แผ่นดินไหว | น. การสั่นสะเทือนของแผ่นดินที่รู้สึกได้ ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งบนผิวโลก ส่วนใหญ่เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกที่รองรับผิวโลกอยู่ บางครั้งเกิดจากภูเขาไฟระเบิด. |
| |
| Earthquake | แผ่นดินไหว, Example: <p>แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่แผ่นดินเกิดการสั่นสะเทือน โดยเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกชั้นนอกซึ่งเคลื่อนที่ได้ตามกระแสความร้อนของหินละลายหลอมเหลวที่เป็นส่วนประกอบชั้นในของโลก เนื่องจากเปลือกโลกประกอบขึ้นด้วยแผ่นเปลือกโลกหลายแผ่น ดังนั้นเมื่อความร้อนจากภายในโลกดันตัวออกมาจะทำให้แผ่นเปลือกโลกบางแผ่นเกิดการเคลื่อนที่ จึงทำให้การเกิดแผ่นดินไหวบนพื้นผิวโลกเกิดเฉพาะบางแห่งไม่เกิดขึ้นโดยทั่วไป นอกจากแผ่นดินไหวจะเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังสามารถเกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ เช่น การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ การระเบิดเหมืองแร่ <p> <p>การวัดขนาดของแผ่นดินไหวนิยมวัดโดยใช้มาตราริกเตอร์ซึ่งมีค่าตั้งแต่ 0-9<br/> แผ่นดินไหวขนาดน้อยกว่า 3 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวขนาดเล็ก<br/> แผ่นดินไหวขนาด 3.5-5 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวขนาดกลาง ซึ่งสร้างความเสียหายไม่มาก<br/> แผ่นดินไหวขนาด 6-8 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวขั้นรุนแรงสร้างความเสียหายมากแก่ชีวิตผู้คน สิ่งปลูกสร้าง และทรัพย์สิน<br/> แผ่นดินไหวขนาด 9 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวที่รุนแรงมากที่สุดสร้างความเสียหายมากและเป็นบริเวณกว้าง หากเกิดขึ้นใต้พื้นท้องทะเล มักจะทำให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่ที่เรียกว่า สึนามิ <p> <p>การตรวจวัดแผ่นดินไหวในประเทศไทย<br/> ประเทศไทยได้มีการติดตั้งเครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหวครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2506 ณ สถานีตรวจวัดจังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันได้มีการกระจายการติดตั้งไปยังจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ รวมทั้งมีการติดตั้งเพิ่มเติมในบางจุด เช่น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยนำไปติดตั้งบริเวณเขื่อนขนาดใหญ่ <p> <p>การป้องกันและการบรรเทาภัยจากแผ่นดินไหวโดยรัฐ<br/> 1. ออกกฎหมายควบคุมอาคารและสิ่งก่อสร้างให้มีความแข็งแรงพอที่จะต้านแรงแผ่นดินไหว<br/> 2. จัดให้หน่วยกู้ภัยมีอุปกรณ์และเครื่องมือที่พอเพียงกับการปฏิบัติงานและฝึกซ้อมบุคลากรให้พร้อมกับการกู้ภัย<br/> 3. จัดให้มีหน่วยงานรับผิดชอบที่สามารถควบคุมและประสานงานตามแผนปฏิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br/> 4. ทำการศึกษาวิจัยในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหว<br/> 5. แบ่งเขตพื้นที่ของประเทศตามความเสี่ยงภัยต่อการเกิดแผ่นดินไหว<br/> 6. ให้ความสำคัญกับเหตุการณ์แทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นตามมา เช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม ไฟฟ้าดับ โรคระบาด<br/> <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุภาพ ภู่ประเสริฐ. (2550). แผ่นดินไหว. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้. (เล่มที่ 9, หน้า 6-57). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Earthquakes | แผ่นดินไหว [TU Subject Heading] | Nicobar Islands Earthquake, 2004 | แผ่นดินไหวที่หมู่เกาะนิโคบาร์, ค.ศ. 2004 [TU Subject Heading] | Sumatra Earthquake, 2004 | แผ่นดินไหวที่เกาะสุมาตรา, ค.ศ. 2004 [TU Subject Heading] | earthquake | earthquake, แผ่นดินไหว [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] | earthquake | แผ่นดินไหว, การสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งบนผิวโลก ส่วนใหญ่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกที่เกิดขึ้นอย่างทันทีทันใด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| | แผ่นดินไหว | [phaendinwai] (n) EN: earthquake FR: séisme [ m ] ; tremblement de terre [ m ] | แผ่นดินไหวรุนแรง | [phaendinwai runraēng] (n, exp) FR: violent tremblement de terre [ m ] ; séisme de forte amplitude [ m ] |
| tsunami | (n) คลื่นขนาดใหญ่และยาว (ระดับน้ำขึ้นสูง เป็นระยะทางยาวๆ ไม่ใช่ขึ้นแล้วลงเร็ว เหมือนคลื่นปกติ) ในทะเล ที่ไม่ได้เกิดขึ้นโดยปกติ แต่เกิดจากการแทนที่น้ำอย่างรุนแรง ทำให้มวลของน้ำเคลื่อนไหวด้วยความเร็วสูง ลักษณะคล้ายๆ กับการปาหินลงในน้ำ แล้วเกิดคลื่นแผ่กระจายออก, มีสาเหตุโดยมากจากแผ่นดินไหวนอกชายฝั่ง, มักเคลื่อนไปได้เป็นระยะทางไกลๆ (มากได้ถึงหลายพัน หรือเป็นหมื่นกิโลเมตร), เมื่อถึงฝั่ง อาจมีความสูงได้เป็นสิบเมตร และทำความเสียหายได้มาก, มาจากภาษาญี่ปุ่น 津波 [ つなみ, tsunami, สึนามิ ] <p> รายละเอียดเพิ่มเติม: <A HREF=http://www.navy.mi.th/dockyard/sara_tsinami.html>http://www.navy.mi.th/dockyard/sara_tsinami.html</A>, Syn. tidal wave | epicenter | (n, name) จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว | Richter scale | (n, name) หน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหว จากพลังงานที่แผ่นดินไหวปล่อยออกมา เช่น แผ่นดินไหวขนาด (หรือแมกนิจูด) 6.1 ตามมาตราวัดริกเตอร์ หมายเหตุ: แผ่นดินไหวจะรุนแรงไม่รุนแรง ต้องดูขนาดควบคู่ไปกับความลึกของจุดศูนย์กลาง กล่าวคือ ถ้าขนาดใหญ่แต่ถ้าอยู่ลึกมากก็อาจจะไม่แรง แต่ถึงขนาดไม่ใหญ่มาก แต่จุดศูนย์กลางอยู่ตื้นก็อาจสร้างความเสียหายได้มาก, ส่วนสิ่งที่รับรู้ได้บนดินคือ ความสั่นสะเทือน (ความรุนแรง, intensity) ซึ่งแต่ละพื้นที่บนพื้นดินจะมีความสั่นสะเทือนแตกต่างกัน แล้วแต่ว่าอยู่ใกล้ไกล จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว (epicenter) แค่ไหน <p> <b>เพิ่มเติม:</b>ความสั่นสะเทือน (intensity) ในภาษาญี่ปุ่นจะเรียก ชินโดะ (震度) และมีมาตรวัดของญี่ปุ่นเอง มีระดับตั้งแต่ 1 (เบา) ถึง 7 (รุนแรง) ถ้าพูดถึงขนาดจะใช้ว่า Magnitude |
| | earthquake | (เอิร์ธ'เควค) n. แผ่นดินไหว | quake | (เควค) vi., n. (การ) สั่นเทา, สั่น, สั่นสะเทือน, ไหว, ยวบ, แผ่นดินไหว, See also: quakingly adv., Syn. shake | seism | (ไซ'ซึม, -ซัม) n. แผ่นดินไหว | seismic | (ไซซ'มิค) adj. เกี่ยวกับหรือเกิดจากแผ่นดินไหว, See also: seismically adv., Syn. seismal, seismical | seismograph | (ไซซ'มะกราฟ) n. เครื่องมือวัดและบันทึกความสั่นสะเทือนที่เกิด จากแผ่นดินไหว., See also: seismographic adj. seismographical adj. | seismography | (ไซซมอก'กระฟี) n. การวัดและบันทึกความสั่นสะเทือนที่เกิดจากแผ่นดินไหว, =seismology (ดู), See also: seismographer n. | seismology | (ไซซมอล'โลจี) n. แผ่นดินไหววิทยา, See also: seismological adj. seismologist n. | tidal | (ไท'เดิล) adj. เกี่ยวกับกระแสน้ำขึ้นหรือลง, ขึ้นอยู่กับกระแสน้ำขึ้นหรือลง, See also: tidally adv. -Phr. tidal wave คลื่นขนาดยักษ์ที่ท่วมริมฝั่ง เนื่องจากแผ่นดินไหวหรือพายุ, คลื่นกระแสน้ำ, คลื่นทะเล, คลื่นมหาสมุทร |
| | 余震 | [よしん, yoshin] (n) แผ่นดินไหวขนาดเล็กกว่า ที่เกิดขึ้นตามมาหลังจากที่แผ่นดินไหวใหญ่, See also: S. aftershock | 地震 | [じしん, jishin] (n) แผ่นดินไหว |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |