดำที่ให้ไว้เดิม เช่น คดีหมายเลขดำที่ ๑/๒๕๕๐ คดีหมายเลขแดงที่ ๑/๒๕๕๑ หรือกล่าวโดยสรุป คดีดำ หมายถึง คดีที่ศาลยังมิได้ตัดสินหรือจำหน่ายคดี ส่วนคดีแดง คือ คดีที่ศาลได้ตัดสินหรือจำหน่ายคดีแล้ว. |
ค่านิยม | น. สิ่งที่บุคคลหรือสังคมยึดถือเป็นเครื่องช่วยตัดสินใจ และกำหนดการกระทำของตนเอง. |
คุย ๑ | ปรึกษาหารือ เช่น เรื่องนี้ขอคุยกันก่อนที่จะตัดสินใจ |
เงื้อง่าราคาแพง | ก. จะทำอะไรก็ไม่กล้าตัดสินใจทำลงไป ดีแต่ทำท่าหรือวางท่าว่าจะทำเท่านั้น. |
จริยศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดี ควรไม่ควร และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของค่าทางศีลธรรม. |
จาตุกรณีย์ | น. ราชกิจ ๔ อย่าง คือ ๑. ตัดสินความเมือง ๒. บำรุงราษฎร ๓. บำรุงผลประโยชน์บ้านเมือง ๔. ป้องกันพระนคร, บางทีในบทกลอนใช้ว่า จาตุกรณย์, จาตุรราชการ ก็ว่า. |
จุดบอด | น. บริเวณที่เครื่องมือสื่อสารรับสัญญาณได้ไม่ชัด, บริเวณหลังลูกตาที่ไม่รับแสง, บริเวณที่ควรจะมองเห็นแต่ไม่สามารถมองเห็นได้ เช่น ทางโค้งนี้มีจุดบอด ทำให้เกิดอุบัติเหตุรถชนกันบ่อย ๆ, จุดของปัญหาที่ไม่สามารถตัดสินใจหรือแยกแยะได้อย่างชัดเจนอาจจะเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้เป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงสภาวะที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้. |
ชั่งใจ | ก. คิดให้แน่ก่อนที่จะตัดสินใจ. |
ชำระ | พิจารณาตัดสิน เช่น ชำระความ |
ดีดลูกคิด | ก. คำนวณผลได้ผลเสียหรือกำไรขาดทุนอย่างละเอียดแล้วจึงตัดสินใจลงมือกระทำ |
เด็ดเดี่ยว | ว. ตัดสินใจทำอย่างแน่วแน่ไม่ย่อท้อ. |
ตกล่องปล่องชิ้น | ก. ตัดสินใจที่จะร่วมมือหรือร่วมชีวิตด้วย. |
ตรายาง | น. ตราที่ทำด้วยยางสำหรับประทับบนกระดาษเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึง ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจหน้าที่ในการตัดสินใจแต่ลงนามอนุมัติตามที่มีผู้อื่นเสนอมาโดยไม่ได้ตัดสินใจเอง. |
ต้องโทษ | ก. ถูกตัดสินให้ลงโทษในคดีอาญา. |
ตันอกตันใจ | ก. อึดอัดใจ, ตัดสินใจไม่ถูก. |
ประกวด | ก. แข่งขันเพื่อเลือกเฟ้นเอาดี โดยมีการตัดสิน เช่น ประกวดนางงาม ประกวดบทความ. |
ประชามติ | มติของประชาชนที่รัฐให้สิทธิออกเสียงลงคะแนนรับรองร่างกฎหมายสำคัญที่ได้ผ่านสภานิติบัญญัติแล้ว หรือให้ตัดสินในปัญหาสำคัญในการบริหารประเทศ. (อ. referendum) |
ผู้ | น. คำใช้แทนบุคคล เช่น นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ หรือใช้แทนคำว่า คน เช่น ผู้นั้น ผู้นี้ ทุกผู้ทุกนาม หรือใช้แทนสิ่งที่ถือเสมือนคน เช่น ศาลเป็นผู้ตัดสิน |
พะอืดพะอม | โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้จะตัดสินใจอย่างไรดี, ไม่กล้าที่จะตัดสินใจเด็ดขาดลงไป, กลืนไม่เข้าคายไม่ออก ก็ว่า. |
พินิศจัย | (พินิด-) ก. ตัดสิน, ชี้ขาด. |
พิพากษ์ | ก. ตัดสิน. |
พิพากษา | ก. ตัดสินคดีโดยศาล, เรียกตุลาการผู้ทำหน้าที่ตัดสินดังกล่าว ว่า ผู้พิพากษา, เรียกคำตัดสินนั้น ว่า คำพิพากษา. |
ไม่เข้าใครออกใคร | ก. ไม่เข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง, เป็นกลาง, คงความเป็นตัวของตัวเอง, ไม่เห็นแก่หน้าใคร, เช่น เขาตัดสินไม่เข้าใครออกใคร ปืนไม่เข้าใครออกใคร. |
ยมทูต | น. ผู้นำคนตายไปยังบัลลังก์พระยมเพื่อรอคำตัดสิน. |
ยึกยัก | ว. อาการที่ลังเลไม่กล้าตัดสินใจ, กระยึกกระยัก ก็ว่า. |
ยุติธรรม | ว. เที่ยงธรรม, ไม่เอนเอียงเข้าข้างใดข้างหนึ่ง, ชอบด้วยเหตุผล, เช่น ราคายุติธรรม กรรมการตัดสินอย่างยุติธรรม. |
เยือกเย็น | ว. มีจิตใจหนักแน่น ไม่ฉุนเฉียวโกรธง่าย เช่น สำคัญที่เป็นคนเยือกเย็น จึงจะตัดสินปัญหาได้อย่างรอบคอบ. |
รักพี่เสียดายน้อง | ก. ลังเลใจ, ตัดสินใจไม่ถูกว่าจะเลือกอย่างไหนดี. |
รี ๆ รอ ๆ | ว. แสดงอาการลังเลใจ, ไม่แน่ใจที่จะทำลงไป, เช่น มัวรี ๆ รอ ๆ อยู่นั่นแหละ เมื่อไรจะตัดสินใจเสียที. |
ลังเล | ก. ไม่แน่ใจ, ยังตัดสินใจไม่ได้, เช่น ลังเลใจไม่รู้ว่าจะไปดีหรือไม่ไปดี. |
ลำบาก | ว. เดือดร้อนเพราะถูกทรมานกายหรือใจ เช่น ตกอยู่ในฐานะลำบาก ตกที่นั่งลำบาก, ยาก เช่น ทำลำบาก ตัดสินใจลำบาก, ไม่สะดวก เช่น ทางลำบาก. |
ลูกขุน ณ ศาลหลวง, ลูกขุนศาลหลวง | น. คณะผู้พิพากษามีหน้าที่ตัดสินคดี โดยชี้ขาดข้อกฎหมาย หลังจากที่ตระลาการพิจารณาคดีชี้ขาดข้อเท็จจริงแล้ว, บางทีเขียนเป็น ลูกขุน ณ สานหลวง หรือ ลูกขุน ณ สารหลวง ก็มี. |
แล้วแต่ | ว. ตามแต่, สุดแต่, สุดแท้แต่, (ใช้ในลักษณะที่ยกอำนาจการตัดสินขั้นสุดท้ายให้แก่ผู้ใดหรือสิ่งใดเป็นต้น) เช่น แล้วแต่บุญกรรม แล้วแต่สถานการณ์ แล้วแต่กรณี แล้วแต่คณะรัฐมนตรีจะพิจารณาอนุมัติหรือไม่. |
วิจาร, วิจารณ-, วิจารณ์ | (วิจาน, วิจาระนะ-, วิจาน) ก. ให้คำตัดสินสิ่งที่เป็นศิลปกรรมหรือวรรณกรรมเป็นต้น โดยผู้มีความรู้ควรเชื่อถือได้ ว่ามีค่าความงามความไพเราะดีอย่างไร หรือมีข้อขาดตกบกพร่องอย่างไรบ้าง เช่น เขาวิจารณ์ว่า หนังสือเล่มนี้แสดงปัญหาสังคมในปัจจุบันได้ดีมากสมควรได้รับรางวัล, ติชม, มักใช้เต็มคำว่า วิพากษ์วิจารณ์ เช่น คนดูหนังวิพากษ์วิจารณ์ว่า หนังเรื่องนี้ดำเนินเรื่องช้าทำให้คนดูเบื่อ. |
วินิจฉัย | ก. ตัดสิน, ชี้ขาด, เช่น เรื่องนี้วินิจฉัยได้ ๒ ทาง |
วิพากษ์ | ก. พิจารณาตัดสิน. |
ศาลเตี้ย | น. เรียกการที่คนหรือกลุ่มคนที่ไม่มีอำนาจดำเนินคดีตามกฎหมายจับกุมคนมาชำระตัดสินความโดยพลการ ว่า ตั้งศาลเตี้ย. |
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ | น. องค์กรใหญ่ฝ่ายตุลาการขององค์การสหประชาชาติ ตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ มีอำนาจจำกัดเฉพาะการพิจารณาตัดสินคดีแพ่งที่เกิดขึ้นระหว่างประเทศสมาชิกขององค์การสหประชาชาติด้วยกัน ซึ่งประเทศคู่กรณียินยอมให้ศาลเป็นผู้พิจารณาตัดสินเท่านั้น. |
ศาลหลวง | น. ที่พิจารณาตัดสินคดีความของคณะตุลาการตั้งอยู่นอกพระราชวังหลวง, ศาลาลูกขุนนอก ก็เรียก. |
ศาลาลูกขุนนอก | น. ที่พิจารณาตัดสินคดีความของคณะตุลาการตั้งอยู่นอกพระราชวังหลวง, ศาลหลวง ก็เรียก. |
สองจิตสองใจ | ว. ลังเล, ตัดสินใจไม่ได้, เช่น จะไปเชียงใหม่ดีหรือไม่ไปดี ยังสองจิตสองใจอยู่. |
สุขุม | ว. ประณีต, ลึกซึ้ง, รอบคอบ, ไม่วู่วาม, เช่น เขาจะไม่ด่วนตัดสินใจ ก่อนที่จะพิจารณาอย่างสุขุมทั้งทางได้และทางเสีย เขามีปัญญาสุขุม, บางครั้งใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น สุขุมคัมภีรภาพ สุขุมรอบคอบ สุขุมลึกซึ้ง. |
เสมอ ๑ | (สะเหฺมอ) ว. เท่ากัน, พอ ๆ กัน, เหมือนกัน, เช่น กรรมการตัดสินให้เสมอกัน ไม่มีใครแพ้ใครชนะ |
หันรีหันขวาง | ก. อาการที่หันเหไปมา เก้ ๆ กัง ๆ ตัดสินใจไม่ถูกว่าจะทำอย่างใด. |
อธิโมกข์ | น. ความตัดสินเด็ดขาด, ความเด็ดเดี่ยว |
อนุญาโตตุลาการ | น. บุคคลที่คู่กรณีพร้อมใจกันตั้งขึ้นเพื่อให้ชำระตัดสินในข้อพิพาท. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
presentment | คำตัดสิน (ของลูกขุน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
perverse verdict | คำตัดสินของลูกขุนที่ขัดต่อข้อกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
preliminary injunction | คำสั่งก่อนชี้ขาดตัดสินคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
referee | ๑. ทนายความที่ศาลตั้ง๒. กรรมการผู้ตัดสิน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sentence | ๑. พิพากษา๒. คำพิพากษาลงโทษ, คำตัดสินลงโทษ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
summary jurisdiction | อำนาจตัดสินคดีอย่างรวบรัด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
summary conviction | การตัดสินลงโทษอย่างรวบรัด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
adjudge | ชี้ขาดตัดสิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
adjudication | การชี้ขาดตัดสิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
acquittal | การตัดสินปล่อยตัวจำเลย (ให้พ้นจากข้อกล่าวหา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
aesthetic judgment | การตัดสินเชิงสุนทรียภาพ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
award | ๑. คำตัดสินชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ๒. รางวัลเกียรติคุณ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
affiliation order | คำสั่งศาลให้ (ชายที่ศาลตัดสินว่าเป็นบิดา) จ่ายค่าเลี้ยงดูบุตร (ป. วิ. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
judgement, aesthetic; judgment, aesthetic | การตัดสินเชิงสุนทรียภาพ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
judgment | ๑. คำพิพากษา, คำตัดสิน, คำวินิจฉัย๒. พินิศจัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
judgment; judgement | พินิศจัย, การตัดสิน [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
judgement; judgment | พินิศจัย, การตัดสิน [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
judgment, aesthetic; judgement, aesthetic | การตัดสินเชิงสุนทรียภาพ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
judgment, declaratory | คำตัดสินแสดงสิทธิ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
mood theory | ทฤษฎีอารมณ์ (ที่เกี่ยวกับภาวะการตัดสินใจและมติมหาชน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
chose jugée (Fr.) | คดีที่ตัดสินเสร็จเด็ดขาดแล้ว, ปัญหาที่วินิจฉัยเด็ดขาดแล้ว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
declaratory judgment | คำตัดสินแสดงสิทธิ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
declaratory judgment | คำตัดสินแสดงสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
decision instruction | คำสั่งตัดสินใจ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
decision plan | แผนตัดสินใจ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
decision support system (DSS) | ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (ดีเอสเอส) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
decision table | ตารางการตัดสินใจ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
decision tree | (รูป)ต้นไม้การตัดสินใจ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
deliverance | คำตัดสินของคณะลูกขุน (ก. เก่าอังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dome | คำตัดสิน (ก. เก่าอังกฤษ) [ ดู doom ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
de novo trial | การตัดสินใหม่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
doom | คำตัดสิน (ก. เก่าอังกฤษ) [ ดู dome ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
DSS (decision support system) | ดีเอสเอส (ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
guilty verdict | คำตัดสิน (ของคณะลูกขุน) ว่ามีความผิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
false verdict | คำตัดสินที่ผิด (ของคณะลูกขุน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
finality of verdict | คำตัดสินถึงที่สุด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
embracery | การครอบงำผู้ตัดสิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
indicisiveness | ความไม่อาจตัดสินใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
verdict | คำตัดสินของคณะลูกขุน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
verdict | คำตัดสินของคณะลูกขุน (ในข้อเท็จจริง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
verdict, finality of | คำตัดสินถึงที่สุด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
third conviction | การตัดสินลงโทษผู้กระทำความผิดติดนิสัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
nemo debet esse judex in propria causa (L.) | ไม่มีผู้ใดมีอำนาจตัดสินคดีของตนเอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
umpirage | คำตัดสินชี้ขาด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unstructured decision | การตัดสินใจไร้โครงสร้าง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Decision support system | ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Decision support system | ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Fuzzy decision making | การตัดสินใจแบบฟัสซี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Decision tree | ต้นไม้ตัดสินใจ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Bayesian statistical decision theory | ทฤษฎีการตัดสินใจทางสถิติของเบส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
พระบรมราชวินิจฉัย | คำตัดสิน [ศัพท์พระราชพิธี] |
Company Man | พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ, พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของบริษัทสำหรับดูแลการปฏิบัติงานทุกอย่างที่แท่นเจาะตั้งแต่การวางแผนการเจาะ สั่งอุปกรณ์การเจาะ และทำหน้าที่ตัดสินใจในระหว่างปฏิบัติการเจาะหลุม [ปิโตรเลี่ยม] |
Company Representative | พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ, พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของบริษัทสำหรับดูแลการปฏิบัติงานทุกอย่างที่แท่นเจาะ ตั้งแต่การวางแผนการเจาะ สั่งอุปกรณ์การเจาะ และทำหน้าที่ตัดสินใจในระหว่างปฏิบัติการเจาะหลุม [ปิโตรเลี่ยม] |
Task related monitoring | การเฝ้าสังเกตตามภารกิจ, การตรวจติดตามปริมาณรังสีที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติการเฉพาะ เพื่อให้ได้ข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจอย่างเร่งด่วนสำหรับการบริหารจัดการในการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือ การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการ [นิวเคลียร์] |
Examiner | พนักงานผู้ทำการตรวจสอบ ตัดสิน ให้สิทธิคุ้มครองสิทธิบัตรที่ยื่นขอของสำนักงานสิทธิบัตรประเทศหนึ่ง ๆ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Pending | ช่วงระยะเวลาที่สำนักงานสิทธิบัตรกำลังพิจารณา ยังไม่ตัดสินว่าจะให้สิทธิหรือปฏิเสธแก่การประดิษฐ์ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Disposal | คำขอรับสิทธิบัตรนั้นถูกตัดสินแล้ว, คำขอรับสิทธิบัตรนั้นถูกตัดสินแล้ว อาจเป็นการถอนคืน ปฎิเสธ หรืออนุมัติให้สิทธิ แต่ส่วนใหญ่ให้ความหมายเป็นนัยว่าการปฏิเสธรับ, Example: ใช้ในบางประเทศ เช่นสหรัฐอเมริกา เป็นการกล่าวถึงว่า คำขอรับสิทธิบัตรนั้นถูกตัดสินแล้ว อาจเป็นการถอนคืน ปฎิเสธ หรืออนุมัติให้สิทธิ แต่ส่วนใหญ่ให้ความหมายเป็นนัยว่าการปฏิเสธรับ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Independent Living | การดำรงชีวิตอิสระ, การดำรงชีวิตอิสระเป็นแนวคิดการเคลื่อนไหวทางสังคม ที่เชื่อว่าคนพิการควรได้รับสิทธิความเป็นพลเมืองและสิทธิการตัดสินใจเช่นเดียวกับผู้ที่ไม่พิการ นั่นหมายถึงเป็นการจัดการชีวิตความเป็นอยู่ของคนพิการให้มีความเป็นอิสระมากที่สุด โดยให้คนพิการได้เลือกตัดสินใจด้วยตนเอง เพื่อใช้ชีวิตอยู่ในชุมชน [Assistive Technology] |
Arbitration and award | อนุญาโตตุลาการและการตัดสิน [TU Subject Heading] |
Arbitration and award, International | อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศและการตัดสิน [TU Subject Heading] |
Convention on Access to Information, Public Participation in Decision-making, and Access to Justice in Environmental Matters | อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1, อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1998) [TU Subject Heading] |
Decision making | การตัดสินใจ [TU Subject Heading] |
Decision making in chileren | การตัดสินใจในเด็ก [TU Subject Heading] |
Decision support systems | ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ [TU Subject Heading] |
Decision trees | ต้นไม้ตัดสินใจ [TU Subject Heading] |
Group decision making | การตัดสินใจโดยกลุ่ม [TU Subject Heading] |
Judging | การตัดสิน [TU Subject Heading] |
New Trials | การพิจารณาและตัดสินคดีใหม่ [TU Subject Heading] |
Post-conviction remedies | การแก้ไขความเสียหายหลังการตัดสิน [TU Subject Heading] |
Pre-trial procedure | วิธีการก่อนพิจารณาและตัดสินคดี [TU Subject Heading] |
Sports officiating ; Umpiring (Sports) | การตัดสินกีฬา [TU Subject Heading] |
Statistical decision | การตัดสินใจทางสถิติ [TU Subject Heading] |
Trials | การพิจารณาและตัดสินคดี [TU Subject Heading] |
Trials (Assassination) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การลอบฆ่า) [TU Subject Heading] |
Trials (Fraud) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การฉ้อโกง) [TU Subject Heading] |
Trials (Kidnapping) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การจับกุมตัวเรียกค่าไถ่) [TU Subject Heading] |
Trials (Libel) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การหมิ่นประมาทด้วยลายลักษณ์อักษร) [TU Subject Heading] |
Trials (Military offenses) | การพิจารณาและตัดสินคดี (ความผิดทางทหาร) [TU Subject Heading] |
Trials (Misconduct in office) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การฉ้อราษฎร์บังหลวง) [TU Subject Heading] |
Trials (Murder) | การพิจารณาและตัดสินคดี (ฆาตกรรม) [TU Subject Heading] |
Trials (Offenses against the enviornment) | การพิจารณาและตัดสินคดี (ความผิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม) [TU Subject Heading] |
Trials (Rape) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การข่มขืน) [TU Subject Heading] |
Trials (Slander) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การหมิ่นประมาทด้วยวาจา) [TU Subject Heading] |
Trials, litigation, etc. | การพิจารณาและตัดสินคดี, การฟ้องร้อง, ฯลฯ [TU Subject Heading] |
award | คำตัดสินอนุญาโตตุลาการ (ใช้ในแง่การระงับกรณีพิพาท) [การทูต] |
civil society | ประชาสังคม หมายถึง สังคมที่ประชาชนในระดับต่าง ๆ มีการรวมตัวกันอย่างแข็งแกร่ง เพื่อที่จะเข้ามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินทางเลือกสาธารณะ ที่มีผลกระทบต่อพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ของท้องถิ่นและประเทศโดยรวม [การทูต] |
Conciliation | การไกล่เกลี่ย คือ กระบวนการของการส่งเรื่องกรณีพิพาทไปให้คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริง แล้วเสนอรายงาน ซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะในอันที่จะระงับกรณีพิพาทนั้น อย่างไรก็ดี ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการนี้ไม่มีผลบังคับแก่คู่พิพาทแต่อย่างใด ไม่เหมือนกับคำวินิจฉัยในการตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) [การทูต] |
consensus | ฉันทามติ หมายถึง แนวปฏิบัติในการตัดสินใจที่จะมีมติดำเนินการหรือไม่ดำเนินการในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง โดยแม้ทุกฝ่ายจะมิได้เห็นพ้องร่วมกัน แต่ก็ไม่มีผู้ใดคัดค้าน [การทูต] |
decision | ข้อตัดสินใจ [การทูต] |
Extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน การที่ชาติหนึ่งยอมส่งคนในชาติของตนให้แก่อีกชาติหนึ่ง คือคนในชาติที่ถูกกล่าวหา หรือต้องโทษฐานกระทำความผิดภายนอกเขตแดนของตน และเป็นความผิดที่กระทำขึ้นในเขตอำนาจของอีกชาติหนึ่ง ซึ่งมีความสามารถที่จะตัดสินคดี รวมทั้งลงโทษบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้นข้ออ้างว่า ในกรณีที่ชนชาติหนึ่งซึ่งถูกกล่าวหาว่าประกอบอาชญากรรมแล้วหลบหนีไปยังต่าง ประเทศนั้น รัฐของผู้ที่ประกอบอาชญากรรมมีสิทธิที่จะขอให้ต่างประเทศนั้นส่งตัวผู้กระทำ ผิดกลับคืนมา เพื่อส่งตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาลงโทษได้ แต่หลายคนยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ในข้อนี้ มีไม่น้อยที่สนับสนุนหลักการที่ว่า กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองหน้าที่ที่จะต้องส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ นอกจากสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่มีต่อกันแล้ว กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองสิทธิที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กัน อย่างไรก็ดี ตามสนธิสัญญาที่มีต่อกัน ผู้ร้ายที่หนีความยุติธรรมจะถูกส่งไปให้อีกประเทศหนึ่งตามสนธิสัญญานั้น จักกระทำโดยวิถีทางการทูต ส่วนผู้หลบหนีเจ้าหน้าที่เพราะเหตุผลทางการเมือง จะส่งข้ามแดนอย่างผู้ร้ายไม่ได้ และเมื่อหลบหนีไปยังอีกประเทศหนึ่งได้สำเร็จ ประเทศนั้นๆ มักจะให้อาศัยพักพิงในประเทศของตนเป็นในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
Order of Precedence | หมายถึง ลำดับอาวุโสทางการทูต โดยถือยศหรือตำแหน่งเป็นบรรทัดฐาน โดยเฉพาะในโอกาสที่ไปร่วมพิธีต่าง ๆ ตลอดจนการเลี้ยงอาหารอย่างเป็นทางการ นักการทูตทั่วโลกต่างถือลำดับอาวุโสเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพิถีพิถันกันไม่ น้อย เพราะในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ หากมีการจัดลำดับอาวุโสไม่ถูกต้อง เขาผู้นั้นซึ่งคำนึงถึงศักดิ์ศรีในฐานะตัวแทนของประเทศย่อมต้องรู้สึกว่า นอกจากจะไม่ได้รับความถูกต้องแล้ว ยังเป็นการดูแคลนประเทศของตนด้วยในสมัยก่อน ผู้ที่ทำหน้าที่ชี้ขาดในเรื่องลำดับอาวุโสของบรรดาประมุขของรัฐทั้งหลาย คือสมเด็จพระสันตะปาปา ต่อมาในการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาเมื่อปี ค.ศ. 1815 ที่ประชุมได้ตกลงกันให้ถือวันที่เดินทางมาถึงประเทศผู้รับ และได้แจ้งให้ทราบเป็นทางการว่าเป็นเรื่องลำดับอาวุโส ผู้ที่มาถึงก่อนย่อมมีอาวุโสกว่าผู้ทีมาทีหลัง อย่างไรก็ดี มาในทุกวันนี้มีหลายประเทศถือหลักว่า ผู้แทนทางการทูตที่ยื่นสารตราตั้งก่อนจะมีอาวุโสกว่าผู้ยื่นสารตราตั้งที หลัง และในกรณีที่เกิดความเห็นไม่ลงรอยกันระหว่างบุคคลในคณะทูตเรื่องลำดับอาวุโส ประเทศเจ้าภาพหรือประเทศผู้รับจะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติเกี่ยวกับลำดับอาวุโสของผู้แทนทางการ ทูตไว้ดังนี้ ?ข้อ 16 1. ให้หัวหน้าคณะผู้แทนมีลำดับอาวุโสในแต่ละชั้นของตนตามลำดับวันและเวลาที่ เข้ารับการหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้ง หรือเมื่อได้บอกกล่าวการมาถึงของตนและได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง ต่อกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงตามแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป 2. การเปลี่ยนแปลงในสารตราตั้งของหัวหน้าคณะผู้แทน ซึ่งไม่เกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงชั้นใด ๆ จะไม่กระทบกระเทือนลำดับอาวุโสของหัวหน้าคณะผู้แทน 3. ข้อนี้ไม่เป็นที่เสื่อมเสียแก่ทางปฏิบัติใด ซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับ ในเรื่องลำดับอาวุโสของผู้แทนของโฮลี่ซี ข้อ 17 ลำดับอาวุโสของสมาชิกคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทนนั้น ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้บอกกล่าวแก่กระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน? [การทูต] |
Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] |
Public Diplomacy | การทูตสาธารณะ หมายถึง การดำเนินการทางการทูตแบบหนึ่งเพื่อโน้มน้าวชักจูงให้สาธารณชนและกลุ่มเป้า หมายและกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ในต่างประเทศที่มีบทบาทสำคัญต่อการตัดสินใจของรัฐให้มีความชื่นชมและเข้าใจ ถึงแนวทางการดำเนินนโยบายต่างประเทศของประเทศใคประเทศหนึ่ง ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ระดับประชาชนให้มีความใกล้ชิดแน่นแฟ้น และประสบผลสำเร็จอน่างแนบเนียน โดยจะมี ความแตกต่างจากการดำเนินการทางการทูตแบบดั้งเดิม ที่เน้นการสื่อสารระหว่างรัฐต่อรัฐ(Government to Government)แต่การทูตสาธารณะจะเน้นวิธีการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ ประชาชน( Government to People) ภาคเอกชน ประชาสังคม หรือสื่อมวลชนในต่างประเทศหรือระหว่าประชาชนด้วยกันเอง อนึ่ง การทูตวัฒนธรรม (Cultural Diplomacy) ที่ใช้วัฒนธรรมเป็นสื่อเชื่อมความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชนนั้น ถือเป็นเครื่องมือหนึ่งของการดำเนินการทางการทูตสู่สาธารณชนนี้ [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อำนาจในการตัดสินใจ | [amnāt nai kān tatsinjai] (n, exp) EN: decision-making power ; power to take decisions FR: décisionnaire [ m ] |
ชะลอการตัดสินใจ | [chalø kān tatsinjai] EN: delay decisions |
กรรมการตัดสิน | [kammakān tatsin] (n, exp) EN: umpire ; referee ; judge FR: juge [ m ] |
การตัดสิน | [kān tatsin] (n) EN: decision ; judging FR: décision [ f ] |
การตัดสินใจ | [kān tatsinjai] (n) EN: decision ; decision-making ; decision making ; making a decision FR: décision [ f ] |
การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ | [kān tatsinjai choēng konlayut] (n, exp) EN: strategic decision |
การตัดสินใจโดยเสียงข้างมาก | [kān tatsinjai dōi sīeng khāngmāk] (n, exp) EN: majority decision |
การตัดสินใจรายวัน | [kān tatsinjai rāiwan] (n, exp) EN: day-to-day decisions |
การตัดสินใจซื้อ | [kān tatsinjai seū] (n, exp) EN: purchase decision |
การตัดสินใจทางการเงิน | [kān tatsinjai thāng kānngoen] (n, exp) EN: financing decision ; financial decision |
การตัดสินปล่อยตัวจำเลย | [kān tatsin plǿi tūa jamloēi] (n, exp) EN: acquittal |
เกณฑ์การตัดสินใจ | [kēn kān tatsinjai] (n, exp) EN: decision criteria FR: critère de décision [ m ] |
คำสั่งก่อนชี้ขาดตัดสินคดี | [khamsang køn chīkhāt tatsin khadī] (n, exp) EN: temporary injunction |
คำตัดสิน | [kham tatsin] (n, exp) EN: decision ; judgement ; judgment (Am.) ; verdict ; fiat |
คำตัดสินใจ | [kham tatsinjai] (n, exp) EN: decision ; written decision by a court ; legal determination |
คำตัดสินลงโทษ | [kham tatsin longthōt] (n, exp) EN: sentence |
คำตัดสินแสดงสิทธิ์ | [kham tatsin sadaēng sit] (n, exp) EN: declaratory judgment |
คณะผู้ตัดสิน | [khana phūtatsin] (n, exp) EN: judge commission |
คนตัดสินใจ | [khon tatsinjai] (n, exp) EN: decision-maker FR: décisionnaire [ m ] |
กล่าวคำตัดสิน | [klāo kham tatsin] (v, exp) EN: pronounce a judgement |
ผู้ช่วยผู้ตัดสิน | [phūchūay phūtatsin] (n, exp) EN: assistant referee FR: arbitre assistant [ m ] |
ผู้ตัดสิน | [phūtatsin] (n) EN: referee ; judge ; umpire FR: arbitre [ m ] ; juge [ m ] |
ผู้ตัดสินใจ | [phūtatsinjai] (n) EN: decision-maker ; person who decides ; decider (Am.) FR: décideur [ m ] |
ผู้ตัดสินคดี | [phūtatsin khadī] (n, exp) EN: judge FR: juge [ m ] |
ผู้ตัดสินนานาชาติ | [phūtatsin nānāchāt] (n, exp) EN: international referee ; international juru FR: arbitre international [ m ] |
ตัดสิน | [tatsin] (v) EN: decide ; render a decision FR: décider ; statuer ; juger ; porter un jugement ; trancher |
ตัดสิน | [tatsin] (v) EN: judge ; pass judgment ; give a verdict FR: juger ; rendre un verdict |
ตัดสินชี้ขาด | [tatsinchīkhāt] (v) FR: trancher |
ตัดสินใจ | [tatsinjai] (v) EN: decide ; make up one's mind ; determine ; resolve ; believe on firmly ; have decided FR: décider de ; se décider à ; se résoudre à ; se déterminer à ; prendre une décision |
ตัดสินจำคุกตลอดชีวิต | [tatsin jamkhuk taløt chīwit] (v, exp) EN: sentence to life imprisonment |
ตัดสินคดี | [tatsin khadī] (v, exp) EN: judge a case ; return a verdict |
ตัดสินลงโทษ | [tatsin longthōt] (v, exp) EN: judge |
ตัดสินประหารชีวิต | [tatsin prahānchīwit] (v, exp) EN: sentence to death |
ตัดสินโทษ | [tatsin thōt] (v, exp) EN: judge |
ตัดสินยกฟ้อง | [tatsin yokføng] (v, exp) EN: dismiss an action |
ถูกตัดสินประหารชีวิต | [thūk tatsin prahānchīwit] (v, exp) EN: be sentenced to death FR: être condamné à la peine de mort |
เวลาตัดสิน | [wēlā tatsin] (n, exp) FR: heure du verdict [ f ] |
ยังไม่ตัดสินใจ | [yang mai tatsinjai] (adj) EN: undecided |
Longdo Approved EN-TH
fitting box | (n) ห้องหรือตู้ในร้านขายเสื้อผ้า สำหรับให้ผู้ซื้อเสื้อผ้าเปลี่ยนจากเสื้อผ้าที่ตนสวมใส่ มาลองสวมใส่เสื้อผ้าที่จะซื้อเพื่อการตัดสินใจว่าพอเหมาะหรือเป็นไปตามที่ตนต้องการหรือไม่, See also: locker room American, Syn. changing room |
precedent | (n) คำพิพากษาในคดีก่อน ซึ่งนำมาเป็นมาตรฐานในการตัดสินคดีต่อๆไป |
make up one's mind | (vt) ตัดสินใจ เช่น Make up your mind before it's too late. คุณรีบตัดสินเสียก่อนที่มันจะสายเกินไป. |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
adjudge | (vt) ตัดสิน, See also: ตัดสินโทษ, Syn. judge, adjudicate |
adjudicate | (vt) วินิจฉัย, See also: พิจารณา, ตัดสิน |
adjudicate | (vi) วินิจฉัย, See also: พิจารณา, ตัดสิน, Syn. judge, adjudge |
agree | (vt) ตัดสิน |
agree | (vi) ตัดสิน |
arbiter | (n) ผู้ตัดสิน, See also: ผู้ชี้ขาด, Syn. umpire, arbitretor, judge |
arbitrate | (vt) ขอให้ตัดสินโดยมีผู้ชี้ขาด, See also: เสนอให้ตัดสินโดยมีผู้ชี้ขาด |
arbitrate | (vt) ตัดสิน, See also: ชี้ขาด, ยุติการโต้แย้ง |
arbitrate | (vi) เป็นผู้ตัดสิน, See also: ชี้ขาด, ยุติการโต้แย้ง, Syn. settle peacefully, smooth out |
arbitrator | (n) ผู้ตัดสิน, See also: ผู้ที่ถูกเลือกให้มาตัดสิน, Syn. arbiter, referee, mediator |
adjudicate in | (phrv) ตัดสิน, See also: พิพากษา, Syn. arbitrate in |
adjudicate on | (phrv) ตัดสิน, See also: พิพากษา, Syn. arbitrate on |
agree on | (phrv) ตัดสินว่าเป็น, See also: เลือกให้เป็น, Syn. decide on |
agree upon | (phrv) ตัดสินว่าเป็น, See also: เลือกให้เป็น, Syn. decide on |
arbitrate between | (phrv) ตัดสินชี้ขาดระหว่าง (ทางกฎหมาย), See also: ตัดสิน, เป็นผู้ตัดสินระหว่าง |
arbitrate for | (phrv) ตัดสินชี้ขาดเรื่อง (ทางกฎหมาย), See also: ตัดสิน, เป็นผู้ตัดสินเรื่อง, Syn. sue for |
arbitrate in | (phrv) ตัดสินชี้ขาดเรื่อง (ทางกฎหมาย), See also: ตัดสิน, เป็นผู้ตัดสินเรื่อง, Syn. adjudicate in |
arbitrate on | (phrv) ตัดสินชี้ขาดเรื่อง (ทางกฎหมาย), See also: ตัดสิน, เป็นผู้ตัดสินเรื่อง, Syn. adjudicate on |
be in one's right mind | (idm) สามารถใช้เหตุผลตัดสินได้, See also: มีสติรู้รับผิดชอบชั่วดี, Syn. be out of, go out of |
be in the right | (idm) ตัดสินถูกต้อง |
be in the wrong | (idm) ตัดสินไม่ถูกต้อง |
be of sound mind | (idm) สามารถตัดสินได้ (ทางกฎหมาย), See also: มีความสมบูรณ์, มีสติสัมปชัญญะ |
be of unsound mind | (idm) ไม่สามารถตัดสินได้ (ทางกฎหมาย), See also: ไม่มีสามารถควบคุมตนเองได้ |
be off the hook | (idm) ไม่มีหน้าที่ในการตัดสินใจ (คำไม่เป็นทางการ), Syn. be on |
be on the hook | (idm) ถูกบังคับให้ตัดสินใจ (คำไม่เป็นทางการ), Syn. be off, get off |
bring in a verdict | (idm) ตัดสิน, See also: พิพากษา |
bring matters to a head | (idm) ทำให้ต้องตัดสินใจเข้าสู่ (บางอย่าง), Syn. come to |
casting vote | (n) การลงคะแนนตัดสินโดยผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบการประชุมเนื่องจากแต่ละฝ่ายมีคะแนนเท่ากัน |
clinch | (vt) ตัดสินใจ (หลังจากที่พิจารณาอย่างมาก) |
common sense | (n) การตัดสินแบบพื้นๆ, See also: การใช้ความคิดตัดสินเบื้องต้น |
conclude | (vt) ตัดสินใจ, Syn. determine, decide |
convict | (n) นักโทษ, See also: ผู้ที่ถูกตัดสินว่ามีความผิด, Syn. con, jailbird, inmate |
court | (n) ศาล, See also: ศาลยุติธรรม, ที่ตัดสินความ, Syn. courthouse, justice building |
call it quits | (idm) ตัดสินใจเลิกบางสิ่ง |
call the shots | (idm) ตัดสินใจ, See also: เป็นผู้ตัดสิน |
call the tune | (idm) ตัดสินใจ |
cast in with | (phrv) ตัดสินใจเข้าร่วม, See also: ร่วมชะตากรรม, Syn. fling in with, throw in with |
chech back | (phrv) พูดถึง, See also: ตัดสินใจอีกครั้ง, ตรวจสอบอีก |
chicken out | (phrv) กลัว, See also: ตัดสินใจไม่ทำบางสิ่งเพราะว่ากลัว |
cover a lot of ground | (idm) มีสิ่งต่างๆมากมายที่ต้อง (ทำ, ตัดสินใจ, สนทนา) |
decide against | (phrv) ตัดสินใจไม่ยอมรับ, Syn. decide on |
decide between | (phrv) เลือกระหว่าง, See also: ตัดสินใจระหว่าง |
decide for | (phrv) ตัดสินสนับสนุน (ทางกฎหมาย), See also: สนับสนุน, Syn. find for, Ant. decide against, find against |
decide on | (phrv) ตัดสินให้, See also: ยินยอมให้, Syn. agree on, decide against, determine on, settle on |
decide upon | (phrv) ตัดสินให้, See also: ยินยอมให้, Syn. agree on, decide against, determine on, settle on |
determine on | (phrv) ตัดสินให้ได้รับ, Syn. dicide on |
determine upon | (phrv) ตัดสินให้ได้รับ, Syn. dicide on |
doom to | (phrv) (ชะตา) กำหนดให้, See also: ตัดสินให้, พิพากษาให้, Syn. foredoom to, sentence to |
draw for | (phrv) ตัดสินให้ (โดยการสุ่มหรือจับฉลาก) |
eleventh-hour decision | (idm) การตัดสินใจในนาทีสุดท้าย |
Hope Dictionary
acquit | (อะควิท') vt. ทำให้พ้นไป, ชำระ, ตัดสินให้พ้นโทษ, ปฏิบัติ, ดำเนินการได้ผล. -acquiter n., Syn. forgive, pardon, clear, free |
acquittal | (อะควิท' เทิล) n. การตัดสินให้พ้นโทษ, การปฏิบัติ, การชำระหนี้, Syn. discharge |
adjudge | (อะจัดจฺ') vt. (ศาล) สั่ง, ตัดสินใจ, ชี้ขาด, ตัดสินใจ, Syn. decide, assign, decree |
adjudicate | (อะจู' ดิเคท) vt., vi. (ศาล) สั่งตัดสินใจให้, พิจารณาลงโทษ, ชี้ขาด, Syn. adjudge |
apple ii | (แอปเปิลทู) เป็นชื่อเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลรุ่นแรกที่บริษัทแอปเปิลผลิตออกมาสู่ตลาด คอมพิวเตอร์ชุดนี้ได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์ ในเชิงการใช้สอยอย่างมหาศาล ในวงการคอมพิวเตอร์ หลังจากที่แอปเปิล ทูออกสู่ตลาดแล้ว บริษัทแอปเปิลก็ได้ผลิตแอปเปิลทูอี (Apple IIe) และ แอปเปิล ทรี (Apple III) ตามกันออกมาอยู่ชั่วระยะหนึ่ง แล้วบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์ก็ตัดสินใจหยุดผลิตชุดแอปเปิล ทรี หันมาผลิตชุดแมคอินทอช ซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาดสูงมากในปัจจุบัน |
arbiter | (อาร์'บิเทอะ) n. ผู้ตัดสิน, ตุลาการ, คนชี้ขาด, ผู้กำชะตาชีวิต, อนุญาโตตุลาการ (judge) |
arbitrage | (อาร์'บิทราซฺ) n. การค้ากำไร, การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ |
arbitral | (อาร์'บิเทริล) adj. เกี่ยวกับผู้ตัดสินหรือการตัดสิน (relating to an arbiter) |
arbitrament | (อาร์บิท'ระเมินทฺ) n. การตัดสิน, การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ |
arbitrary | (อาร์'บิทระรี) adj. ตามอำเภอใจ, ไร้เหตุผล, เอาแต่อารมณ์, โดยพลการ, ตัดสินโดยผู้ตัดสิน (แทนที่จะโดยกฎหมายของรัฐ) . -arbitrariness n., Syn. capricious, frivolous |
arbitrate | (อาร์'บิเทรท) vt., vi. ตัดสิน (โดยอนุญาโตตุลาการ) , เสนอให้ตัดสินโดยมีผู้ชี้ขาด (อนุญาโตตุลาการ) . -arbitrable adj., -arbitrator n. (judge, mediate, intercede) |
arbitration | (อาร์บิเทร'เชิน) n. การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ, การชี้ขาด, การตัดสิน. |
auto-da-fe | (ออโทคะเฟ') n. การตัดสินคดีของศาสนาโรมันคาธอลิคในยุคกลางที่เผด็จการ มีการลงโทษใช้ไฟเผาพวกต่างศาสนา |
award | (อะวอร์ด') vt. ให้รางวัล, มอบให้, ตัดสิน |
bound | (เบาดฺ) { bounded, bounding, bounds } adj. ถูกผูกมัด, เหนียวแน่น, แน่นอน, จักต้อง, ตัดสินใจ, เข้าเล่ม, ท้องผูก vi. กระโดด, เด้งกลับ, จดกับ, ประชิดกับ vt. จำกัด, กลายเป็นขอบเขต, พูดถึงขอบเขต -n. การกระโดด, การเด้งกลับ, ขอบเขต, ชายแดน adj. กำลังจะ, ไปทาง, พร้อมที่จะ |
brace | (เบรส) n. เสาค้ำ, เครื่องค้ำจุน, เครื่องเหนี่ยวรั้ง, เชือกโยงเสา, เฝือก, ที่รั้ง, ที่พาด, สายหนึ่ง, วงเล็บปีกกา vt. หนุนไว้, ค้ำไว้, รั้งไว้, มัดแน่น, กระตุ้น, หนุน, ตัดสินใจแน่วแน่, Syn. fortify |
by-pass | n. ทางอ้อม, ทางแยกวน, ท่อรอง vt. อ้อม, ไปทางอ้อม, ไม่สนใจข้อคิดเห็นหรือคำตัดสิน |
by-passes | n. ทางอ้อม, ทางแยกวน, ท่อรอง vt. อ้อม, ไปทางอ้อม, ไม่สนใจข้อคิดเห็นหรือคำตัดสิน |
by-passing | n. ทางอ้อม, ทางแยกวน, ท่อรอง vt. อ้อม, ไปทางอ้อม, ไม่สนใจข้อคิดเห็นหรือคำตัดสิน |
bypass { by-passed | n. ทางอ้อม, ทางแยกวน, ท่อรอง vt. อ้อม, ไปทางอ้อม, ไม่สนใจข้อคิดเห็นหรือคำตัดสิน |
bypassed | n. ทางอ้อม, ทางแยกวน, ท่อรอง vt. อ้อม, ไปทางอ้อม, ไม่สนใจข้อคิดเห็นหรือคำตัดสิน |
bypasses } | n. ทางอ้อม, ทางแยกวน, ท่อรอง vt. อ้อม, ไปทางอ้อม, ไม่สนใจข้อคิดเห็นหรือคำตัดสิน |
bypassing | n. ทางอ้อม, ทางแยกวน, ท่อรอง vt. อ้อม, ไปทางอ้อม, ไม่สนใจข้อคิดเห็นหรือคำตัดสิน |
casuist | (แคซ'ซูอิสทฺ) n. เจ้าคารม, เจ้าโวหาร, ผู้ศึกษาและถือหลักธรรมจริยา, ผู้ตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะอย่าง |
casuistic | (แคซซูอิส'ทิค, -คัล) adj. เจ้าคารม, เล่นสำนวนโวหาร -n.เกี่ยวกับการใช้หลักธรรมจริยา, ซึ่งตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะ |
casuistical | (แคซซูอิส'ทิค, -คัล) adj. เจ้าคารม, เล่นสำนวนโวหาร -n.เกี่ยวกับการใช้หลักธรรมจริยา, ซึ่งตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะ |
casuistry | (แคซ'ซูอิสทรี) n. การใช้หลักศีลธรรมจรรยาในการตัดสินปัญหา, การใช้หลักศีลธรรมจรรยาที่ผิด, การเล่นสำนวนโวหาร, การเล่นลิ้น |
chief information officer | ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) |
cio | (ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) |
conclude | (คันคลูด') { concluded, concluding, concludes } vt. ลงเอย, สิ้นสุดลง, สรุป, ลงมติ, ตัดสินใจ. vi. สิ้นสุดลง, ลงเอย, ลงความเห็น, ตัดสินใจ, Syn. finish, infer, deduce |
conclusion | (คันคลู'เชิน) n. การลงเอย, การสิ้นสุดลง, การสรุป, บทสรุป, ผล, การตกลงขั้นสุดท้าย, การตัดสินใจครั้งสุดท้าย, Syn. inference |
condemn | (คันเดมน์') { condemned, condemning, condemns } vt. ประณาม, ตำหนิ, ตัดสินว่ามีความผิด, See also: condemnable adj. ดูcondemn condemningly adv. ดูcondemn, Syn. blame, censure, Ant. praise, approve |
convict | (คอน'วิคทฺ) { convicted, convicting, convicts } n. ผู้ที่ถูกตัดสินว่ากระทำผิด, นักโทษ vt. (คัน วิคทฺ') พิสูจน์แล้วว่ากระทำผิด, ตัดสินว่าได้กระทำผิด, ทำให้รู้ว่ามีความผิดหรือมีโทษ, See also: convictable adj. ดู convictible adj. convictive adj. ดูconv |
conviction | (คันวิค'เชิน) n. การลงโทษ, การตัดสินว่ากระทำผิด, ภาวะที่ถูกตัดสินว่ากระทำผิด, ความมั่นใจ, ความเชื่อมั่นใจ, Syn. faith, Ant. unbelief |
decide | (ดิไซดฺ') vt. ตกลงใจ, ตัดสินใจ, ตัดสิน, ชี้ขาด vi. ตัดสิน, ชี้ขาด, Syn. determine, Ant. waver |
decided | (ดิไซ'ดิด) adj. เด็ดขาด, แน่นอน, ตัดสินใจแล้ว, See also: ness n. |
decision | (ดิซิส'เชิน) n. การตัดสินใจ, สิ่งที่ได้ตัดสินใจ, ข้อตกลงใจ, ญัตติ, ความแน่วแน่, Syn. resolve |
decisive | (ดิไซ'ซิฟว) adj. ซึ่งมีลักษณะชี้ขาด, แน่วแน่, ซึ่งตัดสินใจแล้ว., See also: decisiveness n. |
determinate | (ดิเทอร์'มิเนท) adj. แน่นอน, ซึ่งได้กำหนดไว้, เด็ดขาด, ซึ่งได้ตัดสินใจแล้ว, ซึ่งมีค่าหรือจำนวนที่แน่นอน, Syn. specific |
determinative | (ดิเทอร์'มิเนทิฟว) adj. ซึ่งเป็นการกำหนด, เป็นการชี้ขาด, เป็นเครื่องตัดสิน n. ตัวชี้ขาด, ตัวกำหนด, ศัพท์ที่กำหนดไว้ |
determine | (ดิเทอร์'มิน) vt. กำหนด, ตัดสินใจ, ตกลงใจ, ตั้งใจ, ยุติ, ทำให้สิ้นสุด vi. ตกลงใจ., See also: determinable adj. determinability n., Syn. decide |
determined | (ดิเทอร์'มินดฺ) adj. แน่นอน, ซึ่งตัดสินใจแล้ว, ซึ่งตัดสินแล้ว, See also: determinedness n., Syn. resolved, fixed |
fair play | n. การตัดสินอย่างยุติธรรม, การเล่นอย่างยุติธรรม, พฤติกรรมที่เที่ยงธรรม |
find | (ไฟดฺ) { found, found, finding, finds } vt. พบ, ประสบ, หา, ได้รับ, จัดหา, ไปถึง, ตัดสิน, ชี้ขาด, บรรลุ, ก่อให้เกิด. vi. รู้สึก, เห็นว่า, ตัดสิน, ชี้ขาด, ลงความเห็น., See also: find oneself รู้ถึงความสามารถของตนและรู้วิธีใช้มัน. -Phr. all found ทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้อง หาเป็นคำสั่งหนึ่งที่ให้ตรวจค้นหาข้อมูลที่ต้องการในแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ word processing เราอาจค้นหาได้เป็นคำ ๆ ไป ถ้าเป็นโปรแกรมฐานข้อมูล database management เราจะสามารถค้นหาไปทีละระเบียน record บางทีอาจใช้หมายถึงการค้นหาแฟ้มข้อมูลว่าเก็บไว้ในสารบบ directory ใด เป็นคำสั่งหนึ่งในระบบวินโดว์ด้วย อยู่ใต้เมนู File มีความหมายเหมือน search |
hamartia | n. ความผิดพลาดในการตัดสินใจ |
heuristics | วิทยาการศึกษาสำนึกหมายถึง วิธีการแก้ปัญหาที่ดูเหมือนว่าจะไม่มีแนวทางหรือกฎเกณฑ์ที่ชัดเจนตายตัว เช่น ในเกมหมากรุก คงมีแต่การทดลองหรือคาดเดาหลาย ๆ ทางให้ตัดสินเลือกทางที่คิดว่าจะได้ผลดีที่สุด ซึ่งมักจะใช้ผลจากประสบการณ์ที่ผ่านมา ตรงข้ามกับกับ "สามัญสำนึก" หรือ common sense |
indecision | (อินดีซิส' เชิน) n. การไม่สามารถตัดสินใจ |
indecisive | (อินดีไซ' ซิฟว) adj. ไม่เด็ดขาด, ซึ่งตัดสินใจอย่างไม่เด็ดขาด, ลังเล, ไม่ชัดเจน |
indeterminate | (อินดีเทอ' มิเนท) adj. ไม่แน่นอน, ไม่จำกัด, ไม่แน่ชัด, คลุมเครือ, ยังไม่ตกลงใจ, ยังไม่ตัดสิน, ซึ่งไม่สามารถวิเคราะห์ได้สมบูรณ์โดยหลักของวิชาสถิติศาสตร์ (statics) ., See also: indeterminateness n., Syn. unfixed, indefinite |
indetermination | (อินดีเทอมิเน' เชิน) n. ภาวะที่ไม่แน่นอน, ภาวะที่ยังไม่ตกลงใจหรือตัดสินใจ |
Nontri Dictionary
acquit | (vt) ปล่อยตัว, ตัดสินให้พ้นโทษ, ปฏิบัติ, ชำระหนี้ |
adjudge | (vt) พิพากษา, ตัดสิน, ชี้ขาด |
arbiter | (n) ผู้ตัดสิน, ตุลาการ, ผู้ชี้ขาด |
arbitrament | (n) อำนาจชี้ขาด, การตัดสิน, คำตัดสิน |
arbitrate | (vt) ตัดสิน, ชี้ขาด |
arbitration | (n) การชี้ขาด, การตัดสิน, อำนาจชี้ขาด |
arbitrator | (n) ผู้ชี้ขาด, ผู้ตัดสิน |
award | (vt) ให้รางวัล, ตัดสิน, มอบรางวัล |
CAPITAL capital punishment | (n) การตัดสินประหารชีวิต |
choose | (vi, vt) เลือก, คัดเลือก, เลือกสรร, สมัครใจ, ตัดสิน, ตกลงใจ |
conclude | (vi, vt) จบ, ลงมติ, ตัดสินใจ, ลงเอย, สิ้นสุด, ปลงใจ, ทำเสร็จ |
conclusion | (n) การจบ, การตัดสินใจ, ข้อยุติ |
condemn | (vt) กล่าวโทษ, ประณาม, ตำหนิ, ตราหน้า, ด่าว่า, ลงโทษ, ตัดสินความ |
condemnation | (n) การกล่าวโทษ, การประณาม, การตำหนิ, การลงโทษ, การตัดสินความ |
convict | (vt) ลงโทษ, ตัดสินว่าผิด |
conviction | (n) ความมั่นใจ, ความเชื่อมั่น, ความแน่ใจ, การลงโทษ, การตัดสินว่าผิด |
decide | (vi, vt) ตัดสินใจ, ชี้ขาด, ตกลงใจ |
decision | (n) การตกลงใจ, การตัดสินใจ, การปลงใจ, คำตัดสิน |
determinate | (adj) ซึ่งตัดสินใจแล้ว, แน่นอน, เด็ดขาด, ตามที่กำหนดไว้ |
determine | (vi, vt) ตกลงใจ, ตัดสินใจ, ตั้งใจ, กำหนด, แสดงผล |
determined | (adj) มั่นคง, แน่นอน, ซึ่งตัดสินใจแล้ว, ซึ่งตกลงแล้ว |
discretion | (n) ความสุขุม, ความรอบคอบ, การตัดสินใจ, ดุลพินิจ, การไตร่ตรอง |
discretionary | (adj) ด้วยความสุขุม, ด้วยความรอบคอบ, เกี่ยวกับการตัดสินใจ |
doom | (n) คำพิพากษา, คำตัดสิน, เคราะห์กรรม, ความหายนะ, ความตาย, ชะตาขาด |
doom | (vt) พิพากษา, ตัดสิน, ลงโทษ, ชี้ชะตา |
fiat | (n) คำสั่ง, คำพิพากษา, คำตัดสิน, พระบรมราชโองการ |
find | (vi, vt) พบ, หา, ค้น, สืบหา, ประสบ, สืบสวน, ตัดสิน, ชี้ขาด, รู้, ทราบ, สำนึก |
indeterminate | (adj) ไม่แน่นอน, ไม่ได้กำหนด, ไม่จำกัด, คลุมเครือ, ยังไม่ตัดสิน |
judge | (n) ผู้พิพากษา, ผู้พิจารณา, ผู้ตัดสิน, ตุลาการ |
judge | (vt) พิพากษา, ตัดสิน, พิจารณา, วิจารณ์, ลงความเห็น |
judgment | (n) การตัดสิน, การพิจารณา, คำตัดสิน, คำพิพากษา |
misjudge | (vt) พิจารณาผิด, ตัดสินใจผิด, วินิจฉัยผิด |
predetermine | (vt) ตัดสินใจล่วงหน้า, กำหนดล่วงหน้า |
prejudge | (vt) ตัดสินใจล่วงหน้า, วินิจฉัยล่วงหน้า |
pronounce | (vt) ประกาศ, แถลง, อ่าน, กล่าว, วินิจฉัย, ตัดสินคดี |
referee | (n) ผู้ชี้ขาด, ผู้ตัดสิน, กรรมการตัดสิน |
resolve | (n) การลงมติ, การตกลงใจ, การตัดสินใจ, ความแน่วแน่ |
resolve | (vi, vt) แก้ปัญหา, ตกลงกัน, ตัดสินใจ, ลงมติ, กระจาย |
rule | (vt) ควบคุม, ชี้ขาด, ตัดสินใจ, ปกครอง, ขีดเส้น |
SELF-self-determination | (n) การตัดสินใจเอง |
sentence | (n) คำตัดสิน, ประโยค, การพิพากษา, การลงโทษ, คติพจน์ |
sentence | (vt) พิพากษา, ตัดสิน, ลงโทษ |
umpire | (n) ผู้ชี้ขาด, ผู้ตัดสิน, คนกลาง, กรรมการ |
umpire | (vi, vt) ชี้ขาด, ตัดสิน |
verdict | (n) คำตัดสิน, คำชี้ขาด, คำพิพากษา |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
a fool and his money are soon parted | (ใช้เมื่อต้องสูญเสียเงินเป็นจำนวนมากเนื่องมาจากการตัดสินที่ไม่ดี) ให้คนโง่ใช้เงินอีกไม่นานเงินก็หมด |
adjudication | (n) คำตัดสิน (จะใช้ในกรณีการตัดสินคดีล้มละลาย) |
ambivalent | (adj) ลังเล ตัดสินใจไม่ได้ รู้สึกครึ่งๆกลางๆ |
award | (n) คำตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (ศัพท์กฎหมาย) |
award | ตัดสินชี้ขาด |
cut-off | ค่าตัดสิน |
decision-making | (n) การตัดสินใจ |
dicision | (n, vi) การตัดสินใจ, คำพิพากษา, การตัดสินใจ, สิ่งที่ได้ตัดสินใจ, ข้อตกลงใจ, ญัตติ, ความแน่วแน่ VT. ตัดสินใจ |
hand down | ตัดสิน เช่น the court handed down the two-year sentence. |
have a say (in something) | มีอำนาจตัดสินใจ (ในการทำบางสิ่ง) |
non-exclusive jurisdiction of court | (n) ศาลที่่มีขอบเขตในการตัดสินคดีทั่่วไป |
rapse of reason | (phrase, slang) การตัดสินใจผิด |
Reaching a desision | [รีชิง อะ ดีซิชั่น] (n) ถึงการตัดสินใจ |
Reaching a desision | [รีชิง อะ ดีซิชั่น] (n) ถึงการตัดสินใจ |
up-selling | (n) เป็นภาษาการตลาด หมายถึง การแนะนำเพื่อขายสินค้า หรือ บริการ ที่มีราคาสูงกว่าให้แก่ลูกค้าที่กำลังตัดสินใจซื้อสินค้า (หรือ บริการ) ส่วนมากจะเป็นสินค้า (หรือ บริการ) ที่มีคุณสมบัติเหนือกว่า หรือ ดีกว่า สินค้า (หรือ บริการ) ที่ลูกค้ากำลังตัดสินใจเลือก, See also: up-sales |
เกรียน | (n) เกรียน ในสมัยก่อนหมายถึงเด็กนักเรียนที่เรียนอยู่ในชั้น ประถม ถึง มัธยม แต่ในปัจจุบัน การกล่าวคำว่าเกรียนหมายถึง ผู้ใช้ อารมณ์ในการตัดสินปัญหา มากกว่าที่จะใช้ เหตุและผล ขาดความยั้งคิด และทำตัวเดือดร้อนให้แก่คนรอบข้าง มักพบได้ใน เด็ก ประถม ขึ้นไป |
Longdo Approved JP-TH
工夫 | [くふう, kufuu] การตรึกตรอง การไตร่ตรองในหลายๆด้านก่อนตัดสินใจ |
決定 | [けってい, kettei] (n) ตกลงใจ, ตัดสินใจ |
決意 | [けつい, ketsui] (n) การตัดสินใจ |
結論 | [けつろん, ketsuron] (n) การจบ, การตัดสินใจ, ข้อยุติ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
判断 | [はんだん, handan] (n, vi, vt) การตัดสินใจ, ตัดสินใจ |
所管 | [しょかん, shokan] (n, adj) อำนาจในการตัดสิน |
審査 | [しんさ, shinsa] (vi) การพิจารณาตัดสิน หรือการพิจารณาคัดเลือก |
引き合い | [ひきあい, hikiai] (n) การพิจารณาก่อนการตัดสินใจ |
即断 | [そくだん, sokudan] (n) การด่วนตัดสินใจ |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
下す | [くだす, kudasu] TH: ตัดสิน EN: to deliver |
決意 | [けつい, ketsui] TH: การตัดสินใจแน่วแน่ |
Longdo Approved DE-TH
Entscheidung | (n) |die, pl. Entscheidungen| การตัดสินใจ |
Urteil | (n) |das, pl. Urteile| การพิพากษา, การตัดสิน |
Urteil | (n) |das, pl. Urteile| การตัดสินใจ |
Verfügung | (n) |die| การตัดสิน |
eine Entscheidung (über etw./jn.) treffen | (phrase) ตัดสินใจ (เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง), See also: entscheiden |
entscheiden | (vi) |entschied, hat entschieden| ตัดสินใจ |
sich für etw./jn. entscheiden | (vi) |sich entschied, hat sich entschieden| ตัดสินใจเลือกสิ่งหรือคนใดคนหนึ่ง |
entscheidend | (adj) เป็นตัวตัดสิน เช่น Das Tor ist entscheidend. การยิงฟุตบอลประตูนี้เป็นตัวตัดสินเกมส์นี้ |
für/gegen jn./etw. stimmen | (vt) |stimmte, hat gestimmt| ตัดสินใจในการออกเสียงหรือเลือกตั้งเพื่อหรือต่อต้านใครหรือสิ่งใด |
anscheinend | (adv) เป็นที่เห็นได้ชัด (ตัดสินหรือคาดการณ์จากสิ่งที่เห็นหรือสังเกตได้) เช่น Sein Koffer ist nicht mehr da. Anscheinend ist er schon weggefahren. กระเป๋าเดินทางของเขาไม่อยู่แล้ว เขาคงจะออกเดินทางไปแล้ว, See also: scheinbar, Syn. vermutlich |
Gutachter | (n) |der, pl. Gutachter| ผู้ประเมิน, ผู้ตัดสิน, กรรมการตัดสิน (ไม่ใช่ด้านกีฬา แต่เกี่ยวกับงานด้านวิชาการ เช่น กรรมการผู้ตัดสินงานเรียงความ ฯลฯ), ผู้เชี่ยวชาญ |
schuldig | (adj) มีความผิด, เป็นคนผิด เช่น Man hat den Mann verurteilt, dass er schuldig war. ผู้คนตัดสินว่าผู้ชายคนนี้มีความผิด, See also: A. unschuldig |
zweifelhaft | (adj) |zweifelhafter, zweifelhaftest-| ที่ยังไม่แน่นอน, ที่ยังไม่ได้ถูกตัดสินใจ เช่น Die Ergebnisse sind noch zweifelhaft. ผลลัพธ์นี้ยังเป็นที่ไม่แน่นอน |
bewerten | (vt) |bewertete, hat bewertet| ตัดสินระดับคุณภาพ, ประเมินค่า |
Bewertung | (n) |die, pl. Bewertungen| การตัดสินระดับคุณภาพ, การประเมินค่า |
Schiedsrichter | (n) |der, pl. Schiedsrichter| กรรมการตัดสิน(กีฬา), กรรมการ, Syn. Ringrichter |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
mitentscheinden | (vi, vt) | entscheidest mit, entschied mit, hat mitentschieden | (mit OBJ/ohne OBJ) <jmd. entscheidet mit> มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ |
Spannung { f } | (ซัสเพนซฺ') n. ภาวะจิตที่ไม่แน่นอน, ความใจจดใจจ่อ, ความไม่แน่นอนใจ, การไม่กล้าตัดสินใจ, ภาวะที่คาราคาซังอยู่., S. . suspenseful adj., S. anticipation, stress, See also: stress, Syn. S. . suspenseful adj., anticipation |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0374 seconds, cache age: 0.687 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม