ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -หลัก-, *หลัก* |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ | | หลัก | (n) principal, See also: main, chief, major, Example: จิตวิเคราะห์หมายถึง วิธีการรักษาที่เน้นวิธีหลักคือการปล่อยให้คนไข้ได้พูดอย่างอิสระ, Thai Definition: ส่วนที่สำคัญ | หลัก | (n) stake, See also: post, pole, Syn. เสา, ที่มั่น, ที่ผูก, หลักยึด, Example: เขาเอาเรือไปผูกไว้กับหลัก | หลัก | (adj) main, See also: principal, major, chief, essential, Syn. สำคัญ, Example: บทบาทของจอภาพเป็นอุปกรณ์หลักในการแสดงผล | หลัก | (n) principle, See also: tenet, Syn. หลักการ, แก่น, Example: หน้าที่ของศูนย์นี้หลักใหญ่ก็คือ การช่วยเหลือในรูปของสวัสดิการ, Thai Definition: สาระสำคัญ | หลัก | (n) pole, Syn. เสา, ที่มั่น, ที่ผูก, หลักยึด, Example: เขาเอาเรือไปผูกไว้กับหลัก | หลัก | (n) main principle, See also: basic, core, main theme, Syn. หลักการ, แก่น, Example: หน้าที่ของศูนย์นี้หลักใหญ่ก็คือการช่วยเหลือในรูปของสวัสดิการ, Thai Definition: สาระสำคัญ | หลักการ | (n) principle, Syn. หลัก, แนว, วิถีทาง, แนวทาง, Thai Definition: หลักสาระสำคัญในการดำเนินการ | หลักชัย | (n) goal, See also: finish line, milestone, Syn. จุดหมายปลายทาง, เส้นชัย, เป้าหมาย, Example: ควรจะเป็นนักวิ่งที่ถึงหลักชัยก่อนเป็นคนแรกต้องมีความพยายามฝึกซ้อมฝึกฝนมาอย่างมาก | หลักยึด | (n) pillar (of a nation), See also: basic principle, Syn. เครื่องยึดเหนี่ยว, Example: สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันการเมืองที่มั่นคงที่สุด และเป็นหลักยึดไม่ให้สังคมไทยตกอยู่ในสภาพอนาธิปไตย ในกรณีที่มีวิกฤตการณ์ทางการเมือง | หลักลอย | (adj) unsettled, See also: homeless, Syn. ไม่มีหลักแหล่ง, ไม่อยู่เป็นที่ |
| หลัก ๑ | น. เสาที่ปักไว้, ที่ผูก, ที่มั่น, เช่น เอาเรือไปผูกไว้กับหลัก | หลัก ๑ | เครื่องหมาย เช่น หลักเขต | หลัก ๑ | เครื่องยึดเหนี่ยว เช่น มีธรรมะเป็นหลักในการดำรงชีวิต, เครื่องจับยึด เช่น หลักแจว | หลัก ๑ | สาระที่มั่นคง เช่น พูดจาไม่มีหลัก หลักกฎหมาย หลักเศรษฐศาสตร์. | หลัก ๒ | น. ตำแหน่งของตัวเลขซึ่งแสดงจำนวน คือ ถ้าเป็นเลขตัวเดียว เรียกว่า จำนวนหน่วย เลข ๒ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนสิบ เลข ๓ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนร้อย เลข ๔ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนพัน เลข ๕ ตัว เรียงกัน เรียกว่า จำนวนหมื่น เลข ๖ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนแสน เลข ๗ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนล้าน เช่น ๙๘๗ เป็นจำนวนร้อย ๙ เป็นเลขหลักร้อย หมายถึง ๙๐๐ ส่วน ๘ เป็นเลขหลักสิบ หมายถึง ๘๐ และ ๗ เป็นเลขหลักหน่วย หมายถึง ๗. | หลัก ๓ | ว. จำนวนแสน. | หลักกรรเชียง | น. หลักกระเชียง. | หลักกระเชียง | น. หลักไม้เนื้อแข็งที่มักปักไว้ที่ข้างแคมเรือข้างละอันคู่กัน มีหูกระเชียงอยู่ข้างบนสำหรับพาดกระเชียง, หลักกรรเชียง ก็ว่า. | หลักการ | น. สาระสำคัญที่ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ เช่น คณะกรรมการลงมติรับหลักการตามที่มีผู้เสนอ. | หลักชัย ๑ | น. หลักที่กำหนดไว้ว่าผู้เข้าแข่งขันที่ไปถึงก่อนเป็นผู้ชนะ, โดยปริยายหมายถึงบุคคลที่เป็นหลักยึดเหนี่ยวเพื่อชัยชนะ เช่น พระมหากษัตริย์ทรงเป็นหลักชัยของชาติ |
| | Cognitivism | หลักทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม [เทคโนโลยีการศึกษา] | Anglo-American Cataloguing Rules | หลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน, Example: เป็นหลักเกณฑ์การลงรายการทางบรรณานุกรมที่มีการใช้อย่างกว้างขวางในห้องสมุดและหน่วยงานบริการสารสนเทศทั่วโลก ซึ่งเป็นมาตรฐานในการลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อใช้เป็นสื่อความหมายให้ตรงกัน ไม่ว่าสารสนเทศนั้นจะจัดทำหรือใช้ในที่ใด ประเทศใด ภาษาใดก็ตาม สามารถใช้สารสนเทศร่วมกัน และแลกเปลี่ยนกันได้จัดพิมพ์ครั้งที่ 1 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1967 และ ได้มีการปรับปรุง และแก้ไขเพิ่มเติมอยู่เสมอ ปัจจุบันเป็นฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม ค.ศ. 1998 (Anglo-American Cataloguing Rules, 2nd ed. 1998 Revision) หรือเรียกอย่างย่อว่า AACR2R จัดทำโดยความร่วมมือของสมาคมห้องสมุดอเมริกัน คณะกรรมการลงรายการของประเทศออสเตรเลียและของประเทศแคนาดา สมาคมห้องสมุดอังกฤษและหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยอาศัยมาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรม (ISBD) เป็นหลัก ปัจจุบันกล่าวได้ว่า ISBD เป็นส่วนเดียวกับ AACR2R <p> AACR2R ได้กำหนดรูปแบบในการลงรายการบรรณานุกรมออกเป็น 8 ส่วน คือ <p> 1) ส่วนชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ <p> 2) ส่วนฉบับพิมพ์ <p> 3) ส่วนรายละเอียดเฉพาะวัสดุ หรือประเภทของสิ่งพิมพ์ <p> 4) ส่วนการพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p> 5) ส่วนลักษณะทางกายภาพ <p> 6) ส่วนชุด <p> 7) ส่วนหมายเหตุ <p> 8) ส่วนเลขมาตรฐานและข้อความที่เกี่ยวกับการได้รับ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Gilt-edged securities | หลักทรัพย์ชั้นดี [เศรษฐศาสตร์] | Convertible security | หลักทรัพย์แปลงสภาพได้ [เศรษฐศาสตร์] | ็Halt trade | หลักทรัพย์ดังกล่าวอยู่ระหว่างถูกห้ามซื้อขาย, Example: เครื่องหมายนี้ย่อมาจาก halt trade ตลาดหลักทรัพย์ติดเครื่องหมายนี้ไว้บนหลักทรัพย์เพื่อแสดงให้ผู้ลงทุนทราบว่า หลักทรัพย์ดังกล่าวอยู่ระหว่างถูกห้ามซื้อขายสำหรับช่วงเวลาการซื้อขายรอบนั้น ตลาดหลักทรัพย์จะขึ้นเครื่องหมาย H แก่หลักทรัพย์ที่ปรากฏว่า มีเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นกับบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์นั้นในระหว่างเวลาซื้อขายรอบดังกล่าว และอยู่ระหว่างรอการเปิดเผยข้อมูล ซึ่งคาดว่าจะสามารถเปิดเผยได้ทันที [ตลาดทุน] | Net Capital Rule | หลักเกณฑ์เงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิ, Example: เงินกองทุนสภาพคล่องของบริษัท หมายถึง สินทรัพย์สภาพคล่องของบริษัทหักด้วยหนี้สินรวมของบริษัทนั้น เงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิ หมายถึง เงินกองทุนสภาพคล่องหักด้วยค่าความเสี่ยง ได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์เงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิขึ้นมาใช้ก็เพื่อเป็นการเพิ่มมาตรฐานเกี่ยวกับฐานะความมั่นคงทางการเงินของบริษัทหลักทรัพย์ และเพื่อสร้างความมั่นใจว่าบริษัทหลักทรัพย์จะดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องให้เพียงพอที่จะจ่ายคืนหนี้สินแก่ลูกค้าเมื่อบริษัทประสบปัญหาทางการเงิน [ตลาดทุน] | Portfolio | หลักทรัพย์ในครอบครอง, Example: หลักทรัพย์ทั้งหมดในความครอบครองของผู้ลงทุนรายใดรายหนึ่ง ทั้งนี้จะต้องประกอบด้วยหลักทรัพย์จำนวนตั้งแต่ 2 ชนิด หรือ 2 บริษัทขึ้นไป จุดประสงค์ของการสร้าง portfolio ก็เพื่อลดความเสี่ยงในการลงทุนด้วยการกระจายลงทุนในหลักทรัพย์หลายบริษัทหรือหลายประเภท [ตลาดทุน] | Collateral | หลักประกันเงินกู้, Example: สิ่งที่ผู้กู้ใช้ในการค้ำประกันเงินกู้ ตามปกติผู้ให้กู้มีสิทธิยึดหลักประกันเงินกู้หรือดำเนินการอื่นใดตามที่ระบุไว้ในสัญญากู้ยืม เมื่อผู้กู้ไม่สามารถชำระคืนเงินกู้ หลักประกันเงินกู้อาจแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. อสังหาริมทรัพย์ คือทรัพย์สินที่เคลื่อนย้ายไม่ได้ เช่น ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เป็นต้น หลักประกันเงินกู้ประเภทนี้เป็นที่นิยมกันทั่วไปทั้งในการกู้ยืมจากสถาบันการเงินในระบบและนอกระบบ 2.สังหาริมทรัพย์ เป็นทรัพย์สินมีค่าต่าง ๆ ที่เคลื่อนย้ายได้ อาทิ เครื่องจักร สินค้า รถยนต์ ทองคำ เงินเดือน บัญชีเงินฝาก และหลักทรัพย์ทางการเงินอื่น ๆ [ตลาดทุน] | Margin | หลักประกันของลูกค้า, Example: จำนวนเงินหรือทรัพย์สินที่ลูกค้าวางไว้กับบริษัทหลักทรัพย์เพื่อการซื้อหุ้นโดยใช้สินเชื่อหรือเพื่อการขายชอร์ตกับบริษัทหลักทรัพย์นั้น ตลาดหลักทรัพย์จะกำหนดอัตราขั้นต่ำที่ลูกค้าต้องวางหลักประกันไว้เรียกว่า Initial Margin Rate เช่น ร้อยละ 50 ของมูลค่าหุ้นที่ซื้อหรือขายชอร์ต เป็นต้น ตลาดหลักทรัพย์อาจกำหนดเปลี่ยนแปลงอัตรา Margin ได้หากภาวะความเสี่ยงใน ตลาดหลักทรัพย์เปลี่ยนแปลง เงิน Margin ที่ลูกค้าต้องวางเริ่มแรกนี้ เรียกว่า Initial Margin [ตลาดทุน] | Listed security | หลักทรัพย์จดทะเบียน, Example: หลักทรัพย์ที่ได้รับการจดทะเบียนให้เป็นสินค้าเพื่อการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ หลักทรัพย์จดทะเบียนและบริษัท จดทะเบียนผู้ออกหลักทรัพย์ดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่ตลาดหลักทรัพย์กำหนด [ตลาดทุน] |
| | หลัก | [lak] (n) EN: stake ; post ; pole ; pillar FR: borne [ f ] ; piquet [ m ] ; jalon [ m ] ; pieu [ m ] ; poteau [ m ] ; pilier [ m ] | หลัก | [lak] (n) EN: principle ; tenet ; basis ; foundation ; ground FR: base [ f ] ; fondement [ m ] ; principe [ m ] ; pilier [ m ] (fig.) | หลัก | [lak] (n) EN: figure ; digit FR: chiffre [ m ] | หลัก | [lak] (adj) EN: main ; basic ; fundamental ; principal ; essential ; major ; chief FR: principal ; primordial ; fondamental ; essentiel ; basique | หลักกฎหมาย | [lak kotmāi] (n, exp) EN: legal principle ; theory law | หลักการ | [lakkān] (n) EN: principle ; tenet FR: principe [ m ] ; règle [ f ] | หลักการทางศีลธรรม | [lakkān thāng sīnlatham] (n, exp) EN: moral standards FR: principe moral [ m ] | หลักการบัญชี | [lakkān banchī] (n, exp) EN: accounting principles FR: principes comptables [ mpl ] | หลักการพื้นฐาน | [lakkān pheūnthān] (n, exp) EN: basic principle FR: principe de base [ m ] | หลักของความก้าวหน้า | [lak khøng khwām kāonā] (n, exp) EN: principle of progression |
| Silent Wave Motor | (n) มอเตอร์ที่หมุนโดยอาศัยหลักคลื่นเสียงความถี่สูง Ultra-Sound ซึ่งสามารถออกแบบให้มีขนาดเล็ก พัฒนาโดยบริษัท Nikon เพื่อให้หมุนปรับโฟกัสในเลนส์รุ่นที่มีอักษร AF-S, See also: SWF, USM | Ultra Sonic Motor | (n) มอเตอร์ที่หมุนโดยอาศัยหลักคลื่นเสียงความถี่สูง Ultra-Sound ซึ่งสามารถออกแบบให้มีขนาดเล็ก พัฒนาโดยบริษัท Canon เพื่อให้หมุนปรับโฟกัสในเลนส์รุ่นที่มีอักษร USM, See also: USM, SWF | rule of law | (n) หลักนิติธรรม | part-time | (n) นอกเวลา, ไม่เต็มเวลา เช่น part-time job งานนอกเวลา ที่ไม่ใช่งานหลัก | computer-based learning | (n) การเรียนรู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อหลัก | metta | (n) เมตตา (จากหลักศาสนาพุทธ) | security | (n, adj) ความปลอดภัย, สิ่งที่ทำให้ปลอดภัย, ความมั่นคง, การค้ำประกัน, หลักทรัพย์, ธนบัตร, คนรับรอง, สวัสดิการ, เกี่ยวกับการประกัน, See also: protection, Syn. certificate | sidebar | (n) ข่าวหรือข้อมูลสั้นๆที่แทรกอยู่ข้างๆของข่าวหรือข้อความหลักทั้งในสิ่งพิมพ์บนเว็บและในหนังสือ โดยมากมักจะมีความเกี่ยวข้องกับข้อความหลัก | evidence | (n) หลักฐาน | main outcome measure | (n, phrase) ตัววัดผลหลัก เช่น The main outcome measure was the Health Assessment Questionnaire (HAQ). |
| accounting | (n) หลักการบัญชี, See also: ทฤษฎีการทำบัญชี | address | (n) หลักแหล่ง, See also: ที่พัก, ที่อยู่อาศัย, ที่อยู่, Syn. residence, dwelling, home | aesthetic | (n) หลักแห่งความงาม, See also: ทฤษฎีความงาม | astute | (adj) ฉลาด, See also: หลักแหลม, มีไหวพริบ, มีเล่ห์เหลี่ยม, Syn. cunning, crafty, shrewd | axiom | (n) กฎเกณฑ์ที่ยอมรับกันทั่วไป, See also: หลักการที่เป็นที่ยอมรับ, Syn. maxim, saying, adage | ABC of something | (idm) หลักเบื้องต้นของบางสิ่ง, See also: ข้อมูลพื้นฐานของบางสิ่ง | basis | (n) รากฐาน, See also: หลักพื้นฐาน, หลัก, Syn. foundation | bright | (adj) เฉียบแหลม, See also: หลักแหลม, หัวไว, เร็ว, Syn. brilliant, smart, Ant. dull | canon | (n) หลักการทั่วไป, Syn. rule, principle | caveat emptor | (n) หลักในการซื้อขายที่ผู้ซื้อจะต้องเป็นผู้ที่รับผิดชอบในการหาคุณภาพที่บกพร่องของสินค้า |
| able | (เอ' เบิล) adj. สามารถ, เก่ง, หลักแหลม, มีคุณสมบัติตามกฎเกณฑ์, สมบูรณ์, Syn. skilled | abolitionism | (แอบบะลิซ' เชินนิสซึม) n. หลักเกณฑ์นโยบายการเลิกล้ม. -abolitionist. n. | absolute idea | หลักการที่ว่าขบวนการของโลกเป็นการแสดงออกและบรรลุผล (spiritual principle) | access key | กุญแจการเข้าถึงหมายถึง รหัส หรือคำหลักที่ใช้เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลที่มีเก็บไว้ได้ ข้อมูลบางอย่างต้องทำเป็นการเฉพาะ และจะยอมให้เรียกมาใช้ได้เฉพาะคนบางกลุ่ม จึงต้องมีกุญแจที่จะให้รู้กันเฉพาะคนในกลุ่ม ผู้ที่ไม่รู้กุญแจ ก็ไม่สามารถเรียกเอาข้อมูลออกมาดู หรือมาใช้หรือแก้ไขได้ | acuity | (อะคิว' อิที) n. ความหลักแหลม, ความคม, ความรุนแรง, ความคมกริบ, ความชัดเจน | aculeate | (อะคิว' ลีเอท) adj. มีส่วนที่แหลม, มีเดือยหรือเล็บแหลม, มีหนาม, รุนแรง, ดุเดือด, หลักแหลม (pointed, stinging, aculeated) | agiotage | (แอจ' จิโอทิจ) n. ธุรกิจการเปลี่ยนเงินตรา, ธุรกิจนายหน้าหลักทรัพย์หรือใบหุ้น | ahimsa | (อะฮิม' ซา, อะฮีง' ซา) อหึงสา, หลักปฏิบัติของฮินดูที่ไม่ยึดถือความรุนแรง | allemande | (แอล' ลิมานดฺ) n., (pl. -mandes) การเต้นรำในศตวรรษที่ 17-18 ที่มีจังหวะคู่ที่ช้า, ดนตรีที่อาศัยหลักการเต้นรำดังกล่าว | altruism | (แอล' ทรูอิสซึม) n. หลักการปฏิบัติที่เห็นแก่ประโยชน์ของผู้อื่นเป็นที่ตั้ง (philanthropy) -altruist n. |
| able | (adj) สามารถ, เก่ง, หลักแหลม | acuity | (n) ความหลักแหลม, ความเฉียบแหลม, ความชัดเจน, ความรุนแรง | anchor | (n) สมอเรือ, หลัก | anomalous | (adj) วิปริต, ผิดปกติ, ผิดหลัก, ผิดที่ | attestation | (n) การเป็นพยาน, การให้การ, การรับรอง, พยานหลักฐาน, การปฏิญาณตน | axis | (n) เพลา, แกน, อักษะ, แนวหลัก | base | (n) ฐาน, ราก, หลัก, ที่ตั้ง, ที่มั่น, พื้น | basis | (n) มูลฐาน, หลักฐาน, รากฐาน, ส่วนสำคัญ, กฎเกณฑ์ | bourse | (n) ตลาดค้าหุ้น, ตลาดหลักทรัพย์ | bright | (adv) สว่างไสว, แจ่มใส, แจ่มแจ้ง, สดใส, ร่าเริง, ฉลาด, หลักแหลม |
| crash course | [แครชคอร์ส] หลักสูตรเร่งรัด | Good Governence | หลักธรรมาภิบาล | ground rod | (n) หลักดิน (เกี่ยวข้องกับระบบป้องกันไฟฟ้าดูด ฟ้าผ่า) | non-refoulement | (n) หลักการไม่ส่งผู้ลี้ภัยกลับไปยังดินแดนหรือถิ่นที่ชีวิตและเสรีภาพของพวกเขาจะถูกคุกคาม Non-refoulement is a principle in international law, specifically, refugee law, which protects refugees from being returned to places where their lives and freedoms would be threatened.[ Google ] Art.33(1) of the 1951 UN Convention on the Status of Refugees, and its 1967 protocol. | performance bond | หลักประกันการปฎิบัติตามสัญญา | performance guarantee | (n) หลักประกันการปฎิบัติตามสัญญา | retention guarantee | หลักประกันผลงานตามสัญญา | security bond | หลักทรัพย์ประกัน |
| カリキュラム | [かりきゅらむ, karikyuramu] (n) หลักสูตร | 証拠 | [しょうこ, shouko] (n) หลักฐาน(ในคดี) |
| 指揮幕僚課程 | [しきばくりょうかてい, shikibakuryoukatei] (n) หลักสูตรเสนาธิการทหาร | それから | [それから, sorekara, sorekara , sorekara] หลักจากนั้น, ต่อจากนั้น |
| 証し | [あかし, akashi] TH: หลักฐาน EN: evidence | 基準 | [きじゅん, kijun] TH: หลักเกณฑ์ EN: criteria |
| Börse | (n) |die, pl. Börsen| ตลาดหุ้น, ตลาดหลักทรัพย์ | Konzept | (n) |das, pl. Konzepte| หลักการ, คอนเซ็ปต์ | denen | (rel, pron) สรรพนามสำหรับนามพหูพจน์รูป Dativ ที่ใช้ในวลีที่เชื่อมกับประโยคหลัก เช่น Wir kümmern uns um die Personen, von denen ihr Geschäft abhängt. เราดูแลผู้คนที่มีความสำคัญต่อธุรกิจของเขาเอง | deren | (relpron) ของเธอ (เป็นสรรพนามสำหรับนามเอกพจห์เพศหญิงรูป Genetiv ที่ใช้แสดงความเป็นเจ้าของในวลีที่เชื่อมกับประโยคหลัก) เ เช่น Das ist Frau Schwarzkopf, deren Namen auf dem Schwarzbrett steht. นี่คือคุณชวาสคอร์ฟที่ชื่อของเธออยู่บนบอร์ด | raffiniert | (adj) ฉลาดหลักแหลม มีไหวพริบ, See also: clever | Pragmatismus | (n) |der, nur Sg.| ปฏิบัตินิยม, หลักการหรือปรัชญาที่ว่าผลของการปฏิบัติเป็นแกนหรือความหมายของความรู้ | Sprachkurs | (n) |der, pl. Sprachkurse| คอร์สเรียนภาษา, หลักสูตรเรียนภาษา เช่น Pattara wird einen Sprachkurs am Goethe-Institut nehmen. | Vorbereitungskurs | (n) |der, pl. Vorbereitungskurse| วิชาหรือหลักสูตรปูพื้นฐานความรู้ก่อนเข้าเรียนในสาขาใดๆ | Zusammenfassung | (n) |die, pl. Zusammenfassungen| บทสรุป, ใจความ, บทคัดย่อ, สาระสำคัญ, เนื้อหาหลัก, See also: die Kurzfassung, das Schlusswort, Syn. die Übersicht | Grundnahrungsmittel | (n) |der, pl. Grundnahrungsmittel| อาหารหลัก เช่น Schließlich wird das Bier häufig als Grundnahrungsmittel bezeichnet und als Kulturgut angesehen. |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |