ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -ดรรชนี-, *ดรรชนี* |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ดรรชนี | (n) index, Syn. ดัชนี, Example: เวลาเราค้นหนังสือ เราสามารถค้นได้ทั้งดรรชนีผู้แต่ง ดรรชนีชื่อเรื่อง หรือดรรชนีหัวเรื่อง, Thai Definition: บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้นๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ดรรชนี | (n) index finger, See also: forefinger, second finger, Syn. นิ้วชี้, ดัชนี, Example: อิงอรเป็นผู้แต่งเรื่องดรรชนีนาง, Count Unit: นิ้ว, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ดรรชนี | (n) index, See also: list, Syn. ดัชนี, Thai Definition: ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ดรรชนี | (n) index number, Syn. ดัชนี, Thai Definition: ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ดรรชนี | (n) index finger, See also: forefinger, Syn. นิ้วชี้, Example: อิงอรเป็นผู้แต่งเรื่องดรรชนีนาง, Count Unit: นิ้ว, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ดรรชนี | (n) index, Syn. ดัชนี, Example: เวลาเราค้นหนังสือ เราสามารถค้นได้ทั้งดรรชนีผู้แต่ง ดรรชนีชื่อเรื่อง หรือดรรชนีหัวเรื่อง, Thai Definition: บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้นๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ดรรชนีหักเห | (n) refractive index, See also: index of refraction, Syn. ดัชนีหักเห, Example: เมื่อเขาโยนลูกบอลกระดอนแตะพื้นไปยังกำแพง ดรรชนีหักเหจะเป็นเท่าไร, Thai Definition: ดรรชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง | ดรรชนีหักเห | (n) refractive index, See also: index of refraction, Syn. ดัชนีหักเห, Example: เมื่อเขาโยนลูกบอลกระดอนแตะพื้นไปยังกำแพง ดรรชนีหักเหจะเป็นเท่าไร, Thai Definition: ดรรชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง |
|
| ดรรชนี ๑ | (ดัดชะนี) น. นิ้วชี้, นิ้วที่อยู่ระหว่างนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วกลาง, ราชาศัพท์ว่า พระดรรชนี, ดัชนี ก็ใช้. | ดรรชนี ๒ | (ดัดชะนี) น. จำนวนที่เขียนไว้บนมุมขวาของอีกจำนวนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ฐาน เพื่อแสดงการยกกำลังของฐานนั้น เช่น ๓๒ ๒ เป็นดรรชนีของ ๓ | ดรรชนี ๒ | ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง เช่น ดรรชนีค่าครองชีพ | ดรรชนี ๒ | ดัชนี ก็ใช้. | ดรรชนี ๓ | น. บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญ ๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้น ๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, ดัชนี ก็ใช้. | ดรรชนีหักเห | น. ดรรชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง, ดัชนีหักเห ก็ใช้. | ดัชนี ๒ | ดรรชนี ก็ใช้. |
| | Periodical index | ดรรชนีวารสาร [เทคโนโลยีการศึกษา] | Title index | ดรรชนีชื่อเรื่อง [เทคโนโลยีการศึกษา] | Thumb index | ดรรชนีหัวแม่มือ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Index | ดรรชนี หรือ ดัชนี, Example: ดรรชนี หรือ บัญชีค้นคำ (index) เป็นการนำหัวข้อย่อยๆ และคำบางคำ ที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง มาจัดเรียงตามลำดับอักษร แล้วกำกับด้วยเลขหน้าที่หัวข้อย่อย และคำบางคำนั้นปรากฏอยู่ เพื่อช่วยให้ผู้อ่าน ได้ค้นหาเรื่องราวไปยังข้อมูลและแหล่งข้อมูลได้ตามต้องการและรวดเร็วขึ้น และเป็นการควบคุมทางบรรณานุกรมสำหรับสารสนเทศในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งตามวัตถุประสงค์ของผู้จัดทำดรรชนี <p>โครงสร้างของดรรชนี ประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน ดังนี้คือ <p>1. คำ กลุ่มคำ วลี ข้อความ ที่ใช้แทนเนื้อหา อาจเป็นคำที่ปรากฏอยู่ในเอกสาร เป็นคำที่ปรากฏใช้บ่อบในเอกสาร หรือเป็นคำศัพท์มาตรฐานที่นำมาจากคู่มือหัวเรื่อง หรือศัพท์สัมพันธ์ <p>2. ข้อมูลชี้แหล่งหรือตำแหน่งของสารสนเทศ เช่น ข้อมูลทางบรรณานุกรมของดรรชนีวารสาร ได้แ่ก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร ปีที่ ฉบับที่ วันเดือนปี และเลขหน้า เล่มที่ และหน้าที่ปรากฏเนื้อหา เป็นต้น <p>ประเภทของดรรชนี จำแนกได้ ดังนี้ <p>1. จำแนกตามทรัพยากรสารสนเทศที่นำมาจัดทำ 3 ประเภท คือ <p>1.1 ดรรชนีวารสาร (Periodical index) <p>1.2 ดรรชนีหนังสือพิมพ์ (Newsapers index) <p>1.3. ดรรชนีหนังสือเล่ม (Book index) <p>2. จำแนกตามวิธีการจัดทำ แบ่งเป็น <p>2.1 ดรรชนีที่ทำด้วยระบบมือ (Manual system) จำแนกเป็น ใช้วิธีค้นคำหรือกลุ่มคำจากเอกสารตามที่ปรากฏ หรือการกำหนดคำหรือวลีซึ่งใช้เป็นตัวแทนเนื้อหา ได้แก่ ภาษาดรรชนี เช่น หัวเรื่อง ศััพท์สัมพันธ์ <p>2.2 ดรรชนีที่จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยกำหนดให้คอมพิวเตอร์ดึงคำ วลี หรือกลุ่มคำจากเอกสาร <p>3. จำแนกตามองค์ประกอบหรือลักษณะของดรรชนี มีรายละเอียด ดังนี้ <p>3.1 มีข้อมูลตัวแทน ข้อมูลระบุลักษณะ และข้อมูลชี้แหล่ง เช่น ดรรชนีวารสาร จะระบุคำหัวเรื่องซึ่งเป็นตัวแทนเนื้อหา ระบุชื่อผู้เขียนบทความ ชื่อบทความ ซึ่งเป็นข้อม฿ูลระบุลักษณะ และระบุข้อมูลชี้แหล่ง คือ ชื่อวารสาร วันเดือนปี และเลขหน้าที่เรื่องนั้นๆ ปรากฏ <p>3.2 มีข้อมูลตัวแทนและข้อมูลชี้แหล่ง แต่ไมีมีข้อมูลระบุลักษณะ ได้แก่ ดรรชนีท้ายเล่มหนังสือ ซึ่งมีตำ หรือวลี เป็นข้อมูลตัวแทนเนื้อหา และระบุเลขหน้าที่คำนั้นๆ ปรากฏ <p>3.3 มีข้อมูลตัวแทนและข้อมูลระบุลักษณะ แต่อาจมีหรือไม่มีข้อมูลชี้แหล่ง เช่น ดรรชนีควิก (Kwic index) และดรรชนีควอก (Wkoc index) <p>4. จำแนกตามแหล่งที่อยู่ของดรรชนี ได้แก่ <p>4.1 ดรรชนีที่อยู่กับแหล่งสารสนเทศ ได้แก่ ท้ายเล่มหนังสือ (Book index) ประกอบด้วย ดรรชนีชื่อผู้แต่ง ดรรชนีชื่อเรื่อง ดรรชนีหัวเรื่อง และดรรชนีคำสำคัญ <p>4.2 ดรรชนีที่อยู่ต่างหาก (Independent index) เช่น ดรรชนีในรูปบัตร รูปเล่ม และฐานข้อมูลดรรชนี เช่น ดรรชนีวารสารและหนังสือพิมพ์ ฐานข้อมูลสำเร็จรูปต่างๆ เช่น ERIC, DAO เป็นต้น และรายการในบัตรรายการประเภทต่างๆ เป็นต้น <p>รายการอ้าอิง: <p>ทัศนา หาญพล. "การทำดรรชนี" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ หน้า 224-248. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Periodical index | ดรรชนีวารสาร, Example: <p>ดรรชนีวารสาร (Periodical Index) เป็นดรรชนีที่จำแนกตามลักษณะของทรัพยากรสารสนเทศ จัดทำขึ้นเพื่อนำผู้ใช้ไปยังวารสารที่มีบทความนั้นๆ ปรากฏอยู่ ดรรชนีวารสารจำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ <p>1. ใช้้ค้นบทความทั่วๆ ไป ที่ลงในวารสารต่างๆ ไม่เจาะจงชื่อวารสารชื่อใดชื่อหนึ่ง เช่น Reader's Guide to Periodical Literature ซึ่งเป็นดรรชนีวารสาร นิตยสาร วารสารทางวิชาการ จัดทำขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1901 โดย H.W. Wilson Company <p>ตัวอย่าง Reader's Guide to Periodical Literature <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Readers-Guide.jpg" alt="Readers' Guide to Periodical Literature"> <p>วิธีการใช้ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Sample-Readers-Guide.jpg" width="640" higth="200" alt="How to Use Readers' Guide to Periodical Literature"> <p>ปัจจุบันได้จัดทำเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ แบ่งเป็น 2 ฐานข้อมูล คือ Readers' Guide to Periodical Literature ซึ่งครอบคลุมข้อมูลตั้งแต่ปี 1983 ถึงปัจจุบัน (http://www.ebscohost.com/academic/readers-guide-to-periodical-literature) และ Readers' Guide Retrospective: 1890-1982 ครอบคลุมข้อมูลของปี 1890-1982 (http://www.ebscohost.com/academic/readers-guide-retrospective) <p>2. ใช้ค้นเรื่องที่ลงในวารสารชื่อเรื่องใดชื่อเรื่องหนึ่ง อาจเป็นสำนักพิมพ์ที่จัดพิมพ์วารสารนั้นๆ จัดทำขึ้น เช่น ดรรชนีราชกิจจาบุเบกษา <p>3. ใช้ค้นเรื่องในสาขาเฉพาะที่ตีพิมพ์ในวารสาร เช่น Applied Science & Technology Index ปัจจุบันได้จัดทำเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ โดย EBSCO <p>รายการอ้างอิง: <p>ทัศนา หาญพล. "การทำดรรชนี" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ หน้า 224-248. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. <p>City College of San Francisco. Finding Periodical Articles Using Print Indexes. Available: http://www.ccsf.edu/Librar/printindexes.pdf. Accessed: 20120416. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Relative index | ดรรชนีสัมพันธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Thumb index | ดรรชนีหัวแม่มือ, ดรรชนีริมกระดาษ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Title index | ดรรชนีชื่อเรื่อง, Example: <p>เป็นการทำดรรชนีโดยการนำชื่อเรื่องของหนังสือ บทความ และเอกสารอื่นๆ มาลงรายการดรรชนีเป็นรายการหลัก และปรากฏอยู่ที่ท้ายเล่มของดรรชนีของหนังสือ ดรรชนีวารสาร และดรรชนีหนังสือพิมพ์ หรือปัจจุบันมีการทำดรรชนีชื่อเรื่องให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ตด้วย <p>ตัวอย่าง ดรรชนีชื่อเรื่อง ของวารสารประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย <p><p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Pop-Ti-Index.jpg" width="640" higth="200" alt="Population Science Title Index"> <p>ตัวอย่าง การให้บริการดรรชนีชื่อเรื่องทางอินเทอร์เน็ตของ TDRI <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-TDRI-Ti2.jpg" width="640" higth="200" alt="TDRI Title Index"> <p>การทำดรรชนีชื่อเรื่องเป็นลักษณะฐานข้อมูลและให้บริการทางอินเทอร์เน็ตนั้น เอื้ออำนวยเป็นอย่างมากในการเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลโดยตรง <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-TDRI-Ti-Full-Text.jpg" width="640" higth="200" alt="TDRI Title Index Full Text"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Birth Rate Ratio | ดรรชนีชีพ, ดัชนีชีพ [การแพทย์] | Cephalic Index | ดรรชนีศีรษะ [การแพทย์] |
| | ดรรชนี = ดัชนี | [datchanī] (n) EN: index ; rate ; list FR: index [ m ] ; indice [ m ] ; taux [ m ] ; liste [ f ] | ดรรชนี = ดัชนี | [datchanī] (n) EN: index finger ; forefinger FR: index [ m ] | ดรรชนีค้นคำ | [datchanī khon kham] (n, exp) EN: index FR: index [ m ] | ดรรชนีค้นเรื่อง | [datchanī khon reūang] (n, exp) EN: subject index | ดรรชนีชื่อผู้แต่ง | [datchanī cheū phūtaeng] (n, exp) EN: author index FR: index des auteurs [ m ] | ดรรชนีชื่อหนังสือ | [datchanī cheū nangseū] (n, exp) EN: title index FR: bibliographie [ f ] | ดรรชนีผู้แต่ง | [datchanī phūtaeng] (n, exp) EN: author index FR: index des auteurs [ m ] | ดรรชนีวารสาร | [datchanī wārasān] (n, exp) EN: periodical index | ดรรชนีหักเห | [datchanī hakhē] (n, exp) EN: refractive index |
| forefinger | (n) นิ้วชี้, See also: ดรรชนี, ดัชนี, Syn. index finger | index | (n) ดัชนี, See also: ดรรชนี, Syn. inventory, register, directory, list | indices | (n) ดัชนี (คำนามพหูพจน์ของคำนาม index), See also: ดรรชนี, Syn. directory file, inventory, roll | price index | (n) ดรรชนีราคา, See also: ดรรชนีแสดงระดับการเปลี่ยนแปลงของสินค้ากับการบริการ, Syn. index |
| concordance | (คอนคอร์'เดินซฺ) n. การตกลงกัน, ความสอดคล้องกัน, ดรรชนีเรื่องตามอักษร | index | (อิน' เดคซฺ) n. ดรรชนี, เครื่องชี้, เข็มชี้, นิ้วชี้, เลขกำลังในเครื่องหมายพีชคณิต, สารบัญสิ่งตีพิมพ์ที่ต้องห้ามในศาสนาโรมันคาทอลิก (Index Librorum Prohibitorum) , หนังสือหรือวัตถุที่ต้องห้าม, สารบัญ, คำนำ. -vt. จัดให้มีสารบัญ, จัดให้มีดรรชนี, ใส่ดรรชนี, เ | indexed file | แฟ้มดรรชนีหมายถึง แฟ้มพิเศษต่างหากที่บอกตำแหน่งที่อยู่ของระเบียนต่าง ๆ ที่เก็บ ไว้ในแฟ้มฐานข้อมูล (database file) การหาข้อมูลด้วยวิธีนี้ จะทำได้เร็วมาก | indexed sequential access | วิธีการเข้าถึงลำดับดรรชนีใช้ตัวย่อว่า ISAM (อ่านว่า ไอแซม) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่ง เพื่อให้สามารถเรียกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง ใช้ในโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล | indicative | (อินดะเค' ทิฟว) adj. เป็นการชี้บอก, ซึ่งชี้แนะ, เป็นดรรชนี. -n. มาลาเล่าในไวยาการณ์, คำกริยาในมาลาบอกเล่าของไวยากรณ์., See also: indicatively adv., Syn. guiding | indicator | (อิน' ดิเคเทอะ) n. ดรรชนี, เครื่องชี้นำ, สิ่งชี้นำ, Syn. pointer, guide, sign หมายถึง อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวชี้บอกสภาพบางประการของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้นว่า มีไฟแดงขึ้นที่หน่วยขับจานบันทึก disk drive เพื่อบอกว่าอุปกรณ์ส่วนนี้กำลังทำงาน หรืออาจเป็นสัญลักษณ์อย่างใดอย่างหนึ่งโผล่ขึ้นบนจอภาพในระหว่างการกระทำการ execution เช่น มีสัญลักษณ์แสดงว่า ข้อมูลล้นหน่วยความจำ overflow เป็นต้น | inverted file | แฟ้มผกผันหมายถึง โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดหนึ่ง ที่มีดรรชนีคอยบ่งบอกถึงที่อยู่ (location) ของระเบียน (record) ที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ หรือระเบียนที่มีลักษณะตามที่กำหนด | isam | (ไอแซม) ย่อมาจาก indexed sequential access method (แปลว่า วิธีการเข้าถึงลำดับดรรชนี) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่ง เพื่อให้สามารถเรียกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง ใช้ในโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล | price index | n. ดรรชนีราคา, ดรรชนีแสดงระดับการเปลี่ยนแปลงของสินค้ากับการบริการ |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |