(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา flossification มีน้อย ระบบจึงเลือกคำใหม่ให้โดยอัตโนมัติ: classification) |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ Flossification | n. [ Cf. Florification. ] A flowering; florification. [ R. ] Craig. [ 1913 Webster ] | Classification | n. [ Cf. F. classification. ] The act of forming into a class or classes; a distribution into groups, as classes, orders, families, etc., according to some common relations or affinities. [ 1913 Webster ] Artificial classification. (Science) See under Artifitial. [ 1913 Webster ]
|
| |
| classification | (แคลสซิฟิเค'เชิน) n. การแบ่งออกเป็นหมวดหมู่., See also: classificatory adj. -al adj. |
| | | Classification | การวิเคราะห์หนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Classification | ระบบการจัดหมวดหมู่สิทธิบัตรตามการประดิษฐ์ [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Classification | การจำแนก [TU Subject Heading] | Classification | การจัดจำพวก, การจัดกลุ่ม, การจัดลำดับชั้น, การจำแนกชนิด, การแบ่งชนิด, การจัดแบ่งชนิด, การแบ่งกลุ่ม, การแยกประเภท, การจัดแบ่ง, การจัดหมวดหมู่, การจำแนกประเภท, การจำแนกชนิดของโรค [การแพทย์] | Classification Error | ความคลาดเคลื่อนในการแบ่งกลุ่ม, Example: เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้สถิติประชากรเกิด ข้อผิดพลาดคลาดเคลื่อน [สิ่งแวดล้อม] | Classification of Diseases | จัดกลุ่มโรค [การแพทย์] | Classification of Diseases, International | การจำแนกโรคสากล [การแพทย์] | Classification system | ระบบการจำแนกประเภท [เศรษฐศาสตร์] | Classification system | ระบบการจัดหมวดหมู่ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Classification system | ระบบจัดหมู่ของห้องสมุด, Example: การจัดหมู่ (Classification) หมายถึง กระบวนการที่รวมสิ่งที่เหมือนกันไว้ด้วยกัน สิ่งที่สัมพันธ์เกี่ยวข้องกันก็จะอยู่ใกล้ๆ กัน สิ่งที่แตกต่างกันก็จะแยกออกจากกัน <p> ประเภทของการจัดหมู่ อาจแบ่งอย่างกว้างๆ ได้ 2 ประเภท คือ <p> 1. การจัดหมู่อย่างง่ายๆ หรือจัดตามลักษณะทั่วไป (Artificial Classification) ได้แก่ การจัดกลุ่มของสิ่งต่างๆ ด้วยวิธีการง่ายๆ คือ ดูจากลักษณะภายนอกที่มองเห็น เช่น สี ขนาด รูปร่าง เป็นต้น โดยเป็นการจัดหมู่ที่ไม่คำนึงถึงเนื้อหาหรือลักษณะตามธรรมชาติของสิ่งที่นำมาจัดหมู่ <p> 2. การจัดหมู่ตามธรรมชาติ (Natural Classification) คือ การจัดกลุ่มของสิ่งต่างๆ ออกเป็นหมวด เป็นหมู่ โดยพิจารณาเนื้อหา ลักษณะโครงสร้าง หรือส่วนประกอบต่างๆ ของสิ่งที่นำมาจัดหมู่ เช่น การจัดหมู่วิชาความรู้ (Classification of knowledge) หรือ Philosophical Classification <p> การจัดหมู่หนังสือ คือ กระบวนการในการจัดหมวดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง หรือตามรูปแบบคำประพันธ์ของหนังสือแต่ละเล่ม พร้อมกำหนดสัญลักษณ์แทนเนื้อหาหรือรูปแบบคำประพันธ์ไว้ที่เล่มหนังสือ เพื่อใช้เป็นเครื่องหมายแสดงแหล่งที่อยู่ของหนังสือ <p> วัตถุประสงค์ของการจัดหมู่หนังสือ คือ <p> 1. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการจัดหนังสือเข้าชั้น <p> 2. เพื่อใช้จัดทำบรรณานุกรมตามหมวดหมู่วิชา <p> 3. เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถเลือกหนังสือที่ตรงกับความต้องการ หรือสามารถเลือกหนังสือที่เกี่ยวข้องที่ต้องการได้ตนเอง ด้วยวิธีการง่ายๆ สะดวก และรวดเร็ว <p> 4. เพื่อช่วยให้เจ้าหน้าที่ห้องสมุดให้บริการทางด้านบรรณานุกรมแก่ผู้ใช้ได้สะดวก <p> 5. เพื่อให้ทราบปริมาณของหนังสือในแต่ละสาขาวิชาว่ามีมากน้อยเพียงไร จะได้สั่งซื้อให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ <p> การจัดหมู่หนังสือจะบรรลุตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวได้ ก็ต้องใช้สัญลักษณ์ที่สั้น อ่านเข้าใจง่าย เป็นเครื่องหมายประจำหนังสือ เพื่อกำหนดตำแหน่งที่อยู่ของหนังสือบนชั้น และไม่ว่าห้องสมุดจะใช้การจัดหมู่หนังสือระบบใด เก็บหนังสือไว้ในระบบชั้นเปิด หรือระบบชั้นปิดก็ตาม เครื่องมือสำคัญสำหรับการค้นหาหนังสือก็คือ บัญชีรายชื่อหนังสือของห้องสมุด (Library Catalog) ซึ่งถือเป็นแหล่งค้นคว้าอ้างอิงพื้นฐานของห้องสมุดจะต้องทันสมัยและสมบูรณ์อยู่เสมอ <p> แนวคิดพื้นฐานของระบบจัดหมู่หนังสือ <p> ระบบจัดหมู่หนังสือส่วนใหญ่ยึดถือหลักการจัดหมวดหมู่ตามเหตุผล หรือตามวิชาความรู้ คือ จัดแบ่งวิชาความรู้ทั้งมวลในจักรวาลออกเป็นหมวดหมู่ต่างๆ จากหมวดใหญ่ (Class) ไปหาหมวดย่อย (Subclass) และแบ่งเป็นหมู่ย่อยๆ ซึ่งมีเนื้อหาเฉพาะเจาะจง ซึ่งมีเนื้อหาสัมพันธ์กัน ตัวอย่าง การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ ซึ่งแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นลำดับชั้น คือ แบ่งครั้งที่ 1 เป็น10 หมวดใหญ่ แบ่งครั้งที่ 2 เป็น 100 หมวดย่อย แบ่งครั้งที่ 3 เป็น 1000 หมู่ย่อย และแบ่งต่อไปเป็นทศนิยม ดังตัวอย่าง <p> การแบ่งครั้งที่ 1 600 เทคโนโลยี <p> การแบ่งครั้งที่ 2 620 วิศวกรรมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง <p> การแบ่งครั้งที่ 3 621 ฟิสิกส์ประยุกต์ <p> ทศนิยม 621.3 อิเล็กโทรแมกเนติกและสาขาวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง <p> 621.38 วิศวกรรมอิเล็กโทรนิกและวิศวกรรมการสื่อสาร <p> 621.381 วิศวกรรมอิเล็กโทรนิก <p> 621.3819 พัฒนาการเฉพาะด้าน <p> 621.38195 คอมพิวเตอร์ <p> การแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ต่างๆ ในแต่ละระบบ จำเป็นต้องมีสัญลักษณ์แทนเนื้อหาของวิชาความรู้ตามหมวดหมู่ต่างๆ ซึ่งเรียกว่า Notation (ดูเพิ่มเติมที่ Notation) <p> ระบบจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง <p> ระบบจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่องมีกำเนิดขึ้นในราวปลายคริสตศตวรรษที่ 19 (ดูเพิ่มเติมที่ Library Classification) ระบบที่รู้จักและใช้อย่างแพร่หลาย ได้แก่ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ระบบทศนิยมสากล และระบบไม่สู้แพร่หลายนัก ได้แก่ ระบบซับเจ็กท์ ระบบบลิส และระบบโคลอน <p> ประเภทของระบบจัดหมู่หนังสือ <p> แบ่งตามประเภทของเนื้อหาของระบบจัดหมู่ แบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้ <p> 1. ระบบจัดหมู่หนังสือทั่วไป (General Classification) เป็นระบบจัดหมู่ที่ครอบคลุมวิชาความรู้ทั้งมวลในจักรวาล ระบบจัดหมู่ประเภทนี้จะเว้นไว้สำหรับเติมวิชาความรู้ใหม่ๆ ไว้ เช่น ระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 2. ระบบจัดหมู่เฉพาะวิชา (Special Classification) เป็นระบบการจัดหมู่ที่ครอบคลุมเนื้อหาสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง เช่น ระบบจัดหมู่หนังสือเฉพาะวิชารัฐประศาสนศาสตร์ของโซเฟีย เอช กลิดเดน ระบบจัดหมู่หนังสือด้านวิชาแพทย์ ของหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน ระบบจัดหมู่หนังสือกฎหมายของ เจ.อาร์เธอ ชิลเลอร์ แห่งมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย <p> แบ่งตามการสร้างแผนการจัดหมู่ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ <p> 1. ระบบจัดหมู่ที่เป็นแผนการจัดหมู่แบบครอบจักรวาล (Enumerative Classification) คือ กำหนดสัญลักษณ์แทนเนื้อหาวิชาความรู้ต่างๆ อย่างสมบูรณ์ และเว้นที่ว่างไว้สำหรับเพิ่มเติมสัญลักษณ์แทนเนื้อหาวิชาความรู้ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ตัวอย่างเช่น ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 2. ระบบแฟเซ็ท หรือฟาเซ็ท (Faceted Classification) เป็นระบบจัดหมู่หนังสือแบบวิเคราะห์และสังเคราะห์ คือ แยกแง่มุมต่างๆ ของเนื้อหาพื้นฐาน ออกเป็นด้านต่างๆ หรือแง่มุมต่างๆ แล้วนำเอาแง่มุมหรือด้านต่างๆ ของเนื้อหาพื้นฐานมาสังเคราะห์เข้าเป็นเลขหมู่ ระบบจัดหมู่แบบนี้เป็นระบบจัดหมู่ที่ทันสมัย แต่ก็มีสัญลักษณ์ที่ยืดยาวไม่สู้สะดวกในการใช้ ตัวอย่างของระบบการจัดหมู่นี้ ได้แก่ ระบบโคลอน <p> บรรณานุกรม <p> ทองหยด ประทุมวงศ์. ระบบจัดหมู่ของห้องสมุด. วารสารวิทยบริการ 7, 1 (ก.ค. 2538) : 67-79 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
| | หมวดหมู่ | (n) classification, See also: category, grouping, sort, type, Syn. พวก, หมู่, หมวด, Example: นักภาษาศาสตร์ทำการแบ่งภาษาต่างๆ ในโลกออกเป็นหมวดหมู่ตามโซนและต้นตระกูลภาษา | การจัดประเภท | (n) categorization, See also: classification, Example: การจัดประเภทของคำสามารถดูได้จากหน้าที่ของคำ | การจำแนก | (n) classification, See also: categorization, Example: ที่ประชุมมีมติให้เลขาฯ ทำการจำแนกข้อมูลรายละเอียดการขายโดยแยกเป็นแต่ละแผนกอย่างชัดเจน | การจำแนกประเภท | (n) classification, See also: categorization, Example: พวกเราได้มีการจำแนกประเภทของข้อมูลออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ |
| | | | | Classification | n. [ Cf. F. classification. ] The act of forming into a class or classes; a distribution into groups, as classes, orders, families, etc., according to some common relations or affinities. [ 1913 Webster ] Artificial classification. (Science) See under Artifitial. [ 1913 Webster ]
|
| | | 分類 | [ぶんるい, bunrui] (n, vs) classification; categorization; sorting; (P) #819 [Add to Longdo] | 区分 | [くぶん, kubun] (n, vs, adj-no) division; section; demarcation; partition; segmentation; subdivision; (traffic) lane; compartment; classification; sorting; (P) #1,551 [Add to Longdo] | 区別(P);區別(oK) | [くべつ, kubetsu] (n, vs) distinction; differentiation; classification; (P) #2,611 [Add to Longdo] | 種別 | [しゅべつ, shubetsu] (n, vs) classification; assortment; (P) #3,490 [Add to Longdo] | 雑 | [ぞう, zou] (n) miscellany (classification of Japanese poetry unrelated to the seasons or to love) #10,291 [Add to Longdo] | 格付け | [かくづけ(P);かくずけ(ik), kakuduke (P); kakuzuke (ik)] (n, vs) rating; classification; allocation; grading; (P) #10,927 [Add to Longdo] | 内訳 | [うちわけ, uchiwake] (n) itemization (of expenses); the items; breakdown; classification; (P) #15,129 [Add to Longdo] | 大別 | [たいべつ, taibetsu] (n, vs) general classification; (P) #17,431 [Add to Longdo] | 類別 | [るいべつ, ruibetsu] (n, vs) classification #18,103 [Add to Longdo] | カ行 | [カぎょう, ka gyou] (n) classification for Japanese verb with the dictionary form ending in "ku"; "ka" column or row of the kana syllabary [Add to Longdo] |
| ファセット分類体系 | [ファセットぶんるいたいけい, fasetto bunruitaikei] faceted classification system [Add to Longdo] | 一段階層分類体系 | [いちだんかいそうぶんるいたいけい, ichidankaisoubunruitaikei] hierarchical classification system, monohiererchical classification system [Add to Longdo] | 一般分類体系 | [いっぱんぶんるいたいけい, ippanbunruitaikei] universal classification system, general classification system [Add to Longdo] | 回線種別 | [かいせんすべつ, kaisensubetsu] line type, line classification [Add to Longdo] | 階層化 | [かいそうか, kaisouka] stratification, classification [Add to Longdo] | 階層分類体系 | [かいそうぶんるいたいけい, kaisoubunruitaikei] hierarchical classification system, monohiererchical classification system [Add to Longdo] | 簡略分類体系 | [かんりゃくぶんるいたいけい, kanryakubunruitaikei] broad classification system [Add to Longdo] | 合成形分類体系 | [ごうせいがたぶんるいたいけい, gouseigatabunruitaikei] synthetic classification system [Add to Longdo] | 十進分類体系 | [じっしんぶんるいたいけい, jisshinbunruitaikei] decimal classification system [Add to Longdo] | 深層分類体系 | [しんそうぶんるいたいけい, shinsoubunruitaikei] close classification system, depth classification system [Add to Longdo] |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |