“Demure” : The word redefines elegance and confidence in 2024 (เรียนภาษาอังกฤษ in English) “Demure” เป็นคำศัพท์ที่ได้รับความสนใจจากโซเชียลมีเดียโดยเฉพาะ Tiktok ซึ่งสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่หันมาให้ความสำคัญกับความเรียบง่าย ความมั่นใจ และความใส่ใจในรายละเอียดทั้งในรูปลักษณ์และพฤติกรรม โดยคำนี้ได้รับการนิยามใหม่จากความหมายดั้งเดิมที่เกี่ยวกับความสุภาพถ่อมตัวและความสงวนท่าที ให้กลายเป็นสัญลักษณ์ของความสง่างามที่มาพร้อมความมั่นใจอย่างมีชั้นเชิงในโลกที่เต็มไปด้วยความโดดเด่นฉูดฉาด การเปลี่ยนแปลงนี้ซึ่งได้รับอิทธิพลอย่างมากจากเทรนด์ในโซเชียลมีเดียและทัศนคติของสังคมที่พัฒนาไป ชี้ให้เห็นถึงการยอมรับในรูปแบบการแสดงตัวตนที่แฝงด้วยความลึกซึ้งและงดงามในปัจจุบัน The word “demure” was selected as Dictionary.com’s 2024 Word of...
ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

-ท ๓-

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -ท ๓-, *ท ๓*
(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา -ท ๓- มีน้อย ระบบได้ทดลองค้นหาใหม่โดยใส่ดอกจันทน์ (wild-card) ให้โดยอัตโนมัติ: *ท ๓*)
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ท ๓(ทะ) ใช้เป็นคำนำหน้านาม แปลว่า คน, ผู้, เช่น ทมูลทนาย ทแกล้วทหาญ, ท่าน เช่น ทชี.
ท ๓น. ชนเชื้อชาติไท มีหลายสาขาด้วยกัน เช่น ไทใหญ่ ไทดำ ไทขาว
ท ๓ความมีอิสระในตัว, ความไม่เป็นทาส, เช่น เราเป็นไทไม่ใช่ทาส.
บาท ๓น. ส่วนหนึ่งของบทแห่งคำประพันธ์ เช่น โคลง ๔ สุภาพ บทหนึ่งมี ๔ บาท.
ประสาท ๓น. ยินดีให้, โปรดให้, เช่น ประสาทปริญญา ประสาทพร.
ขา ๒สลึง, ใช้เฉพาะราคาทองคำที่คิดเป็นราคาเงินบาท เศษที่เป็นสลึง เรียกว่า ขา เช่น ทองคำหนัก ๑ บาท เป็นราคาเงิน ๘ บาท ๒ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสองขา ถ้าเป็นราคาเงิน ๘ บาท ๓ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสามขา.
มหานันททายีน. ชื่อโคลงโบราณอย่างหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ บาท ๓ บาทแรก บาทละ ๗ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๒ คำ บาทที่ ๔ มี ๙ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๔ คำ บังคับสัมผัสคำที่ ๗ ของบาทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๔ ของบาทที่ ๒ และคำที่ ๔ ของบาทที่ ๓ คำที่ ๗ ของบาทที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบาทที่ ๔ ไม่บังคับตำแหน่งคำเอกคำโท เช่น

คู่กับ นันททายี.

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ท ๓(ทะ) ใช้เป็นคำนำหน้านาม แปลว่า คน, ผู้, เช่น ทมูลทนาย ทแกล้วทหาญ, ท่าน เช่น ทชี.
ท ๓น. ชนเชื้อชาติไท มีหลายสาขาด้วยกัน เช่น ไทใหญ่ ไทดำ ไทขาว
ท ๓ความมีอิสระในตัว, ความไม่เป็นทาส, เช่น เราเป็นไทไม่ใช่ทาส.
บาท ๓น. ส่วนหนึ่งของบทแห่งคำประพันธ์ เช่น โคลง ๔ สุภาพ บทหนึ่งมี ๔ บาท.
ประสาท ๓น. ยินดีให้, โปรดให้, เช่น ประสาทปริญญา ประสาทพร.
ขา ๒สลึง, ใช้เฉพาะราคาทองคำที่คิดเป็นราคาเงินบาท เศษที่เป็นสลึง เรียกว่า ขา เช่น ทองคำหนัก ๑ บาท เป็นราคาเงิน ๘ บาท ๒ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสองขา ถ้าเป็นราคาเงิน ๘ บาท ๓ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสามขา.
มหานันททายีน. ชื่อโคลงโบราณอย่างหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ บาท ๓ บาทแรก บาทละ ๗ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๒ คำ บาทที่ ๔ มี ๙ คำ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๔ คำ บังคับสัมผัสคำที่ ๗ ของบาทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๔ ของบาทที่ ๒ และคำที่ ๔ ของบาทที่ ๓ คำที่ ๗ ของบาทที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบาทที่ ๔ ไม่บังคับตำแหน่งคำเอกคำโท เช่น

คู่กับ นันททายี.

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top