494 ผลลัพธ์ สำหรับ *เสน*
ภาษา
หรือค้นหา: เสน, -เสน-Longdo TH - TH
ชะม้อย ชะม้าย ชายตา | (vt, adj) ส่งสายตาโปรยเสน่ห์ |
Longdo CN - TH
展览 | [展 览] แสดง, นำเสนอออกงานนิทรรศการ |
Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ข้อเสนอแนะ | recommendation |
ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอ | tesis |
มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N | [มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, o) มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: Norma Jeane Mortenson) เกิดวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1926 – 5 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นอดีตนักแสดง นักร้อง นางแบบชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากบทบาท "dumb blonde" เธอกลายเป็นสัญลักษณ์ทางเพศที่ได้รับความนิยมในคริสต์ทศวรรษ 1950 เป็นสัญลักษณ์ของทัศนคติที่มีต่อเพศแห่งยุค แม้ว่าเธอได้เป็นนักแสดงระดับต้น ๆ เพียงแค่หนึ่งทศวรรษ ภาพยนตร์ของเธอทำรายได้ได้ 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐก่อนที่เธอจะเสียชีวิตอย่างไม่คาดคิดใน ค.ศ. 1962[ 1 ] เธอยังถือว่าเป็นสัญรูปของวัฒนธรรมสมัยนิยมหลัก ๆ นับแต่นั้นมา[ 2 ] มอนโรเกิดและเติบโตในลอสแอนเจลิส วัยเด็กเธออาศัยอยู่ในบ้านรับเลี้ยงเด็ก และสถานเด็กกำพร้า และสมรสครั้งแรกเมื่ออายุ 16 ปี ขณะทำงานในโรงงานเป็นส่วนหนึ่งของกำลังสงคราม ใน ค.ศ. 1944 เธอพบกับช่างภาพคนหนึ่ง และเริ่มทำอาชีพนางแบบ งานของเธอทำให้เธอได้เซ็นสัญญากับภาพยนตร์ขนาดสั้น 2 เรื่องกับค่ายทเวนตีท์เซนจูรีฟอกซ์ (1946-1947) และโคลัมเบียพิกเจอส์ (1948) หลังจากรับบทย่อยในภาพยนตร์จำนวนหนึ่ง เธอเซ็นสัญญาใหม่กับฟอกซ์ใน ค.ศ. 1951 เธอกลายเป็นนักแสดงที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็วด้วยบทบาทตลกขบขันหลายบทบาท เช่นในเรื่อง แอสยังแอสยูฟีล (1951) และมังกีบิสเนส (1952) และในภาพยนตร์ดรามาเรื่อง แคลชบายไนต์ (1952) และ โดนต์บาเดอร์ทูน็อก (1952) มอนโรเผชิญหน้ากับข่าวลือหลังจากมีการเปิดเผยว่าเธอเคยถ่ายแบบเปลือยก่อนมาเป็นนักแสดง แต่แทนที่จะทำลายอาชีพเธอ มันกลับทำรายได้ให้กับบอกซ์ออฟฟิศ ก่อน ค.ศ. 1953 มอนโรเป็นหนึ่งในดาราฮอลลิวูดที่มีบทบาทนำในภาพยนตร์ 3 เรื่อง ได้แก่ ฟิล์มนัวร์ เรื่อง ไนแอการา (ภาพยนตร์ ค.ศ. 1953)|ไนแอการา ซึ่งมุ่งจุดสนใจที่เสน่ห์ทางเพศของเธอ และภาพยนตร์ตลกเรื่อง เจนเทิลเม็นพรีเฟอร์บลอนส์ และ ฮาวทูแมร์รีอะมิลเลียนแนร์ ซึ่งสร้างภาพลักษณ์ให้เธอเป็น "dumb blonde" แม้ว่าเธอจะมีบทบาทสำคัญในการสร้างและจัดการภาพลักษณ์สาธารณะของเธอตลอดอาชีพการทำงาน เธอรู้สึกผิดหวังต่อสตูดิโอที่ไทป์แคสต์ และการให้ค่าตัวเธอต่ำไป เธอถูกพักงานเป็นช่วงสั้น ๆ ในต้นปี ค.ศ. 1954 เนื่องจากเธอปฏิเสธโครงการทำภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง แต่กลับมาเป็นดาราในภาพยนตร์เรื่องที่ประสบความสำเร็จที่สุดเรื่องหนึ่งคือ เดอะเซเวนเยียร์อิตช์ (1955) เมื่อสตูดิโอยังลังเลที่จะเปลี่ยนแปลงสัญญาของเธอ มอนโรก่อตั้งบริษัทผลิตภาพยนตร์ใน ค.ศ. 1954 ชื่อ มาริลิน มอนโร โพรดักชันส์ (MMP) ขณะก่อสร้างบริษัท เธอเริ่มศึกษาการแสดงที่แอกเตอส์สตูดิโอ ในปลายปี ค.ศ. 1955 ฟอกซ์มอบฉันทะให้เธอควบคุมและให้เงินเดือนสูงขึ้น หลังจากได้รับคำสรรเสริญจากการแสดงในเรื่อง บัสสต็อป (1956) และการแสดงในภาพยนตร์อิสระเรื่องแรกของบริษัท MMP เรื่อง เดอะพรินซ์แอนด์เดอะโชว์เกิร์ล (1957) เธอได้รับรางวัลลูกโลกทองคำจากเรื่อง ซัมไลก์อิตฮอต (1959) ภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายของเธอที่ถ่ายทำจนเสร็จคือเรื่อง เดอะมิสฟิตส์ (1961) |
วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการนาเสนอทางธุรกิจ | (n, phrase) English for Business Presentation |
Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
สลินดา | [สะ-ลิน-ดา] น้ำบริสุทธิ์, หญิงผู้เป็นดั่งน้ำบริสุทธิ์, ความงดงามบริสุทธิ์ที่เปร่งประกาย, หญิงผู้ดีมีสกุลที่งดงามมีเสน่ห์ |
Longdo Unapproved JP - JP
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
三位一体改革 | (n) ปฏิรูปแบบตรีเอกานุภาพ(เป็นนโยบายหลักนโยบายหนึ่งของอดีตนายกรัฐมนตรีโคอิซึมิ ซึ่งเป็นแนวนโยบายเพื่อการปฏิรูปเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับสถานะทางการคลังขององค์กรปกครองท้องถิ่น ซึ่งแนวคิดของนโยบายนี้เสนอให้มีการปฏิรูปทั้งสามด้านพร้อมกันเป็นหนึ่งแพคเกจ ดังนั้นนายกรัฐมนตรีโคอิซึมิ จึงเรียกการปฏิรูปนี้ว่า"การปฏิรูปแบบตรีเอกานุภาพ สามด้านที่ต้องปฏิรูปก็คือ การปฏิรูปเรื่องภาษีของท้องถิ่น การปฏิรูปเรื่องเงินอุดหนุนแบบให้เปล่าเพื่อประกันรายได้ให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่นที่มีรายได้ไม่เพียงพอ และการปฏิรูปด้านการให้เงินอุดหนุนแบบมีเงื่อนไข |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
เสนาะ | (adj) melodious, Syn. น่าฟัง, เพราะ, ไพเราะ, Example: หัวหน้าพรรคท่านนี้มักจะพูดอะไรไม่เสนาะหู |
คำเสนอ | (n) proposal, See also: suggestion, offer |
นำเสนอ | (v) present, See also: submit, show, exhibit, display, Syn. เสนอ, Example: พรุ่งนี้ผมจะนำเสนอผลงานต่างๆ ที่ผมได้ทำมาในที่ประชุม, Thai Definition: บอกกล่าวหรือแสดงให้เห็น |
พิมเสน | (n) borneol, See also: borneo camphor, Example: หล่อนผสมพิมเสนป่นลงไปในผงสารส้ม, Count Unit: เกล็ด, Thai Definition: สารชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นเกล็ดสีขาวขุ่น มีทั้งที่ได้จากธรรมชาติและได้จากการสังเคราะห์ ใช้ทำยา |
พิมเสน | (n) kind of mango, Syn. มะม่วงพิมเสน, Example: ฉันชอบกลิ่นของมะม่วงพิมเสน มันหอมแปลกดี, Count Unit: ต้น, Thai Definition: ชื่อมะม่วงหลายพันธุ์ของชนิด Mangifera indica Linn. พันธุ์หนึ่งเมื่อดิบมีรสเปรี้ยว สุกแล้วหวาน, พันธุ์ที่แก่แล้วมีรสมัน เรียก พิมเสนมัน |
เสนียด | (n) evil, See also: vicious, misfortune, Syn. จัญไร, เสนียดจัญไร, ความอัปมงคล, Ant. สิริมงคล, Example: ฉันไม่เก็บของพวกนี้เอาไว้ให้เป็นเสนียดแก่ตัวหรอก, Thai Definition: สิ่งที่ไม่เป็นสิริมงคล |
เสน่หา | (n) love, See also: affection, Syn. ความรัก, ความชอบพอ, Ant. ความเกลียดชัง, Example: เขาซื้อรถเก๋งราคาเป็นล้านเป็นของขวัญให้ภรรยาน้อยด้วยเสน่หา |
เสน่ห์ | (n) charm, See also: fascination, enchantment, spell, Example: ตามธรรมชาติแล้วมนุษย์มักจะชอบคนสวยๆ หล่อๆ หรือคนมีเสน่ห์มากกว่าคนน่าเกลียด, Thai Definition: ลักษณะที่ชวนให้รัก, เครื่องที่ทำให้คนอื่นรัก |
ข้อเสนอ | (n) proposal, See also: offer, proposition, suggestion, Syn. ข้อแนะนำ, ข้อเสนอแนะ, Example: คณะกรรมการมีข้อเสนอเกี่ยวกับการรณรงค์อนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำที่น่าสนใจ, Count Unit: ข้อ, ประการ, Thai Definition: ข้อชี้แนะแนวทางหรือวิธีการให้ปฏิบัติ |
ผู้เสนอ | (n) proposer, See also: mover of a motion, Example: อียิปต์เห็นด้วยกับแผนยุทธวิธีการประชุมที่สหรัฐเป็นผู้เสนอ |
เสนอขาย | (v) offer for sale, Ant. ขอซื้อ, ซื้อ, Example: บริษัททิสโกเสนอขายหุ้นถึงสิ้นเดือนนี้, Thai Definition: ชักนำให้ผู้อื่นซื้อสินค้าที่ตนนำมาขาย |
เสนอตัว | (v) offer oneself (e.g. to do a task), See also: propose, present oneself, Example: อธิการบดีคนปัจจุบันจะเสนอตัวลงสมัครเป็นอธิการบิดีเป็นสมัยที่ 3 |
เสนาบดี | (n) minister, See also: chief official, high-ranked official, Syn. ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่, Example: การปกครองในสมัยก่อนของประเทศไทยแบ่งราชการออกเป็น 4 ส่วนคือ เวียง วัง คลัง นา และมีเสนาบดีเรียกว่าจตุสดมภ์กำกับราชการสนองพระเดชพระคุณ, Notes: (โบราณ) |
เสนาบดี | (n) minister, See also: Secretary of State, Syn. เจ้ากระทรวง, Example: พระเจ้าลูกยาเธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์เสนาบดีกระทรวงยุติธรรมทรงมีคุณานุประการนับมากมายต่อการพัฒนาการศาลและกฎหมาย, Notes: (โบราณ) |
เสนาบดี | (n) general, See also: commander-in-chief, Syn. แม่ทัพ, Notes: (โบราณ) |
ทำเสน่ห์ | (v) charm, See also: use love potion, Syn. ล่อใจ, ทำให้หลงใหล, ทำให้หลงรัก, ดึงดูด, ทำให้หลง, ทำเสน่ห์ยาแฝด, Example: นางตั้งใจจะทำเสน่ห์ให้เขารัก, Thai Definition: ทำให้เพศตรงข้ามหลงรักด้วยวิธีทางไสยศาสตร์ |
ฝ่ายเสนอ | (n) proposer, Ant. ฝ่ายค้าน, Example: ฝ่ายเสนอชนะฝ่ายค้านในการโต้วาที, Count Unit: ฝ่าย, Thai Definition: ฝ่ายที่แสดงความเห็นให้ฝ่ายค้านโต้แย้งตามญัตติในการโต้วาที |
พยุหเสนา | (n) army, See also: troops, legions, hordes, unit, Syn. หมู่เสนา, พยุหแสนยา, พยุหแสนยากร, หมู่เสนา, Example: พระมหากษัตริย์ตรัสเรียกพยุหเสนาให้มาประชุมกันพร้อมหน้า, Count Unit: นาย, Thai Definition: หมู่เสนา |
มีเสน่ห์ | (v) be charming, See also: be attractive, be seductive, be cute, Example: ตาของเขามีเสน่ห์ชวนให้สาวๆ หลงใหล, Thai Definition: น่าหลงใหล, เป็นที่ดึงดูดใจ |
มีเสน่ห์ | (adj) attractive, See also: tempting, charming, fascinating, Example: ผู้ชายคนนี้เป็นคนมีเสน่ห์ ตรงที่ชอบช่วยเหลือผู้อื่น, Thai Definition: ที่น่าหลงใหล, ที่ดึงดูดใจ, มีลักษณะที่ชวนให้รัก |
มุ่งเสนอ | (v) bring up, See also: introduce, present, show, display, suggest, put on, exhibit, demonstrate, Syn. เสนอ, นำเสนอ, Example: เขาใส่ใจต่อเรื่องนี้ค่อนข้างสูงน่าเสียดายอยู่นิดตรงสาระที่เขามุ่งเสนอออกจะพร่าเลือนไป |
ยื่นเสนอ | (v) submit, See also: offer, propose, present, Example: กองทุนต่างๆ ที่เขารวมเสนอมานั้น ไม่ยื่นเสนอว่าจะลงทุนอย่างไร |
เสนอชื่อ | (v) nominate, See also: put forward one's name, offer one's name for selection, Example: มูลนิธินิติศาสตร์เชิญชวนเสนอชื่อผู้สมควรได้รับรางวัล สัญญา ธรรมศักดิ์, Thai Definition: แสดงชื่อให้ผู้อื่นทราบ |
หลงเสน่ห์ | (v) be enchanted by, See also: be fascinated with, Syn. หลงใหล, ติดใจ, Example: เขาหลงเสน่ห์นักร้องสาวรายหนึ่ง จนไม่ยอมกลับบ้าน, Thai Definition: หมกมุ่ง, มัวเมา, คลั่งไคล้, เคลิบเคลิ้มในลักษณะที่ชวนให้รัก |
เสนาธิการ | (n) aide-de-camp, See also: aide, Syn. เสธ., Thai Definition: หัวหน้ากลุ่มนายทหารในกองบัญชาการของกองพลหรือหน่วยใหญ่กว่าที่คล้ายกัน ทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา ข้อเสนอแนะ และการปฏิบัติงาน เพื่อให้ภารกิจสำเร็จลุล่วงไป ทั้งมีหน้าที่สั่งการและกำกับดูแลการปฏิบัติงานของฝ่ายเสนาธิการด้วย |
เสนาธิการ | (n) Chief of Staff, Syn. ฝ่ายเสนาธิการ, Example: ท่านผู้นี้เดิมเป็นทหารฝ่ายเสนาธิการแต่ได้โอนย้ายมารับราชการเป็นตำรวจด้วยความสมัครใจ, Thai Definition: เรียกกลุ่มนายทหารในกองบัญชาการของกองพลหรือหน่วยใหญ่กว่าที่คล้ายกัน ประกอบด้วยแผนกต่างๆ คือ กำลังพล การข่าว ยุทธการ การฝึกส่งกำลังบำรุง และกิจการพลเรือน มีหน้าที่ช่วยผู้บังคับบัญชาในการวางแผน ประสานงาน และกำกับดูแลการปฏิบัติการ |
การเสนอแนะ | (n) suggestion, See also: advice, recommendation, Syn. การแนะ, การแนะนำ, การชี้แนะ |
ข้อเสนอแนะ | (n) suggestion, See also: counsel, Syn. ข้อแนะนำ, ข้อเสนอ, Example: จิตแพทย์ต้องการให้ผู้ป่วยรับข้อเสนอแนะเรื่องการนั่งสมาธิเพื่อการบำบัดทางจิต, Count Unit: ข้อ, ประการ, Thai Definition: ข้อชี้แนะแนวทางหรือวิธีการให้ปฏิบัติ |
ความเสน่หา | (n) affection, See also: love, Syn. ความรัก, Example: นักธุรกิจซื้อรถเก๋งราคาเก้าล้านเป็นของขวัญให้นักการเมืองด้วยความเสน่หา, Thai Definition: ความรู้สึกพอใจผูกพัน |
ด้วยเสน่หา | (adv) affectionately, See also: passionately, caringly, lovingly, Syn. รักใคร่, ชื่นชอบ, Ant. รังเกียจ, เกลียด, Example: ท่านยกสมบัติชิ้นนี้ให้เขาด้วยเสน่หา |
ทำนองเสนาะ | (n) rhythm of prose, Example: นักเรียนของเราได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันอ่าน ทำนองเสนาะ ระดับเทศบาล ปีการศึกษา 2543, Thai Definition: วิธิการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองประเภทโคลงฉันทน์ กาพย์ กลอน |
เจ้าเสน่ห์ | (adj) charming, See also: fascinating, enchanting, Syn. มีเสน่ห์, Example: คนเจ้าเสน่ห์บางทีก็เผลอทำคนใกล้ว้าเหว่ |
เจ้าเสน่ห์ | (v) be charming, See also: be attractive, be fascinating, Syn. มีเสน่ห์, Example: ลูกชายเขาท่าทางจะเจ้าเสน่ห์เหมือนพ่อ |
เสนียดจัญไร | (n) evil, See also: vicious, misfortune, Syn. เสนียด, จัญไร, ความอัปมงคล, Ant. สิริมงคล, Example: เสนียดจัญไรบางชนิดกล้าแข็งมาก จึงต้องใช้น้ำมนต์ธรณีสารในการแก้, Thai Definition: เลวทราม, เป็นเสนียด, ไม่เป็นมงคล |
เสนาธิการทหาร | (n) Chief of Joint Staff, Example: ท่านนายพลจบจปร.รุ่นเดียวกับเสนาธิการทหารคนปัจจุบัน |
อัครมหาเสนาบดี | (n) prime minister, See also: chief of the minister, Example: ในการปกครองส่วนกลางสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถมีอัครเสนาบดีฝ่ายทหารดูแลข้อราชการในกรมพระกลาโหม, Count Unit: คน, Thai Definition: หัวหน้าเสนาบดี |
เสนาธิการทหารบก | (n) Chief of Staff, RTA, Example: ใครจะไม่กล้าให้เกียรติท่านที่เป็นถึงเสนาธิการทหารบกที่มีทั้งอำนาจและอิทธิพล |
เสนาธิการทหารเรือ | (n) Chief of Staff, RTN, Example: ท่านขึ้นสู่ตำแหน่งรองเสนาธิการทหารเรือก่อนจะเป็นเสนาธิการทหารเรือในปีถัดมา |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กฎเสนาบดี | ดู กฎกระทรวง. |
ข้อเสนอ | น. เรื่องราวที่นำเสนอเพื่อพิจารณา. |
ข้อเสนอแนะ | น. ข้อคิดเห็นเชิงแนะนำที่เสนอเพื่อพิจารณา. |
ไขเสนียด | (-สะเหฺนียด) น. นํ้าครำ. |
คำเสนอ | น. การแสดงเจตนาว่าจะกระทำการหรืองดเว้นกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่บุคคลฝ่ายหนึ่งแจ้งต่อบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง. (ดู คำสนอง ประกอบ). |
จตุรงคเสนา | (จะตุรงคะ-) น. กองทัพมีกำลัง ๔ เหล่า คือ เหล่าช้าง เหล่ารถ เหล่าม้า เหล่าราบ, จตุรงคินีเสนา ก็ว่า. |
จตุรงคินีเสนา | (จะตุรง-) น. กองทัพมีกำลัง ๔ เหล่า คือ เหล่าช้าง เหล่ารถ เหล่าม้า เหล่าราบ, จตุรงคเสนา ก็ว่า. |
จัตุรงคินีเสนา | (จัดตุรง-) น. จตุรงคินีเสนา, กองทัพมีกำลัง ๔ เหล่า คือ เหล่าช้าง เหล่ารถ เหล่าม้า เหล่าราบ. |
ทำเสน่ห์ | ก. ทำให้เพศตรงข้ามหลงรักด้วยวิธีการทางไสยศาสตร์. |
ทำนองเสนาะ | น. วิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน. |
ฝ่ายเสนอ | น. ฝ่ายที่แสดงความเห็นให้ฝ่ายค้านโต้แย้งตามญัตติในการโต้วาที, ตรงข้ามกับ ฝ่ายค้าน. |
พยุหเสนา, พยุหแสนยา, พยุหแสนยากร | น. หมู่เสนา. |
พิมเสน ๑ | น. ชื่อสารชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นเกล็ดสีขาวขุ่น มีทั้งที่ได้จากธรรมชาติและได้จากการสังเคราะห์ ใช้ทำยา ที่ได้จากธรรมชาติ เช่น จากไม้ต้นชนิด Dryobalanops aromatica C.E. Gaertn. ในวงศ์ Dipterocarpaceae, จากไม้พุ่มชนิด Blumea balsamifera (L.) DC. ในวงศ์ Compositae, ที่ได้จากการสังเคราะห์เรียก พิมเสนหุง. |
พิมเสน ๒ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Dryobalanops aromatica C.E. Gaertn. ในวงศ์ Dipterocarpaceae มีเกล็ดพิมเสนอยู่ในเนื้อไม้. |
พิมเสน ๒ | ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Pogostemon cablin (Blanco) Benth. ในวงศ์ Labiatae ใบออกตรงข้ามกัน ขอบใบจัก ขยี้แล้วมีกลิ่นหอม ใช้กลั่นให้นํ้ามันหอมระเหยซึ่งใช้แต่งกลิ่นและดับกลิ่นตัว. |
พิมเสน ๒ | ชื่อมะม่วงหลายพันธุ์ของชนิด Mangifera indicaL. พันธุ์หนึ่งเมื่อดิบมีรสเปรี้ยว สุกแล้วหวาน, พันธุ์ที่แก่แล้วมีรสมัน เรียก พิมเสนมัน. |
ว่านเสน่ห์จันทร์ขาว | ดู เสน่ห์จันทร์ขาว. |
ว่านเสน่ห์จันทร์แดง | ดู เสน่ห์จันทร์แดง. |
สมุทรเสนา | (สะหฺมุดทฺระ-) น. เรียกลูกเสือพวกหนึ่งตามจังหวัดชายทะเล ว่า ลูกเสือสมุทรเสนา. |
เสน ๑ | น. สารประกอบประเภทออกไซด์ของตะกั่ว มีสูตร Pb3O4 ลักษณะเป็นผงละเอียด สีแดงเข้ม ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำสีทาและทำแก้ว, ตะกั่วแดง ก็เรียก. (อ. red lead, minium). (ดู ตะกั่วแดง ที่ ตะกั่ว). |
เสน ๒ | น. ชื่อลิงชนิด Macaca arctoides (Geoffroy) ในวงศ์ Cercopithecidae ตัวค่อนข้างโต ขนสีนํ้าตาลอมแดง หน้าแดง ก้นแดง หางสั้นมาก ลูกที่เกิดใหม่ขนลำตัวมีสีเหลือง. |
เสน- ๓ | น. เสนา, กองทหาร, หมู่ทหาร. |
เสนง, เสน่ง | (สะเหฺนง, สะเหฺน่ง) น. เขาสัตว์, เขนง, แสนง ก็ใช้. |
เสนห-, เสนหา, เสน่หา | (สะเนหะ-, สะเน-, สะเหฺน่-) น. ความรัก. |
เสน่ห์ | (สะเหฺน่) น. ลักษณะที่ชวนให้รัก เช่น เธอเป็นคนมีเสน่ห์ |
เสน่ห์ | วิธีการทางไสยศาสตร์ที่ทำให้คนอื่นรัก เช่น เขาถูกเสน่ห์. |
เสน่ห์ปลายจวัก | น. เสน่ห์ที่เกิดจากฝีมือปรุงอาหารให้โอชารส. |
เสน่ห์จันทร์ขาว | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Homalomena lindenii (Rodigas) Ridl. ในวงศ์ Araceae, ว่านเสน่ห์จันทร์ขาว ก็เรียก. |
เสน่ห์จันทร์แดง | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Homalomena rubescens (Roxb). Kunth ในวงศ์ Araceae เหง้ามีกลิ่นหอมใช้ทำยาได้, ว่านเสน่ห์จันทร์แดง ก็เรียก. |
เสนอ | (สะเหฺนอ) ก. ยื่นเรื่องราว ความเห็น ญัตติ เป็นต้น เพื่อให้ทราบ ให้พิจารณา หรือให้สั่งการ เช่น เสนอรายงานการเดินทางให้ผู้บังคับบัญชาทราบ เสนอโครงการให้พิจารณา เสนอบันทึกความเห็นเพื่อพิจารณาสั่งการ ลูก ๆ เสนอให้ไปพักผ่อนชายทะเล, แสดงให้เห็น เช่น เสนอตัวอย่างสินค้า เสนอละครเรื่องใหม่. |
เสนอตัว | ก. แสดงความจำนงมอบตัวให้พิจารณาเพื่อแต่งตั้งหรือรับไว้ทำงานเป็นต้น เช่น เขาเสนอตัวรับใช้ประชาชน เขาเสนอตัวเป็นนายกสมาคม. |
เสนอหน้า | ก. แสดงตัวให้ผู้มีอำนาจเหนือเห็นอยู่เสมอทั้ง ๆ ที่ตนเองมิได้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลประโยชน์ตอบแทน, พยายามแสดงตัวให้ปรากฏต่อสาธารณชนอยู่เสมอ เช่น เวลาเขาถ่ายรูปกันจะต้องเสนอหน้าเข้าไปร่วมถ่ายรูปด้วย. |
เสนะ | (เส-นะ) น. เหยี่ยว. |
เสนา ๑ | (เส-นา) น. ข้าราชการฝ่ายทหาร. |
เสนาธิการ | น. ตำแหน่งนายทหารผู้ทำหน้าที่หาและให้ข่าวสารประมาณการ ให้ข้อเสนอแนะ ทำแผนและคำสั่ง กำกับดูแลทางฝ่ายอำนวยการ และติดต่อประสานงานระหว่างผู้บังคับบัญชากับหน่วยทหาร แต่ไม่มีหน้าที่สั่งการบังคับบัญชาหน่วยทหาร. |
เสนาธิปัต | น. ฉัตรผ้าขาวองค์ ๑ ใน ๓ องค์ ซึ่งเป็นชุดที่เรียกว่า พระกรรภิรมย์ ประกอบด้วยพระเสนาธิปัต พระฉัตรชัย พระเกาวพ่ายหรือพระเกาวพ่าห์, โบราณใช้ว่า พระเสมาธิปัติ. |
เสนาบดี | (-บอดี) น. แม่ทัพ |
เสนาบดี | ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ |
เสนาบดี | เจ้ากระทรวงซึ่งเทียบเท่ารัฐมนตรีว่าการในปัจจุบัน. |
เสนาพยุห์, เสนาพยูห์ | (-พะ-) น. กระบวนทัพ. |
เสนา ๒ | (เส-นา) น. วัดนา, ตรวจสอบที่นา, แสนา ก็ว่า. |
เสน่า | (สะเหฺน่า) น. มีดสั้นสำหรับเหน็บประจำตัว. |
เสนากุฎ | (เส-นากุด) น. เสื้อทหารสมัยโบราณ พิมพ์เป็นลายสี รูปสิงห์ขบที่หน้าอกและต้นแขน สำหรับแต่งเข้ากระบวนแห่ของหลวง. |
เสนางค์, เสนางคนิกร | (เส-นาง, -คะนิกอน) น. ส่วนแห่งกองทัพโบราณมี ๔ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. |
เสนานี | น. ผู้นำทัพ. |
เสนาสนะ | (เส-นาสะ-) น. ที่นอนและที่นั่ง, ที่อยู่. (ใช้เฉพาะพระภิกษุ สามเณร). |
เสนาะ ๑ | (สะเหฺนาะ) ว. น่าฟัง, เพราะ, เช่น เพลงนี้ไพเราะเสนาะหู |
เสนาะ ๑ | วังเวงใจ, เศร้าใจ, เช่น แถลงปางบำราศห้อง โหยครวญ เสนาะเสน่ห์กำสรวล สั่งแก้ว (นิ. นรินทร์). |
เสนาะ ๒ | (สะเหฺนาะ) น. เสื้อชนิดหนึ่ง เช่น บ้างสวมใส่เสนาะเกราะพราย (ขุนช้างขุนแผน). |
เสนี | น. เสนา. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
private member's bill | ร่างกฎหมายที่สมาชิกสภาเสนอ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
private members, bill | ร่างกฎหมายที่สมาชิกสภาเสนอ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
presentation | การนำเสนอ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
petition nomination | การเข้าชื่อเสนอเพื่อการแต่งตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
presentation | การนำเสนอ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
presentation layer | ชั้นนำเสนอ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lapse of offer | คำเสนอที่ตกไป [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
legislative budget | งบประมาณที่ฝ่ายนิติบัญญัติเสนอ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rapporteur (Fr.) | ผู้เสนอรายงานการประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rejection of offer | การบอกปัดคำเสนอ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
red lead | สีเสน [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
revocation of offer | การถอนคำเสนอ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
RFP (request for proposal) | อาร์เอฟพี (เอกสารเชิญชวนยื่นข้อเสนอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
RFQ (request for quotation) | อาร์เอฟคิว (เอกสารเชิญชวนเสนอราคา) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
request for proposal (RFP) | เอกสารเชิญชวนยื่นข้อเสนอ (อาร์เอฟพี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
request for quotation (RFQ) | เอกสารเชิญชวนเสนอราคา (อาร์เอฟคิว) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
request note | ใบเสนอขอ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
second leaving | การเสนอครั้งที่สอง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
submission of a plaint | การเสนอคำฟ้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
simultaneous representation | การเสนอภาพซ้อนผสาน [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Staff, Chief of | เสนาธิการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
offer | ๑. เสนอ๒. คำเสนอ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
offer and acceptance | การเสนอและการสนอง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
offer and acceptance | คำเสนอและคำสนอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
offer for sale | เสนอขาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
offer note | ใบเสนอขอ มีความหมายเหมือนกับ request note [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
offeror | ผู้ทำคำเสนอ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
overplacing | การเสนอเกิน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
adoption | ๑. การรับข้อเสนอ, การมีมติเห็นชอบ๒. การรับบุตรบุญธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
amends, tender of | ข้อเสนอชดใช้ค่าเสียหาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Joint Chiefs of Staff | คณะเสนาธิการร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
budget, legislative | งบประมาณที่ฝ่ายนิติบัญญัติเสนอ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
bill, private member's | ร่างกฎหมายที่สมาชิกสภาเสนอ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
bill, private members' | ร่างกฎหมายที่สมาชิกสภาเสนอ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bill | ๑. ตั๋วเงิน (ก. แพ่ง)๒. ใบแจ้งหนี้ (ก. แพ่ง)๓. ร่างกฎหมายที่เสนอสภา (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bill, initiation of | การเสนอร่างกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
budget message | สารนำเสนองบประมาณ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
bid price | ราคาที่ผู้ซื้อเสนอ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
make a bid | การเสนอราคาประมูล, การเรียกประมูลราคา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
message, budget | สารนำเสนองบประมาณ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
committee on committees | คณะกรรมการเสนอชื่อสมาชิกพรรคเป็นกรรมาธิการ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Chiefs of Staff, Joint | คณะเสนาธิการร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Chief of Staff | เสนาธิการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
counter offer | คำเสนอกลับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
constituent power | อำนาจเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
direct nomination | การเสนอชื่อผู้เข้ารับเลือกตั้งโดยตรง (โดยผู้มีสิทธิออกเสียง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diagrammatic presentation | การนำเสนอด้วยแผนภาพ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
donative intent | เจตนาให้ (โดยเสน่หา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
gift | การให้, การให้โดยเสน่หา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
gratuitous | ให้เปล่า, ให้โดยเสน่หา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Proceedings | เอกสารเสนอหรือแถลงในการประชุม รายงานสรุปผลการอภิปราย รายงานกิจการหรือธุรกิจเกี่ยวกับการประชุม, Example: <p>Proceedings คือ เอกสารหรือหนังสือที่รวบรวมบทความวิจัย บทคัดย่อ หรือเอกสารนำเสนอในการประชุมวิชาการหรือวิชาชีพ ที่จัดขึ้นทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ โดยสมาคม หน่วยงาน หรือองค์กร จัดให้มีการประชุม เพื่อเป็นการพบปะระหว่างนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาชีพ ในสาขาวิชาเดียวกันอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และความร่วมมือกัน มีการนำเสนอผลการค้นคว้าวิจัยใหม่ในที่ประชุม <p>รายงานการประชุมที่เผยแพร่เป็นรูปเล่ม (Proceedings) ดำเนินการตีพิมพ์ผลงานฉบับสมบูรณ์เผยแพร่หลังการประชุม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ <p>1. การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (International Conference) <p>2. การประชุมวิชาการระดับชาติ (National Conference) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
จตุปัจจัย | เครื่องอาศัยเลี้ยงชีวิตของบรรพชิตในพระพุทธศาสนา ๔ อย่าง คือ จีวร (ผ้านุ่งห่ม) บิณฑบาต (อาหาร) เสนาสนะ (ที่อยู่) คิลานเภสัช (ยา) [ศัพท์พระราชพิธี] |
Presentation graphics | กราฟสำหรับนำเสนอ [คอมพิวเตอร์] |
Action research | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ, การวิจัยแบบมีส่วนร่วม เน้นการปฏิบัติและมีการร่วมมือ ใช้การทำงานเป็นกลุ่ม ผู้ร่วมวิจัยทุกคนมีส่วนสำคัญและมีบทบาทเท่าเทียมกันในทุกกระบวนการของการวิจัย ทั้งการเสนอความคิดเชิงทฤษฎี และการปฏิบัติ ตลอดจนการวางนโยบายการวิจัย [Assistive Technology] |
Field research | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ, การวิจัยแบบมีส่วนร่วม เน้นการปฏิบัติและมีการร่วมมือ ใช้การทำงานเป็นกลุ่ม ผู้ร่วมวิจัยทุกคนมีส่วนสำคัญและมีบทบาทเท่าเทียมกันในทุกกระบวนการของการวิจัย ทั้งการเสนอความคิดเชิงทฤษฎี และการปฏิบัติ ตลอดจนการวางนโยบายการวิจัย [Assistive Technology] |
Tender offer | การทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์, Example: การแจ้งแก่ผู้ถือหุ้นทุกรายของบริษัทใดบริษัทหนึ่ง (โดยบุคคลหรือกลุ่มบุคคลคณะหนึ่ง) ถึงความต้องการที่ จะซื้อหุ้น บริษัทดังกล่าวจากผู้ถือหุ้น โดยระบุจำนวนหุ้น ราคา และกำหนดเวลาที่ต้องการรับซื้อไว้ด้วย การทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ มักจะเกิดขึ้นโดยผู้ทำคำเสนอซื้อมีวัตถุประสงค์จะเข้าไปบริหารบริษัทดังกล่าว ซึ่งกฎหมายเกี่ยวกับหลักทรัพย์มีข้อกำหนดว่าผู้ที่ถือหุ้นในบริษัทหนึ่งบริษัทใดเพิ่มขึ้นมากถึงเกณฑ์ที่กำหนด จะต้องทำคำเสนอซื้อ และ ก.ล.ต. ได้กำหนดแนวทางปฏิบัติในการทำคำเสนอซื้อดังกล่าวด้วย [ตลาดทุน] |
Public offering | การเสนอขายหลักทรัพย์แก่ประชาชน, Example: การที่บริษัทนำหลักทรัพย์ของตนออกเสนอขายแก่ประชาชนทั่วไป จุดประสงค์เพื่อระดมเงินทุนไปขยายกิจการและเพื่อกระจายการถือครองหลักทรัพย์ให้ประชาชนทั่วไป การเสนอขายหลักทรัพย์แก่ประชาชนจะต้องกระทำผ่านบริษัทหลักทรัพย์ที่รับเป็นผู้จัดจำหน่ายหลักทรัพย์ (underwriters) จะต้องได้รับความเห็นชอบจาก ก.ล.ต. และต้องจัดทำหนังสือชี้ชวนตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ [ตลาดทุน] |
Greenshoe option | การเสนอขายหลักทรัพย์แบบ greenshoe option, Example: คือการที่ผู้จัดจำหน่ายหลักทรัพย์จะเสนอขายหลักทรัพย์แก่ประชาชนในจำนวนที่มากกว่าบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์เสนอขายอยู่จำนวนหนึ่ง ซึ่งหลักทรัพย์ที่เกินนั้น ผู้จัดจำหน่ายจะไปทำ option กับบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ เพื่อออกหุ้นส่วนที่ผู้จัดจำหน่ายขายเกิน ในกรณีที่หลักทรัพย์ที่จัดจำหน่ายเมื่อเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ และมีราคาตลาดสูงกว่าราคาเสนอขาย และในกรณีที่หลักทรัพย์ดังกล่าวเมื่อเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แล้วมีราคาต่ำกว่าราคาเสนอขาย ผู้จัดจำหน่ายจะเข้าไปซื้อหลักทรัพย์ในจำนวนที่เกินดังกล่าวในตลาดหลักทรัพย์ วิธีดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อการระดมทุนในตลาดทุน เนื่องจากมีส่วนป้องกันไม่ให้ราคาตลาดของหลักทรัพย์ที่เสนอขายในช่วงระยะเวลา แรกที่เข้าทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์มีความผันผวนมาก เพราะการเข้าไปซื้อขายหลักทรัพย์ดังกล่าว จะมีลักษณะของการรักษาระดับราคาของหลักทรัพย์ที่เสนอขาย (stabilization) ซึ่งมีส่วนช่วยให้การเสนอขายหลักทรัพย์สามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น [ตลาดทุน] |
Market price order | การเสนอซื้อขาย ณ ราคาตลาด, Example: เป็นคําสั่งซื้อขายหลักทรัพย์แบบไม่ระบุราคา (Non-Limit Price Order) เป็นคําสั่งซื้อหรือขายหุ้น ณ ราคาที่ดีที่สุดในเวลาที่สั่ง บริษัทหลักทรัพย์จะขายหุ้น ณ ราคาสูงที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในเวลานั้น หรือจะซื้อหุ้น ณ ราคาต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในเวลานั้นให้กับลูกค้า [ตลาดทุน] |
Trigger point | จุดที่ต้องทำคำเสนอซื้อ, Example: การที่นิติบุคคลหรือบุคคลใดถือหลักทรัพย์ถึงหรือข้ามจุดที่จะต้องทำคำเสนอซื้อคือ 25% 50% และ 75% ของสิทธิออกเสียง นิติบุคคลหรือบุคคลนั้นมีหน้าที่จะต้องทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ [ตลาดทุน] |
Bid | ราคาเสนอซื้อสูงสุด, Example: ราคาเสนอซื้อสูงสุดของหลักทรัพย์หนึ่ง ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ซึ่งเวลานั้นอาจมีราคาเสนอซื้อเข้ามาหลายราคา แต่ระบบซื้อขายที่ตลาดหลักทรัพย์จะแสดงราคาเสนอซื้อที่สูงสุดไว้ ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ว่า ผู้เสนอซื้อที่ให้ราคาสูงกว่าควรได้สิทธิซื้อก่อนรายอื่น ๆ [ตลาดทุน] |
Offer | ราคาเสนอขาย, Example: ราคาขายต่ำที่สุดของแต่ละหลักทรัพย์ที่มีการเสนอขายเข้ามาในระบบซื้อขาย ณ ขณะใดขณะหนึ่งอาจจะมีราคาเสนอขายเข้ามาหลายราคา แต่ระบบซื้อขายที่ตลาดหลักทรัพย์จะแสดงราคาเสนอขายต่ำที่สุดไว้ ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ว่า ผู้เสนอขายที่ราคาต่ำกว่าควรได้สิทธิขายก่อน [ตลาดทุน] |
แสล๋น | เสนอหน้า [ศัพท์วัยรุ่น] |
Business presentations | การเสนองานธุรกิจ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Charm | เสน่ห์ [TU Subject Heading] |
Going public (Securities) | การเสนอขายหลักทรัพย์ [TU Subject Heading] |
Initiative, Right of | สิทธิที่จะเสนอร่างกฎหมาย [TU Subject Heading] |
Offer and acceptance | คำเสนอและคำสนอง [TU Subject Heading] |
Oral interpretation of poetry | การอ่านทำนองเสนาะ [TU Subject Heading] |
Presentation graphics software | ส่วนชุดคำสั่งการเสนองานรูปกราฟิก [TU Subject Heading] |
Sales presentations | การเสนองานขาย [TU Subject Heading] |
Self-presentation | การนำเสนอตัวตน [TU Subject Heading] |
Suggestion system | ระบบข้อเสนอแนะ [TU Subject Heading] |
ASEAN-Canada Business Council | การประชุมสภาธุรกิจอาเซียน-แคนาดา มีการประชุมทุกปีในระหว่างการประชุมสภาหอการค้าและอุตสาหกรรมอาเซียน เพื่อพิจารณาปัญหาและอุปสรรคในการติดต่อค้าขาย และการร่วมลงทุนระหว่างกัน ตลอดจนเสนอแนะแนวทางของความร่วมมือ [การทูต] |
Accession | การภาคยานุวัติ คือการที่รัฐหนึ่งเข้าไปเป็นภาคีสนธิสัญญา ซึ่งรัฐอื่น ๆ ได้วินิจฉัยตกลงก่อนแล้วและสนธิสัญญานั้นได้มีผลใช้บังคับก่อนแล้วด้วย บางที่ใช้คำ ?accession? ซึ่งตรงกับคำในภาษาฝรั่งเศสว่า ?adhésion? รัฐจะเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาไม่ได้ นอกจากว่าในสนธิสัญญานั้นมีบทบัญญัติยอมให้รัฐอื่นเข้ามาเป็นภาคีด้วยได้ เช่น มาตรา 4 ของกฎบัตรแห่งสหประชาชาติบัญญัติไว้ว่า?(1) สมาชิกภาพในสหประชาชาติ เปิดรับบรรดารัฐอื่นๆ ทั้งหลายที่ยอมรับพันธกรณีที่ระบุไว้ในกฎบัตรปัจจุบันและองค์การสหประชาชาติ พิจารณาวินิจฉัยแล้วว่า รัฐนั้น ๆ สามารถและเต็มใจที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีเหล่านั้น??(2) การรับรัฐใดๆ ดังกล่าวเข้าเป็นสมาชิกในสหประชาชาติจะเป็นผลสำเร็จก็ต่อเมื่อสมัชชาสหประชา ชาติได้ลงมติรับรองตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง? คือ เอกสิทธิ์ทางการทูตในการที่จะได้มีถิ่นพำนัก [การทูต] |
Agreement | การที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง [การทูต] |
alternative perimeter | แนวเขตที่เสนอเป็นทางเลือกในการเจรจาเขตแดนระหว่างประเทศ [การทูต] |
ASEAN-New Zealand Joint Management Committee | คณะกรรมการบริหารร่วมอาเซียน-นิวซีแลนด์ ประกอบด้วยผู้แทนระดับอธิบดีของอาเซียนและนิวซีแลนด์ ประชุมกัน ปีละครั้ง เพื่อทบทวนติดตามและนำเสนอโครงการความร่วมมือระหว่างกัน [การทูต] |
ASEAN Secretariat | สำนักเลขาธิการอาเซียน " ตั้งอยู่ที่กรุงจาการ์ตา มีหน้าที่ให้การสนับสนุนงานการประชุม ประสานงาน และเสนอข้อคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ และมีเลขาธิการอาเซียนเป็น หัวหน้าสำนักงาน อยู่ในตำแหน่งคราวละ 5 ปี ทั้งนี้ นายแผน วรรณเมธี เป็นคนไทยคนเดียวที่เคยดำรงตำแหน่งนี้ ระหว่าง ปี พ.ศ. 2527-2529 " [การทูต] |
ASEAN Senior Officials Meeting | การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน เป็นการประชุมระดับปลัดกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิก เพื่อติดตามและเสนอนโยบายด้านการเมือง ความมั่นคง และเรื่องอื่น ๆ ต่อรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน [การทูต] |
ASEAN Troika | กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต] |
Buakaew | ตราบัวแก้ว ตราบัวแก้วซึ่งเป็นรูปเทพยดานั่งในดอกบัว ถือดอกบัวข้างขวา ถือวชิระข้างซ้ายนั้น เป็นตราของกระทรวงการต่างประเทศซึ่งใช้มาตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ตราบัวแก้วเป็นตราซึ่งเจ้าพระยาพระคลังใช้ประทับในเอกสารของกรมท่า และที่เกี่ยวข้องกับต่างประเทศ เช่น สนธิสัญญาต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2418 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แยกราชการด้านการคลังออกจากกรมท่า ตราบัวแก้วจึงเป็นตราประจำตำแหน่งเสนาบดีจตุสดมภ์กรมท่า และต่อมาเมื่อได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดระบบราชการใหม่โดยแบ่งเป็น 12 กระทรวง ตราบัวแก้วจึงเป็นตราประจำเสนาบดีว่าการต่างประเทศ และกลายมาเป็นตราของกระทรวงการต่างประเทศ [การทูต] |
Commencement of the Functions of the Head of Diplomatic Mission | การเริ่มต้นรับหน้าที่ของหัวหน้าคณะผู้แทนทางการ ทูต กล่าวคือ เมื่อหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตเดินทางไปถึงนครหลวงของประเทศผู้รับแล้ว ควรรีบแจ้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทราบว่า ตนได้เดินทางมาถึงแล้วและขอนัดเยี่ยมคารวะ ตามปกติกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ของอธิบดีกรมพิธีการทูตจะดำเนินการตระเตรียมให้หัวหน้าคณะ ผู้แทนทางการทูตได้เข้ายื่นสารตราตั้งต่อไประหว่างนั้น หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะต้องไม่ไปพบเยี่ยมผู้ใดเป็นทางการ จนกว่าจะได้ยื่นสารตราตั้งเรียบร้อยแล้ว อย่างไรก็ดี หัวหน้าคณะผู้แทนอาจขอพบเป็นการภายในกับหัวหน้าของคณะทูตานุทูต (Dean หรือ Doyen of the Diplomatic Corps) ได้ เพื่อขอทราบพิธีการปฏิบัติในการเข้ายื่นสารตราตั้งต่อประมุขของประเทศผู้รับ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนา ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 13 ว่า1. พึงถือได้ว่าหัวหน้าคณะผู้แทนได้เข้ารับภารกิจหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้งหรือเมื่อตนได้บอกกล่าวการมาถึงของตน พร้อมทั้งได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้งต่อกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกันในแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป2. ลำดับของการยื่นสารตราตั้ง หรือสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง จะได้พิจารณากำหนดตามวันและเวลาของการมาถึงของหัวหน้าคณะผู้แทน [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
Conciliation | การไกล่เกลี่ย คือ กระบวนการของการส่งเรื่องกรณีพิพาทไปให้คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริง แล้วเสนอรายงาน ซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะในอันที่จะระงับกรณีพิพาทนั้น อย่างไรก็ดี ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการนี้ไม่มีผลบังคับแก่คู่พิพาทแต่อย่างใด ไม่เหมือนกับคำวินิจฉัยในการตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) [การทูต] |
Declaration | คำประกาศ หรือ ปฏิญญา ตามความเห็นของผู้ทรงคุณความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนมากได้ให้ความเห็นว่า คำนี้มีความหมายต่างกันอยู่สามประการ คือประการแรก ใช้เป็นชื่อเรียกข้อกำหนดต่าง ๆ ของสนธิสัญญา กล่าวคือ ตามสนธิสัญญานี้ ภาคีคู่สัญญารับที่จะปฏิบัติตามแนวทางบางประการในอนาคตประการที่สอง เป็นคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่แก่รัฐอื่นๆ เช่น คำประกาศสงครามประการสุดท้าย หมายถึง การกระทำซึ่งรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐได้ติดต่อแจ้งไปยังรัฐอื่น ๆ ซึ่งเป็นการอธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนพฤติกรรมของฝ่ายตนในอดีต หรืออธิบายทรรศนะและเจตจำนงเกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง คำประกาศสำหรับความหมายสองประการหลังไม่ถือว่ามีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอนึ่ง ในกรณีคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) นั้น บางทีรัฐหนึ่งต้องการเสนอนโยบายหรือหนทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของตน โดยประกาศนโยบายหรือหนทางปฏิบัตินั้นไปให้รัฐอื่นๆ ทราบกันไว้ อาทิเช่น ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศออกไปในรูปคำประกาศถ่ายเดียว เป็นต้น [การทูต] |
Diplomatist หรือ Diplomat | ใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต] |
East Asia Vision Group | กลุ่มวิสัยทัศน์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จัดตั้งขึ้นตามข้อเสนอของประธานาธิบดีคิม แด จุง แห่งสาธารณรัฐเกาหลี ในระหว่างการประชุมหัวหน้ารัฐบาลอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี ที่กรุงฮานอย เมื่อเดือนธันวาคม 2541 เพื่อเป็นเวทีระดมความคิดและแสวงหาแนวทางขยายความร่วมมือระหว่างกันในทุก ด้านและทุกระดับเพื่อมุ่งแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจและพัฒนาภูมิภาคนี้อย่างต่อเนื่อง [การทูต] |
Economic and Social Council | คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม (แห่งสหประชาชาติ) เป็นองค์กรหลักของสหประชาชาติ ที่ทำหน้าที่ในการศึกษาและรายงานเกี่ยวกับเรื่องระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การศึกษา อนามัย และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และจัดทำคำแนะนำเสนอต่อสมัชชา สมาชิกของสหประชาชาติ ตลอดจนทบวงการชำนัญพิเศษที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งเน้นที่จะส่งเสริมการเคารพ และการปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชน และอิสรภาพของมวลมนุษย์ ทั้งนี้ ประกอบด้วยสมาชิกของสหประชาชาติ 54 ประเทศ [การทูต] |
Enhanced Interaction | การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ " การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์เป็นคำที่เสนอโดย นายอาลี อาลาตัส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอินโดนีเซีย ในที่ประชุม AMM ครั้งที่ 31 ณ กรุงมะนิลา ซึ่งในด้านสารัตถะมีความหมายเช่นเดียวกับนโยบาย Flexible Engagement แต่เป็นคำที่อาเซียนส่วนใหญ่เห็นว่า มีความ เหมาะสมที่จะใช้สื่อเจตนารมณ์ของอาเซียนในการยกระดับความร่วมมือที่เพิ่มพูน และเปิดกว้างระหว่างกัน " [การทูต] |
Final Act | กรรมสารสุดท้าย คือคำแถลงหรือคำสรุปอย่างเป็นทางการจากเรื่องราวการ ประชุม คำแถลงนี้จะระบุสนธิสัญญาและอนุสัญญาที่ได้มีการลงนามกันอันเป็นผลจากการ ประชุม และในบางกรณีจะผนวกความเห็นหรือข้อเสนอแนะหรือความปรารถนาจากที่ประชุมไว้ ด้วย ผู้แทนที่มีอำนาจเต็มเท่านั้นจะเป็นผู้ลงนามในกรรมสารสุดท้าย ในตอนสุดท้ายของการประชุม [การทูต] |
Flexible Engagement | ความเกี่ยวพันอย่างยืดหยุ่น " ความเกี่ยวพันอย่างยืดหยุ่นเป็นข้อเสนอของ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยที่เสนอในการประชุมรัฐมนตรีต่าง ประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting : AMM) ครั้งที่ 31 เมื่อเดือนกรกฎาคม 2541 ณ กรุงมะนิลา ฟิลิปปินส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกอาเซียนมีการหารือและแลก เปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างสร้างสรรค์ เปิดกว้างและเป็นกันเองในเรื่องหรือประเด็นต่าง ๆ ที่เห็นว่าเป็นผลประโยชน์ร่วมกันหรือที่จะมีผลกระทบต่อความสัมพันธ์และความ มั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจของนานาประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันสืบเนื่องจากการที่อาเซียนมีสมาชิกครบ 10 ประเทศ และอยู่ในภาวะที่เผชิญปัญหาท้าทายต่าง ๆ ซึ่งมีความเชื่อมโยงและเกี่ยวพันกัน " [การทูต] |
Ganga-Suwanabhumi-Mekong Cooperation | ความร่วมมือลุ่มน้ำคงคา-สุวรรณภูมิ-ลุ่มน้ำโขง ประกอบด้วย ไทย-ลาว-พม่า-เวียดนาม-กัมพูชา และอินเดีย เป็นกรอบความร่วมมือที่เสนอในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับ รัฐมนตรีต่างประเทศประเทศคู่เจรจา ครั้งที่ 33 เมื่อ 28 กรกฎาคม 2543 โดยมีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2543 [การทูต] |
Good Offices และ Mediation | วิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยฉันมิตร คำว่า Good Offices หมายถึง การช่วยเป็นสื่อกลาง ส่วน Mediation หมายถึง การไกล่เกลี่ยศัพท์ทั้งสองนี้หมายถึงวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยฉันมิตร กล่าวคือ ในกรณีข้อพิพาทซึ่งการเจรจากันทางการทูตไม่สามารถตกลงกันได้ง่าย ๆ ดังนั้น รัฐที่สามอาจยื่นมือเข้าช่วยเป็นสื่อกลาง หน้าที่ในการนี้มิใช่ออกความเห็นหรือวินิจฉัยชี้ขาดว่าใครถูกใครผิดในกรณี ข้อพิพาท หากเป็นแต่เพียงแสวงหาลู่ทางที่จะระงับข้อพิพาทจะต้องมีให้น้อยที่สุดเท่า ที่จะทำได้ และถือว่าเป็นกาดรกระทำฉันมิตร (Friendly act) คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธข้อเสนอได้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดทางการ เมือง หรือคู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจขอร้องให้ช่วยเป็นสื่อกลาง หรือให้ช่วยไกล่เกลี่ย ตามธรรมดาการช่วยเป็นสื่อกลางนั้นเป็นเพียงการเข้าช่วยงานพื้นฐาน หรือให้มีการเริ่มต้นการเจรจาเท่านั้น ส่วนงานเจรจาที่จะกระทำโดยตรงกว่าจะมีลักษณะเป็นการไกล่เกลี่ย แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีการคำนึงกันนักถึงความแตกต่างจริงๆ ระหว่างวิธีทั้งสอง คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธไม่ยอมรับการไกล่เกลี่ยไม่ว่าเวลาใดก็ได้ จะเห็นได้ว่า การช่วยเป็นสื่อกลางกับการไกล่เกลี่ยนั้นแตกต่างกัน คือ ในกรณีการช่วยเป็นสื่อกลาง ฝ่ายที่สามจะกระทำแต่เพียงช่วยให้มีการหันหน้าเข้าเจรจากันระหว่างคู่พิพาท ส่วนในกรณีการไกล่เกลี่ย ฝ่ายที่สามพยายามจัดให้มีการเจรจากันจริง ๆ ตามมูลฐานข้อเสนอของตน ฝ่ายที่เสนอช่วยเป็นสื่อกลางหรือช่วยไกล่เกลี่ยนั้น อาจจะมาจากประเทศที่สาม หรือจากองค์การระหว่างประเทศ หรือจากบุคคลธรรมดาคนหนึ่งก็ได้ [การทูต] |
Humanitarian Intervention | การแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม " เป็นแนวคิดที่นายโคฟี อันนาน เลขาธิการสหประชาชาติเสนออย่างเป็น ทางการครั้งแรกต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ 54 เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมุ่งจะให้สหประชาชาติสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนภาย ในประเทศต่าง ๆ ได้โดย คำนึงถึงประเด็นเรื่องมนุษยธรรมเป็นหลัก ขณะนี้ แนวคิดนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่ยุติ โดยบางประเทศเห็นว่า เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐ บางประเทศเห็นว่าเป็นมาตรการที่จำเป็นเพื่อแก้ปัญหาของมนุษยชาติ ส่วนบางประเทศเห็นว่าการแทรกแซงดังกล่าวจะต้องอยู่ใต้กรอบหลักเกณฑ์ หรือกรอบกฎหมายบางประการ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ " [การทูต] |
Inter-Governmental Maritime Consultative Organization | องค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ [การทูต] |
International Conferences | คือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] |
Marshall Plan | แผนการมาร์แชล ในโอกาสวันประสาทปริญญาของนักศึกษามหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ดในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ยอร์ช ซี.มาร์แชล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ สมัยนั้น ได้กล่าวอยู่ตอนหนึ่งในสุนทรพจน์ว่า?สหรัฐอเมริกาควรจะทำทุกอย่างเท่าที่จะ สามารถกระทำได้ เพื่อช่วยให้ดินแดนต่าง ๆ ในโลกได้กลับคืนสู่ภาวะปกติทางเศรษฐกิจ เพราะหากปราศจากภาวะดังกล่าว โลกก็จะไม่มีเสถียรภาพที่สถาพร นโยบายของสหรัฐฯ มิได้มุ่งจะเป็นปฏิปักษ์ต่อประเทศใดหรือลัทธิใด หากมุ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อความหิวโหย ความยากจน ความสิ้นหวัง และความยุ่งเหยิง การที่จะให้สหรัฐอเมริการับภาระในการจัดวางโครงการแต่ฝ่ายเดียว เพื่อช่วยให้ทวีปยุโรปสามารถช่วยตนเองทางเศรษฐกิจขึ้นใหม่ นับว่ายังไม่เหมาะสมและถูกต้องนัก ควรจะให้เป็นภาระหน้าที่ของชนชาวยุโรปทั้งหลายเอง บทบาทของสหรัฐฯ ควรจะเป็นเพียงผู้เสนอให้ความความช่วยเหลือฉันมิตร ในการร่างโครงการช่วยเหลือทวีปยุโรป และให้ความสนับสนุนแก่โครงการนั้น ตราบที่โอกาสจะเอื้ออำนวยต่อการกระทำเช่นนั้นได้?จากสุนทรพจน์ข้างต้น พอจะเข้าใจจุดประสงค์สำคัญของสหรัฐอเมริกาได้ไม่ยากว่า ไม่ต้องการให้ทวีปยุโรป ซึ่งกำลังอ่อนแอโดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจหลังจากเสร็จสงครามใหม่ ๆ ต้องตกไปอยู่ใต้อำนาจครอบงำของฝ่ายคอมมิวนิสต์นั่นเอง [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ใบเสนอขาย | [bai sanōe khāi] (n, exp) EN: quotation |
ใบเสนอขายต่างประเทศ | [bai sanōe khāi tāngprathēt] (n, exp) EN: proforma invoice |
ใบเสนอราคา | [bai sanōe rākhā] (n, exp) EN: quotation |
การนำเสนอ | [kān namsanōe] (n) EN: presentation FR: présentation [ f ] |
การนำเสนอข้อมูล | [kān namsanōe khømūn] (n, exp) EN: data presentation |
การนำเสนอภาพนิ่ง | [kān namsanōe phāpning] (n, exp) EN: slide show |
การเสนอชื่อ | [kān sanōe cheū] (n, exp) EN: nomination |
การเสนอชื่อกิจการ | [kān sanōe cheū kitjakān] (n, exp) EN: take-over bid |
การเสนอราคา | [kān sanōe rākhā] (n, exp) EN: quotation |
การเสนอราคาประมูล | [kān sanōe rākhā pramūn] (n, exp) EN: tender |
คำเสนอ | [kham sanōe] (n, exp) EN: proposal ; offer FR: offre [ f ] |
คณะกรรมการเสนอชื่อ | [khanakammakān sanōe cheū] (n, exp) EN: nominations commettee |
ข้อเสนอ | [khøsanōe] (n) EN: proposal ; offer ; proposition ; suggestion FR: proposition [ f ] ; suggestion [ f ] |
ข้อเสนอกลับมา | [khøsanōe klap mā] (n, exp) EN: counter-offer |
ข้อเสนอแนะ | [khøsanōenae] (n) EN: suggestion ; counsel ; recommandation FR: suggestion [ f ] ; conseil [ m ] |
เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง | [Kīattisak Sēnāmeūang] (n, prop) EN: Kiatisak Senamuang FR: Kiatisak Senamuang |
กฎเสนาบดี | [kot sēnābodī] (n, exp) EN: ministerial regulations |
ลิงเสน | [ling sēn] (n) EN: stump-tailed monkey |
ลิงเสน | [ling sēn] (n) EN: Stump-tailed Macaque |
ไม่มีใดเสนอเหมือน | [mai mī dai sanōe meūoen] (x) EN: unique |
มะม่วงพิมเสน | [mamūang phimsēn] (n, exp) EN: ? FR: ? |
มีเสน่ห์ | [mī sanē] (adj) EN: charming ; attractive ; tempting ; charming ; fascinating FR: charmant ; séduisant |
นำเสนอ | [namsanōe] (v) EN: present ; submit ; show ; exhibit ; display FR: présenter ; montrer |
พิจารณาข้อเสนอ | [phijāranā khøsanōe] (v, exp) EN: consider a proposal FR: étudier une proposition |
พระรถเสน | [Phra Rot Sēn] (n, prop) EN: Phra Rodasen |
ผู้ได้รับเสนอชื่อ | [phū dāirap sanōe cheū] (n, exp) EN: nominee |
ผู้ให้โดยเสน่หา | [phū hai dōi sanēhā] (n, exp) EN: donor |
ผู้เสนอ | [phū sanōe] (n, exp) EN: proposer FR: proposeur [ m ] (vx) |
ผู้ทำคำเสนอ | [phū tham kham sanōe] (n, exp) EN: offeror |
ราคาเสนอขาย | [rākhā sanōe khāi] (n, exp) EN: ask price ; asked price ; asking prince ; offering price FR: prix proposé [ m ] |
ราคาเสนอซื้อ | [rākhā sanōe seū] (n, exp) EN: bid price ; purchase price |
โรงพยาบาลเสนารักษ์ | [rōngphayābān sēnārak] (n, exp) EN: military hospital FR: hôpital militaire [ m ] |
โรงเรียนเสนารักษ์ | [rōngrīen sēnārak] (n, exp) EN: army medical college |
เสน่ห์ | [sanē] (n) EN: charm ; fascination ; enchantment ; personal charm ; attractiveness FR: charme [ m ] ; attrait [ m ] ; fascination [ f ] |
เสน่ห์ | [sanē] (n) EN: love philtre = love philter (Am.) ; love potion FR: philtre d'amour [ m ] |
เสน่หา | [sanēhā] (n) EN: love ; attraction |
เสน่หา | [sanēhā] (v) EN: be enamored of ; love ; be infatuated with ; be addicted to |
เสน่ห์ของธรรมชาติ | [sanē khøng thammachāt] (n, exp) EN: charms of nature FR: charmes de la nature [ mpl ] |
เสนาะ | [sanǿ] (adj) EN: sweet ; melodious |
เสนอ | [sanōe] (v) EN: offer ; propose ; provide ; submit ; put forward ; suggest FR: proposer ; soumettre ; offrir ; avancer ; présenter ; suggérer |
เสนอชื่อ | [sanōe cheū] (v, exp) EN: nominate ; put forward one's name ; offer one's name for selection FR: désigner ; nommer |
เสนอขาย | [sanōe khāi] (v, exp) EN: offer for sale ; put up for sale |
เสนอข่าว | [sanōe khāo] (v, exp) EN: present news ; report news FR: rapporter les informations |
เสนอหลักฐาน | [sanōe lakthān] (v, exp) EN: furnish evidence |
เสนอแนะ | [sanōenae] (v) FR: conseiller ; recommander |
เสนอรายงาน | [sanōe rāi-ngān] (v, exp) EN: submit a report |
เสนอราคา | [sanōe rākhā] (v, exp) EN: offer a price ; quote ; quote a price FR: proposer un prix |
เสนอตน | [sanōe ton] (v, exp) EN: offer oneself FR: se proposer |
เสนอตัว | [sanōe tūa] (v) EN: offer oneself ; propose ; present oneself FR: se proposer |
เสนอวาระการประชุม | [sanōe wāra kān prachum] (v, exp) EN: propose an agenda FR: proposer un agenda |
Longdo Approved EN-TH
proud to present | (phrase) ภูมิใจเสนอ |
corpsman | (n) ทหารเรือที่ทำหน้าที่เป็นเภสัชกรหรือผู้ช่วยในโรงพยาบาล, ทหารเสนารักษ์ |
initial public offering | (n) การเสนอขายหุ้นใหม่แก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก, ไอพีโอ เช่น The company plans an initial public offering of common stock to raise as much as $50 million., Syn. I.P.O. |
demand schedule | (n) รายการของปริมาณความต้องการซื้อเทียบกับราคาเสนอซื้อบนเส้นอุปสงค์ซึ่งมักจะอยู่ในรูปของตาราง แต่ก็อาจจะอยู่ในรูปของกราฟก็ได้, Syn. demand curve |
intriguing | (n, adj) น่าทึ่ง, เต็มไปด้วยเล่ห์, อย่างมีเสน่ห์ |
rizz | (n, colloq) ความมีสไตล์ เสน่ห์ หรือสิ่งดึงดูด, ความสามารถในการดึงดูดเพศตรงข้าม, มักใช้กันในสื่อสังคมออนไลน์ โดยแผลงมาจากพยางค์กลางของคำว่า charisma ตัวอย่างการใช้ เช่น Taylor has rizz. เทเลอร์เป็นคนมีเสน่ด์ดึงดูด คำว่า rizz เป็นคำศัพท์แห่งปี 2023 ของ Oxford University Press (Oxford Word of the Year 2023) |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
accost | (vt) เสนอขายตัว, Syn. solicit, approach |
advertise | (vt) ลงประกาศ, See also: แจ้งความ, เสนอข่าว |
advertise | (vi) ลงประกาศ, See also: แจ้งความ, เสนอข่าว, Syn. proclaim, publicize, announce |
advice | (n) คำแนะนำ, See also: ข้อเสนอแนะ, การเสนอแนะ, คำปรึกษา, ข้อคิดเห็น, Syn. guidance, recommendation |
allurement | (n) เสน่ห์ |
amorously | (adv) ด้วยเสน่หา, See also: ด้วยความรักใคร่ |
arbitrate | (vt) ขอให้ตัดสินโดยมีผู้ชี้ขาด, See also: เสนอให้ตัดสินโดยมีผู้ชี้ขาด |
ask | (vt) บอกราคา, See also: เสนอราคาที่ต้องการ, ขอราคา |
attractive | (adj) มีเสน่ห์ดึงดูด, Syn. good-looking, pleasing |
attractively | (adv) อย่างมีเสน่ห์ดึงดูด, Syn. charmingly, appealingly |
babe | (n) เด็กสาวมีเสน่ห์ (คำไม่เป็นทางการ), Syn. girl, suckling, wench |
backdown | (n) การยกเลิกข้อเรียกร้อง, See also: การเปลี่ยนแปลงข้อเสนอดั้งเดิม, Syn. retraction |
bag | (n) หญิงไร้เสน่ห์, See also: ผู้หญิงที่ไม่มีเสน่ห์, Syn. unattractive woman |
bewitch | (vt) ทำให้หลงเสน่ห์, See also: ทำให้เคลิบเคลิ้ม, มีเสน่ห์ทำให้คนหลง, เต็มไปด้วยเสน่ห์, Syn. enchant, fasinate |
bid | (n) การประมูล, See also: การให้ราคา, การเสนอราคา |
bimbo | (n) หญิงสาวที่มีเสน่ห์ทางเพศแต่ไม่ฉลาด |
be up for | (phrv) ขาย, See also: เสนอขาย |
bid for | (phrv) ประมูล, See also: เสนอราคา |
bring before | (phrv) ส่งไปเพื่อให้...ยอมอนุมัติ, See also: ยื่น, เสนอ, Syn. put before |
bring forward | (phrv) แนะนำ, See also: เสนอแนะ, เสนอความคิดเห็น, Syn. come forward |
bring in | (phrv) แนะนำ, See also: เสนอความคิด, เสนอแนะ |
broach to | (phrv) เสนอให้พิจารณา |
broach with | (phrv) เสนอให้พิจารณา |
buy it | (idm) ตอบรับ, See also: ยอมรับ, เห็นด้วยกับ ความคิด, คำแนะนำ, ข้อเสนอแนะ |
captivate | (vt) หว่านเสน่ห์, See also: ทำให้หลงใหล, Syn. charm, fascinate |
captivating | (adj) ที่มีเสน่ห์, Syn. charming |
charisma | (n) เสน่ห์, Syn. charm, personal magnetism |
charismatic | (adj) ที่มีเสน่ห์ดึงดูด |
charm | (vi) ใช้เสน่ห์, See also: ทำให้หลงใหล, Syn. influence, tempt |
charm | (n) เสน่ห์, See also: ความเย้ายวนใจ, Syn. appeal, appealingness |
charming | (adj) มีเสน่ห์, See also: น่าหลงใหล, รัดรึงใจคน, น่ารัก, Syn. pleasing |
charmingly | (adv) อย่างน่าหลงไหล, See also: อย่างมีเสน่ห์, อย่างรัดรึงใจคน, อย่างน่ารัก, Syn. pleasantly, sweetly |
charms | (n) เสน่ห์, Syn. appeal, appealingness |
chief of staff | (n) เสนาธิการ |
come-on | (n) สิ่งจูงใจ, See also: สิ่งที่เสนอเพื่อเป็นการจูงใจ |
counsel | (n) ข้อเสนอแนะ, Syn. advice |
charm with | (phrv) ทำให้หลงเสน่ห์ด้วยเวทมนตร์, See also: ทำให้หลงใหล, Syn. enchant by |
enter for | (phrv) เสนอชื่อ, See also: เข้าร่วม, ร่วม, Syn. be down for, be in for, go in for, put down for, put in |
extend to | (phrv) เสนอ (สิ่งที่ชอบ) ให้กับ, See also: ให้กับ, มอบ...ให้... |
extort from | (phrv) เสนอ (สิ่งที่ชื่นชอบ) ให้กับ, See also: ให้ สิ่งที่ชื่นชอบ กับ, ขู่เข็ญ, รีดไถจาก |
file for | (phrv) เสนอให้อย่างเป็นทางการ (เช่นตำแหน่งทางการเมือง) |
fling out | (phrv) เสนอ (ข้อคิดเห็น, ข้อแนะนำ), Syn. throw out |
dashing | (adj) ซึ่งมีความมั่นใจในตัวเอง, See also: ซึ่งมีเสน่ห์, Syn. confident, smart |
debonair | (adj) มีเสน่ห์ (มักใช้กับผู้ชาย), See also: มีมารยาท, สง่า, Syn. elegant |
delectable | (adj) มีเสน่ห์, See also: น่าดึงดูด, น่าพึงพอใจ, Syn. delightful, exquisite |
deliver | (vt) มอบ, See also: เสนอ, ส่งคืน, คืน, Syn. hand over, pass, surrender |
designee | (n) ผู้ได้รับการแต่งตั้ง, See also: ผู้ได้รับการเสนอชื่อ, Syn. nominee, selectee |
display | (vt) แสดง, See also: นำเสนอ, สาธิต, โชว์, Syn. exhibit, have, show, demonstrate, Ant. hide, conceal |
elfin | (adj) มีเสน่ห์, See also: มีเวทมนต์, Syn. charming, magical |
enchanting | (adj) ซึ่งมีเสน่ห์, See also: ซึ่งน่าหลงใหล, Syn. captivating, charming, delightful |
Hope Dictionary
add-on program | โปรแกรมเสริมหมายถึง โปรแกรมที่เขียนเพิ่มขึ้น เพื่อให้โปรแกรมเดิมเพิ่มประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น โปรแกรมสำเร็จทุกโปรแกรมที่ออกสู่ตลาดแล้ว จะต้องมีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา และจะมีโปรแกรมเสริมออกมาเสนอให้ลูกค้าอยู่เสมอ ๆ (add-on อาจหมายถึงอุปกรณ์ที่เสริมเข้าไปภายหลังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่อง เช่น แผ่นวงจรโมเด็ม เป็นต้น) |
adjutant general | (pl. adjutants general) เสนาธิการผู้ช่วยฝ่ายบริหาร |
administer | (แอดมิน' นิสเทอะ) vt., vi. จัดการ, ดำเนินการ, บริหาร, ส่งเสริม, บำรุง, เสนอ |
advance | (แอดวานซ'ฺ) vt., vi., n. นำหรือส่งไปข้างหน้า, ก้าวหน้า, เสนอความเห็น, เจริญ, เลื่อน (ตำแหน่ง) , เพิ่ม (อัตรา) , เร่ง, จัดให้, ยก (ธง) , ล่วงหน้า, อ้าง, ทาบทาม, เกี้ยว, Syn. forward |
airing | (แอ' ริง) n. การตาก, การสนทนาโต้แย้ง (ข้อ คิดเห็น, ข้อเสนอ) , การเดินหรือขับรถในที่โล่งแจ้ง |
allure | (อะเลียว') vt. ล่อ, ชักชวน, จูงใจ, ทำให้หลงเสน่ห์. -n. เสน่ห์. -alluring n., Syn. seduce, charm, sex appeal |
allurement | (อะเลียว' เมินทฺ) n. เสน่ห์, อำนาจดึงดูดใจ, สิ่งหรือวิธีหรือกระบวนการดึงดูดใจ, Syn. charm, temptation |
alluring | (อะเลียว' ริง) adj. ซึ่งล่อใจ, ซึ่งดึงดูดใจ, มีเสน่ห์. -alluringness n., Syn. tempting |
amphetamine | (แอมเฟท' ทะมีน) n. ยากระตุ้นจิตประสาทชนิดหนึ่งมันกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ใช้เป็นยาลดความอยากอาหาร (ยาบ้าของนายเสนาะ เทียนทอง) |
antecedence | (แอนทิซี' เดินซฺ) n. การดำเนินการก่อน, เรื่องราวที่ต้องมาก่อน, สิ่งที่มาก่อน, ข้อเสนอแรก-antecedency n. |
antecedent | (แอนทิ' ซิเดินทฺ) adj., n. มาก่อน, ก่อน, เกิดขึ้นก่อน, แต่ก่อน, ข้อเสนอแรก, เรื่องราวก่อน-antecedents บรรพบุรุษ, Syn. preceding, prior, Ant. posterior |
appetising | (แอพ'พีไท'ซง) adj. เจริญอาหาร, กระตุ้นความต้องการ, มีเสน่ห์ |
appetizing | (แอพ'พีไท'ซง) adj. เจริญอาหาร, กระตุ้นความต้องการ, มีเสน่ห์ |
arbitrate | (อาร์'บิเทรท) vt., vi. ตัดสิน (โดยอนุญาโตตุลาการ) , เสนอให้ตัดสินโดยมีผู้ชี้ขาด (อนุญาโตตุลาการ) . -arbitrable adj., -arbitrator n. (judge, mediate, intercede) |
assertion | (อะเซิร์ท'เชิน) n. การกล่าวยืนยัน, การอ้าง, การถือสิทธิ์, การวินิจฉัย, การพิทักษ์, การรักษา, ข้อเสนอ, ข้อวินิจฉัย, Syn. statement |
attract | (อะแทรคทฺ') vt., vi. ดึงดูด, จูงใจ, กระ-ตุ้นความสนใจ, มีเสน่ห์, ล่อใจ. -attractable adj. |
attraction | (แอทแทรค'เชิน) n. การดึงดูดความสนใจ, เสน่ห์, แรงดึงดูด, สิ่งหรือบุคคลที่ดึงดูดความสนใจ, Syn. affinity, charm, enticement, Ant. repulsion, rejection |
attractive | (อะแทรค'ทิฟว) adj. ซึ่งดึงดูดความสนใจ, มีเสน่ห์, มีแรงดึงดูด. -attractiveness n., Syn. appealing, inviting, enticement |
babe | (เบบ) n. ทารก, เด็กเล็ก ๆ , ผู้ไร้เดียงสา, หญิงมีเสน่ห์, Syn. baby |
baby | (เบ'บี่) { babied, babying, babies } n. ทารก, ผู้เยาว์, หญิงที่มีเสน่ห์ vt. ทำยังกับเป็นเด็กเล็ก ๆ , เอาใจ, โอ๋, ใช้ด้วยความระมัดระวัง, See also: babyhood n. ดูbaby babyish adj. ดูbaby, Syn. babe |
bankroll | (แบงคฺ'โรล) n. เงินที่อยู่ในครอบครอง, แหล่งของเงิน, เงินทุน vt. เสนอเงินให้แก่, See also: bankroller n. |
beau | (โบ) n. พ่อ, พวงมาลัย, ชายคู่ควงที่มีเสน่ห์ของหญิง, คู่รัก, ชายที่คอยเอาอกเอาใจหญิง คนเจ้าชู้, Syn. lover -pl. beaus, beaux |
bedazzle | (บิแดซ'เซิล) { bedazzled, bedazzling, bedazzles } vt. ทำให้สับสน, ทำให้ตาลาย, ทำให้หลงเสน่ห์, See also: bedazzlement n. ดูbedazzle |
bewitch | (บิวิทชฺ') { bewitched, bewitching, bewitches } vt. ทำให้หลงเสน่ห์, ทำให้เคลิบเคลิ้ม, ใช้อำนาจเวทมนตร์สะกด, ทำให้ต้องมนต์สะกด, See also: bewitcher n. ดูbewitch bewitchery n. ดูbewitch bewitchment n. ดูbewitch, Syn. charm |
bring | (บริง) { brought, brought, bringing, brings } vt. เอามาให้, นำมาให้, พามา, นำมาสู่, ทำให้เกิด, ก่อให้เกิด, นำออกมาแสดง, นำเสนอ, ชักชวนขายได้ -Id. (bring about ทำให้เกิด) -Id. (bring around (round)) ชักชวน, โน้มน้าว -Id. (bring forth ทำให้เกิด, นำเสนอ) -Id. (bring in ยอมแพ้) |
cadre | (คา'ดระ, แคด'รี) n. ฝ่ายบริหาร, นายทหารฝ่ายเสนาธิการ, โครงงาน, ขอบข่ายของงาน |
capitalize | (แคพพิท'ทะไลซ) { capitalized, capitalised, capitalizing, capitalising, capitalizes, capitalises } vt. เขียนหรือพิมพ์ด้วยอักษรตัวใหญ่, เสนอทุนให้, ให้ทุน, ประเมินค่าของหลักทรัพย์หรือหุ้น, ใช้ประโยชน์ของ, See also: capitalisation n. ดู capitalize, capitalizat |
cater | (เค'เทอะ) { catered, catering, caters } vi. จัดอาหาร (การบริการและ อื่น ๆ) ให้, จัดหาสิ่งที่ต้องการให้, เสนอรายการบันเทิง, เสนอรายการ, สอดคล้อง, See also: caterer ผู้จัดหา. cateringly adv., Syn. victual, feed |
chancellery | (ชาน'ชะเลอรี) n. ตำแหน่งเสนาบดี, สำนักงานเสนาบดี, รัฐมนตรี, ตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีของบางประเทศ, สถานเอกอัครราชฑูต, สถานกงสุลใหญ่, เจ้าหน้าที่ทั้งหมดของสถานเอกอัครราชฑูต (หรือกงสุล) , เลขานุการเอกอัครราชทูต (หรือกงสุล) , นายกรัฐมนตรี (ของบางประเทศ) , ตุลาการใหญ่ของบางประเ |
chancellor | (ชาน'ซะเลอ) n. เสนาบดี, อัครมหาเสนาบดี, นายกรัฐมนตรี, เอกอัครราชทูต, ตุลาการใหญ่, See also: chancellorship n. |
chancery | (ชาน'ซะรี) n. ศาลฎีกา, ที่เก็บเอกสารทางราชการ, ที่ทำการของเสนาบดี, ภาวะที่กลืนไม่เข้าคายไม่ออก |
charm | (ชาร์ม) { charmed, charming, charms } n. เสน่ห์, เครื่องราง, เวทมนตร์คาถา, สิ่งประดับกระจุ๋มกระจิ๋ม, การท่องคาถาอาคม -vt.ดึงดูดใจ, ใช้เวทมนตร์คาถา, ทำเสน่ห์ -vi. ประทับใจ, หลงเสน่ห์, ใช้เวทมนตร์คาถา., See also: charmedly adv. charmer n. คำที่มีความหมาย |
charming | (ชาร์ม'มิง) adj. มีเสน่ห์, ซึ่งทำให้หลงใหล, ซึ่งใช้อำนาจเวทมนตร์., See also: charmingly adv., Syn. enchanting |
chief of staff | เสนาธิการ |
circumstantiate | (เซอคัมสแทน'ชิเอท) vt. ยืนยัน, เสนอข้ออ้างอิงเพื่อยืนยัน, อธิบายอย่างละเอียดทุกแง่ทุกมุม, See also: circumstantiation n. ดูcircumstantiate |
colorful | adj. มีสีสรรมาก, มีสี, น่าตื่นเต้น, พอฟังได้, ตรึงใจ, มีเสน่ห์, Syn. interesting |
colourful | adj. มีสีสรรมาก, มีสี, น่าตื่นเต้น, พอฟังได้, ตรึงใจ, มีเสน่ห์, Syn. interesting |
commercialise | (คะเมอ'ชะไลซ) vt. ทำให้เป็นการค้า (เพื่อหวังผลกำไร) , เน้นลักษณะทางการค้า, เสนอขาย, See also: commercialization, commercialisation n. |
commercialize | (คะเมอ'ชะไลซ) vt. ทำให้เป็นการค้า (เพื่อหวังผลกำไร) , เน้นลักษณะทางการค้า, เสนอขาย, See also: commercialization, commercialisation n. |
contradictory | (คอนทระดิค'ทะรี) adj. ซึ่งขัดแย้ง, ซึ่งไม่ลงรอยกัน, ซึ่งตรงกันข้าม n. ข้อเสนอที่ขัดแย้งกับข้อเสนออื่น. |
converse | (คันเวิร์ส') { conversed, conversing, converses } vi. สนทนา, คุยกัน. n. (คอน'เวิร์ส) การสนทนา, การคุยกัน, ความตรงกันข้าม, การกลับกัน, คนที่มีนิสัยตรงกันข้าม, ข้อเสนอที่กลับกันกับอีกข้อเสนอหนึ่ง adj. (คันเวิร์ส') ซึ่งตรงกันข้ามซึ่งกลับกัน |
coquet | (โคเควท') vi. =coquette n. = coquette. adj. ยั่วสวาท, ยั่ว, พูดจาเกี้ยว, มีเสน่ห์ยั่วยวน, Syn. philander, flirt, dally |
cutey | (คิว'ที) adj., n. (ผู้ที่) สวยอย่างมีเสน่ห์ -pl. cuteys |
cutie | (คิว'ที) adj., n. (ผู้ที่) สวยอย่างมีเสน่ห์, Syn. cutey |
darling | (ดาร์'ลิง) n. คนรัก, ยอดรัก, ทูนหัว adj. เป็นยอดรัก, น่ารัก, มีเสน่ห์, See also: darlingness n., Syn. beloved, dear |
deliver | (ดิลิฟ'เวอะ) { delivered, delivering, delivers } vt. นำส่ง, ส่ง, ปล่อย, มอบ, นำข้าม, ส่งจดหมาย, ส่ง, ส่งต่อ, เสนอ, ช่วยคลอดลูก, คลอดลูก, ให้กำเนิด, ส่ง. adj. เร็ว, คล่องแคล่ว., See also: deliverable adj. ดูdeliver deliverer n. ดูdeliver |
disenchant | (ดิสเอนชานทฺ') vt. แก้เสน่ห์, ทำให้หลุดพ้นจากการถูกผีสิง, ทำให้ไม่เพ้อฝัน, ทำให้พ้นอาการประสาทหลอน., See also: disenchantment n. ดูdisenchant, Syn. disillusion |
dissidence | (ดิส'ซิเดินซฺ) n. ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่เห็นพ้อง, ข้อเสนอที่แตกต่างหรือขัดแย้ง, Syn. dissent |
eirenicon | n. ข้อเสนอให้ปรองดองกัน |
enchant | vt. ทำให้ลุ่มหลง, ทำให้หลงใหล, ทำให้หลงเสน่ห์, ทำให้ปลื้มปิติ, มีเสน่ห์, Syn. bind |
Nontri Dictionary
affection | (n) ความรัก, ความเสน่หา, ความชอบ, ความเป็นมิตร, อารมณ์ |
affectionate | (adj) ที่รัก, ที่ชอบ, ที่เสน่หา, ที่รักใคร่ |
allure | (vt) ล่อ, ยั่วยวน, ทำให้หลงเสน่ห์ |
allurement | (n) เสน่ห์, ความยั่วยวน |
alluring | (adj) ล่อใจ, ยั่วยวน, ดึงดูดใจ, มีเสน่ห์, งดงาม |
attraction | (n) การดึงดูด, เสน่ห์, สิ่งจูงใจ, สิ่งล่อใจ |
attractive | (adj) ที่ดึงดูด, มีเสน่ห์, น่ามอง, ที่จูงใจ |
attractively | (adv) อย่างน่าดึงดูดใจ, อย่างมีเสน่ห์, อย่างจูงใจ |
bewitch | (vt) ทำให้งงงวย, ทำให้หลงเสน่ห์, ทำให้เคลิบเคลิ้ม |
bid | (vt) สั่ง, เชื้อเชิญ, เสนอราคา, ให้ราคา, ประมูลราคา |
bidding | (n) การเสนอราคา, การให้ราคา, คำสั่ง |
candidacy | (n) การสมัคร, การเสนอตัว |
captivate | (vt) จับใจ, ยั่วยวน, ทำให้หลงรัก, ทำให้หลงเสน่ห์ |
chancellor | (n) อธิการบดี, อัครมหาเสนาบดี, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, เลขานุการสถานทูตน |
charm | (n) เสน่ห์, ความดึงดูดใจ, ความจับใจ, ความยั่วยวนใจ, คำสาป |
charm | (vt) ทำให้ลุ่มหลง, ทำให้จับใจ, ดึงดูดใจ, ทำเสน่ห์ |
charmer | (n) คนเจ้าเสน่ห์ |
colourful | (adj) มีสีสัน, มีสีสดใส, น่าตื่นเต้น, มีเสน่ห์ |
comment | (vt) วิจารณ์, อธิบาย, ให้ข้อสังเกต, เสนอความเห็น |
debonair | (adj) สุภาพ, มีมารยาท, อ่อนโยน, สนุกสนาน, ร่าเริง, มีเสน่ห์, น่ารัก |
disenchant | (vt) แก้เสน่ห์, ถอนเสน่ห์, บอกให้รู้ความจริง |
dulcet | (adj) เพราะ, เสนาะหู, ไพเราะเพราะพริ้ง, ชื่นใจ |
enchant | (vt) ทำให้หลงเสน่ห์, ทำให้ลุ่มหลง, ทำให้หลงใหล, ทำให้เบิกบาน, ทำให้ปลื้มปีติ |
enchanter | (n) ผู้วิเศษ, หมอเสน่ห์ |
enchantment | (n) การสาป, เสน่ห์, ความลุ่มหลง, ความหลงเสน่ห์ |
enchantress | (n) หญิงเจ้าเสน่ห์, แม่มด |
enthrall | (vt) ทำให้เป็นทาส, ขังไว้, ทำให้ติดใจ, ทำให้หลงเสน่ห์ |
fascinate | (vt) ทำให้หลงเสน่ห์, ทำให้หลงใหล, ตรึงใจ, ทำให้ตะลึงงัน |
fascination | (n) ความหลงใหล, ความมีเสน่ห์, เสน่ห์, ความตรึงใจ, ความงดงาม |
file | (vi) เดินเรียงแถว, ยื่นข้อเสนอ, ยื่นคำร้อง |
give | (vi, vt) ให้, มอบ, ยกให้, อุทิศ, สละให้, แจก, ถึง, เสนอ, ยอม, ออกคำสั่ง |
glamor | (n) ความงาม, เสน่ห์, ความเย้ายวนใจ, ความดึงดูดใจ |
glamour | (n) ความงาม, เสน่ห์, ความเย้ายวนใจ, ความดึงดูดใจ |
infatuate | (vt) ทำให้หลงรัก, ทำให้หลงเสน่ห์, ทำให้หลงใหล |
infatuation | (n) ความหลงรัก, การหลงเสน่ห์, ความหลงใหล |
lodge | (vt) ให้ที่อาศัย, ให้อยู่, ฝาก, มอบ, เสนอ, รับรอง, พำนัก |
luscious | (adj) อร่อย, รสดี, หวานฉ่ำ, หอมหวาน, มีเสน่ห์ |
melodious | (adj) ไพเราะ, รื่นหู, เสนาะหู |
mesmerism | (n) การสะกดจิต, การทำให้หลงเสน่ห์, การทำให้จับใจ |
mesmerize | (vt) สะกดจิต, ทำให้หลงเสน่ห์, ทำให้จับใจ |
moot | (vi, vt) โต้เถียง, เสนอปัญหา, ถกเถียง, ดำริ |
move | (vt) ทำให้เคลื่อนไหว, เสนอ, กระตุ้น, แหย่, เร้าใจ |
musical | (adj) ไพเราะ, เสนาะหู, เกี่ยวกับเสียงดนตรี |
nominate | (vt) ตั้งชื่อ, แต่งตั้ง, ระบุชื่อ, เสนอชื่อ |
nomination | (n) การแต่งตั้ง, การเสนอชื่อ |
nominative | (adj) ซึ่งได้รับการเสนอชื่อ, ซึ่งได้รับการแต่งตั้ง |
obtrude | (vt) ยุ่ง, เสนอหน้า, เสือก, ถลัน, บุกรุก |
offer | (n) คำขอ, ข้อเสนอ, การยกให้, การเสนอ, การถวาย |
opinion | (n) ความคิดเห็น, ทัศนะ, ข้อเสนอ |
philtre | (n) ยาเสน่ห์, ยาแฝด |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
apparent low bidder | (n) ผู้ประมูลที่เสนอราคาต่ำสุดในการประกวดราคา |
bait and switch | (n) เป็นการโฆษณารูปแบบหนึ่งที่บอกขายสินค้าหรือการให้บริการในราคาที่ถูก แต่เมื่อมีผู้ต้องการซื้อสินค้าหรือการบริการชนิดนั้น ผู้ขายอ้างว่าสินค้าหมดและเสนอขายสินค้าทดแทนที่มีราคาสูงกว่าแทนอย่างตั้งใจ |
Canki | (n) จังกีพราหมณ์ ในพุทธประวัติ ครอบครองหมู่บ้านพราหมณ์ชื่อโอปาสาทะ ซึ่งพระเจ้าปเสนทิโกศลพระราชทานให้ครอบครอง |
Chief Secretary | (n) เสนาเอก เป็นตำแหน่งข้าราชการพลเรือนฝ่ายปกครองในอาณานิคมของสหราชอาณาจักร |
Cosmic Consciousness | (jargon) จักรวาลพิชาน เป็นแนวคิดที่ถูกเสนอในปี 1901 กล่าวถึง "ความตระหนักรู้แจ้งในระดับที่เหนือกว่าคนทั่วไป" |
Free Carrier ( FCA ) | การเสนอราคา ที่ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการมอบสินค้าตามสัญญาก็ต่อเมื่อผู้ขายได้จัดสินค้าส่งมอบให้กับผู้รับขนส่ง ณ สถานที่ของผู้รับขนส่ง(เช่น บรรดาบริษัท shipping ต่างๆ) ตามที่ผู้ซื้อระบุไว้เพราะฉะนั้นในการเสนอราคา ผู้ขายก็จะเสนอราคาขาย ที่บวกค่าส่งมอบสินค้าในเบื้องต้นลงไปด้วย |
freelancer | [ฟรีแลนซ์ - เซอะ] (n) บุคคค ที่เสนอตนเองเพื่อรับทำงาน ตามคำสั่ง ของผู้ว่าจ้าง รับจ้าง ทำงาน อิสระ รับไปทำด้วยตัวคนเดียว หรืองานบางประเภท ที่นายจ้าง ต้องการ |
infographic | [อินโฟ กราฟฟิค] (n, computer) ย่อมาจาก Information Graphic - ภาพ/กราฟิก ที่บ่งชี้ข้อมูล ประเภทสถิติ ความรู้ ตัวเลข ฯลฯ มาย่นย่อข้อมูลในแผ่นกระดาษ หรือการนำเสนอ เพื่อให้มองดู/ประมวลผลได้ง่ายเพียงแค่กวาดตามอง เหมาะสำหรับผู้คนในยุคไอที ที่มีข้อมูลซับซ้อนมหาศาล สามารถเข้าใจรับรู้ในเวลาอันจำกัด (ภาพหนึ่งภาพแทนพันอักษร) และในปัจุบันเป็นที่นิยมในโลกของ Social Network |
itnw | (n, name) เป็นชื่อเพลงที่ย่อมาจาก into the new world ซึ่งเป็นซิงเกิ้ลเปิดตัวของสาว ๆ Girls' Generation หรือที่รู้จักกันในนาม SNSD ซึ่งมีตัวย่อมาจาก So Nyeo Shi Dae ในลักษณะการเต้นของเพลงนี้จะออกไปทางด้านการเต้นแอโรบิคในแบบที่น่ารักและมีเสน่ห์ ซึ่งเป็นที่ติดตาของหลาย ๆ คนจนถึงทุกวันนี้ |
premiership | (n, adj) (พรีเมียร์', พริมเยียร์') n. นายกรัฐมนตรี, อัครมหาเสนาบดี. adj. เป็นหัวหน้า, นำหน้า, ครั้งแรก, เก่าที่สุด. คำศัพท์ย่อย: premiership n. คำที่มีความหมายเหมือนกัน: prime minister |
presentation | (n) สื่อนำเสนอ |
produce evidence | นำเสนอพยานหลักฐาน |
retributive justice | (n) (ก่อนหน้านี้ที่เสนอไปผิดค่ะ) ขอแก้ไขเป็น "กระบวนการยุติธรรมเชิงแก้แค้นทดแทน", See also: A. restorative justice |
roadshow | (n) นำสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ไปนำเสนอในสถานที่หลายๆ แห่ง |
samsenwittayalai | (name) โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย ตั้งอยู่บนถนนพระราม 6 เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร |
Secretary of State | (n) เสนาบดีใหญ่ เป็นตำแหน่งในรัฐบาลสหราชอาณาจักร มีประจำอยู่ในสองกระทรวงคือกระทรวงการต่างประเทศ และกระทรวงปิตุภูมิ |
vavoom | (n) เสน่ห์ที่ดึงดูดเพศตรงข้าม, Syn. sex appeal |
Longdo Approved JP-TH
相見積り | [あいみつもり, amitsumori] (vt) การเปรียบเทียบใบเสนอราคาก่อนซื้อ |
起案 | [きあん, kian] (n) การร่าง (เพื่อนำเสนอ) |
魅力 | [みりょく, miryoku] (n) เสน่ห์ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
うっとり | [うっとり, uttori] (vi, vt, adj, colloq) うっとりさせるような:เป็นที่ดึงดูด, มีเสน่ห์, น่าหลงใหล, น่ามอง うっとりする:เคลิบเคลิ้ม(ไปกับ...), หลงใหล |
握りつぶす | [にぎりつぶす, nigiritsubusu] บดบี้ในมือ, การระงับข้อเสนอหรือความคิด |
推薦 | [すいせん, suisen] (n) การแนะนำแก่ผู้อื่นว่าดี การเสนอให้ได้รับดำรงตำแหน่ง |
指揮幕僚課程 | [しきばくりょうかてい, shikibakuryoukatei] (n) หลักสูตรเสนาธิการทหาร |
見積もり | [みつもり, mitsumori] (n) การเสนอราคา |
既出 | [きしゅつ, kishutsu] (n, adj) การนำเสนอแล้ว ยื่น(เอกสาร)ก่อนหน้านี้แล้ว |
提議 | [ていぎ, teigi] (n) n. การเสนอ, ข้อเสนอ, แผน, โครงการ, การขอแต่งงาน, |
提案 | [ていあん, teian] การยื่นข้อเสนอ การเสนอความคิด ข้อเสนอแนะ |
提案 | [ていあん, teian] (n) ข้อเสนอแนะ |
サリンダ | [Sarinda, Sarinda] ร่าเริงสดใสมีเสน่ห์ในตัวเอง |
幕僚 | [ばくりょう, bakuryou] (n) นายทหารฝ่ายเสนาธิการประจำผบ. |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
促す | [うながす, unagasu] TH: เสนอแนะ EN: to suggest |
申込 | [もうしこみ, moushikomi] TH: เสนอ(เงินบริจาค) EN: offer |
提供 | [ていきょう, teikyou] TH: เสนอ EN: offer (vs) |
与える | [あたえる, ataeru] TH: เสนอ EN: to present |
Longdo Approved DE-TH
Angebot | (n) |das, pl. Angebote| ข้อเสนอ |
bieten | เสนอให้ |
bitte | ได้ค่ะ เชิญครับ (ใช้ตอบตกลงเวลาที่มีคนเสนอความช่วยเหลือหรือเสนอของให้) เช่น Möchtest du noch ein bißchen Reis? - Ja, bitte. เธอต้องการข้าวอีกสักนิดไหม - จ้ะ ได้จ้ะ |
präsentieren | (vt) |präsentierte, hat präsentiert| นำเสนอ เช่น Die Galerie präsentiert diese Woche eine Ausstellung von Manet. อาทิตย์นี้แกลเลอรี่นี่นำเสนองานแสดงภาพของมาเนท์ |
Antrag | (n) |der, pl. Anträge| ข้อเสนอที่ต้องลงมติในที่ประชุม เช่น Ich stelle den Antrag, daß die Fakultät keine ausländische Studenten mehr aufnimmt. ผมขอเสนอให้ทางคณะไม่รับนักศึกษาต่างชาติเข้ามาอีก |
ablehnen | (vt) |lehnte ab, hat abgelehnt| ปฏิเสธ เช่น Der Direktor hat alle Vorschläge abgelehnt. ผู้อำนวยการปฏิเสธข้อเสนอทุกข้อ, Syn. verweigern |
Longdo Approved FR-TH
offrir | (vt) |j'offre, tu offres, il offre, nous offrons, vous offrez, ils offrent| เสนอให้, แนะนำ, ให้, เสนอแนะ เช่น offrir qc. au client แนะนำสินค้าบางอย่างให้กับลูกค้า |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.891 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม