ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -คลัง-, *คลัง* |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ คลัง | (n) storehouse, See also: warehouse, depository, treasury, Syn. ที่เก็บ, คลังเก็บของ, Example: เมื่อสินค้าที่สั่งมาถึงคลัง พนักงานรับสินค้าจะต้องตรวจของว่าถูกต้องตามที่สั่งหรือไม่, Count Unit: คลัง | คลังแสง | (n) armory, See also: arsenal, Syn. คลังแสงสรรพวุธ, Example: ชาวบ้านไม่ควรเข้าใกล้บริเวณคลังแสง เพราะอาจเกิดอันตรายขึ้นได้, Thai Definition: สถานที่เก็บอาวุธยุทโธปกรณ์ต่างๆ ของกองทัพ, ที่เก็บรักษาปืน, กระสุน และวัตถุระเบิดของทหาร | คลังสมอง | (n) knowledge source, See also: library, Syn. ห้องสมุด, Example: ห้องสมุดเป็นคลังสมองที่รวบรวมความรู้ในทุกสาขาวิชา, Count Unit: แห่ง, ที่ | คลังสมอง | (n) brains, See also: head, Syn. สมอง, หัว, Example: สิ่งที่ท่องจำจะถูกกำหนดไว้ในใจหรือในคลังสมอง | คลังสมอง | (n) brains, See also: head, Example: อาจารย์โต้งเป็นคลังสมองใหญ่ที่ช่วยผลักดันมุมมอง หรือแนวนโยบายใหม่ๆ ที่ก้าวหน้าให้กับพรรค, Count Unit: คน, Thai Definition: คนที่มีความรู้ความสามารถ | คลังพัสดุ | (n) materials store | คลังเลือด | (n) blood bank, Syn. ธนาคารเลือด, Count Unit: แห่ง | คลังน้ำมัน | (n) tank farm | คลังสมบัติ | (n) treasury, Syn. พระคลัง, Example: ทรัพย์สินที่ได้มาเก็บรักษาไว้ที่ชั้น 7 ซึ่งเป็นคลังสมบัติ และห้ามสมาชิกเข้าโดยไม่ได้รับอนุญาต, Count Unit: แห่ง, คลัง, Thai Definition: ที่เก็บรักษาทรัพย์สมบัติ | คลังสินค้า | (n) warehouse, See also: storehouse, Syn. โกดัง, กุดัง, Example: เรามีนโยบายให้พนักงานตรวจคลังสินค้าว่ามีสินค้าอยู่จริงตรงกับบัญชีหรือไม่, Count Unit: หลัง, แห่ง, Thai Definition: โรงที่สำหรับเก็บสินค้า |
|
| คลัง ๑ | (คฺลัง) น. ที่เก็บรักษาและรับจ่ายเงิน เช่น แผนกคลัง, สถานที่เก็บรักษาสิ่งของเป็นจำนวนมาก ๆ เช่น คลังพัสดุ. | คลัง ๒ | (คฺลัง) น. ไม้กระบอกที่ร้อยโซ่หรือเชือกสำหรับล่ามนักโทษ สัตว์ หรือเรือ, (โบ) กลัง. | คลัง ๒ | (คฺลัง) ก. ผูกคอสัตว์ให้เข้าคู่กัน เพื่อไม่ให้พรากกัน หรือฝึกหัดตัวที่ไม่ชำนาญงาน เช่น เอาวัวไปผูกเข้าคู่กัน ว่า เอาวัวไปคลัง. | คลัง ๓ | ดู กรมพระคลัง. | คลังสินค้า | น. สถานที่เก็บรักษาสินค้า. | คลังสินค้าทัณฑ์บน | น. สถานที่ซึ่งอธิบดีกรมศุลกากรอนุมัติและกำหนดให้เป็นสถานที่ตรวจและเก็บของซึ่งมีผู้นำเข้ามาในราชอาณาจักร โดยยังไม่ต้องชำระอากรขาเข้า. | คลังเลือด | น. สถานที่เก็บรักษาเลือดไว้เพื่อบริการแก่ผู้ป่วย, ธนาคารเลือด ก็ว่า. | คลังเสบียง | น. ที่เก็บสะสมอาหาร. | คลังแสง | น. คลังอาวุธของทางราชการ เช่น คลังแสงสรรพาวุธของกองทัพบก. | โกศ ๑ | คลัง. |
| | Repository | คลังเก็บ สถานที่เก็บ (ข้อมูลดิจิทัล ฐานข้อมูล) แหล่งที่อยู่ (เว็บไซต์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Institutional repository | คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน, Example: Institutional Repository หรือ คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน นั้น หมายถึง คลังเก็บทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล อันเป็นภูมิปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงาน องค์กร ซึ่งมีการจัดเก็บเป็นศูนย์รวม มีการสงวนรักษา และมีการจัดทำดัชนีที่ได้มาตรฐาน สามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศเหล่านั้นได้ [ 1 ] หรือกล่าวได้ว่า คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันเป็นบริการหรือหน้าที่ของมหาวิทยาลัย/องค์กร ในการจัดการและเผยแพร่งานในรูปแบบดิจิทัลอันเป็นผลงานหรือผลผลิตของคณาจารย์ นักวิจัย นิสิต นักศึกษา หรือสมาชิกในประชาคมนั้นๆ และผู้ใช้ทั้งภายในและภายนอกสามารถเข้าถึงได้ [ 2, 3 ] ซึ่งผลงานเหล่านั้น นอกจากจะเป็นรายงานที่กำลังดำเนินงาน รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ แล้ว ยังหมายรวมถึงงานที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ (grey literature) ซึ่งมีเป็นจำนวนมากในวัฒนธรรมของการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นเรื่องยากที่บรรณารักษ์ที่จะรวบรวม จัดเก็บ และสงวนรักษาไว้อย่างเป็นระบบ [ 4 ] <p> คุณลักษณะที่สำคัญของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p>จอห์นสัน [ 3 ] กล่าวว่า การจัดทำคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันจะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะดังนี้ <p> 1. เนื้อหาที่เป็นดิจิทัล (Digital content) ในระบบของคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้นเก็บผลงานที่เป็นดิจิทัลเท่านั้น <p> 2. การเน้นงานที่สร้างโดยสมาชิกของสถาบัน (Institutionally-defined) การจัดทำคลังเก็บระดับสถาบันเน้นการจัดเก็บผลงานของสมาชิกในประชาคมนั้นๆ เท่านั้น <p> 3. เนื้อหาทางวิชาการ (Scholarly content) เนื้อหา ที่นำมาจัดเก็บในคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้น เน้นเนื้อหาทางวิชาการ เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันในการรวบรวม การสงวนรักษา และการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ซึ่งผลงานเหล่านี้อาจหมายรวมถึง ผลงานก่อนตีพิมพ์ และผลงานที่อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน บทความที่อยู่ในระหว่างการพิจารณา หนังสือ สื่อการสอน ชุดข้อมูล บทความเสนอการประชุม วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ และวรรณกรรมไม่ตีพิมพ์ เป็นต้น การควบคุมและการจัดการการเข้าถึงเนื้อหาทางวิชาการเหล่านี้ จำเป็นต้องอาศัยนโยบายและกลไกที่เหมาะสม รวมทั้งการบริหารจัดการด้านเนื้อหาและระบบการควบคุมเอกสาร (document version control systems) กรอบนโยบายและโครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิคของคลังเก็บต้องเอื้ออำนวยให้ผู้ จัดการคลังเก็บมีความยืดหยุ่นต่อการควบคุมระบบ ใครเป็นผู้ที่สามารถรับรอง (approve) เข้าถึง (access) แก้ไข (update) ผลงานดิจิทัลเหล่านั้นที่มาจากต่างแหล่งกันในชุมชนนั้นๆ <p> 4. การสะสมเพิ่มพูน และความยั่งยืน (Cumulative and perpetual) ในส่วนของการเป็นคลังเก็บจะต้องมีการสะสมผลงาน ผลงานเมื่อมีการนำเข้าคลังเก็บแล้ว ไม่ควรมีการถอดถอนออกจากคลัง ยกเว้นแต่มีเหตุจำเป็น เช่น งานนั้นมีการละเมิดลิขสิทธิ์ เป็นต้น การเป็นคลังเก็บจึงต้องพัฒนาเกณฑ์และนโยบาย รวมทั้งนำระบบการจัดการสิทธิ์ (right management) มาประยุกต์ใช้ ในการอนุญาตให้เข้าถึงเนื้อหาในคลังเก็บทั้งจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภาย นอก รวมทั้งต้องมีระบบการสงวนรักษาผลงาน และสามารถให้เข้าถึงได้ในระยะยาวได้ <p> 5. การทำงานร่วมกันได้และการเข้าถึงแบบเปิด/แบบเสรี (Interoperable and open access) คุณลักษณะที่สำคัญประการหนึ่งของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน คือ การสามารถให้มีการเข้าถึงได้แบบเปิด / แบบเสรี หรือมีปัญหาในการเข้าถึงให้น้อยที่สุด (เช่น การต้องลงทะเบียนในการเข้าใช้) ในส่วนของการเป็นระบบที่สามารถทำงานร่วมกันได้นั้น เป็นเรื่องทางเทคนิคที่มีการนำการเก็บถาวรแบบเปิด หรือ Open Archives Initiative (OAI) มาใช้เพื่อเป็นแนวทางการกำหนดมาตรฐานสำหรับการเก็บรักษาในเชิงบันทึกถาวร และสามารถเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนเมทาดาทาทำให้สามารถสืบค้น และเรียกใช้ข้อมูลข้ามระบบกันได้ <p>ประโยชน์ของการมีคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p> 1. ทำให้เกิดระบบการรวบรวม สงวนรักษา และเผยแพร่เนื้อหาทางวิชาการ <p> 2. เป็นเสมือนตัวชี้วัดของคุณภาพทางวิชาการของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย โดยมุ่งที่รวมเอางานทางปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย มาไว้ในที่เดียวกัน และสามารถเข้าถึงได้ทั่วโลก <p> 3. เป็นการสงวนรักษาทรัพย์สินทางปัญญาในรูปดิจิทัล <p> 4. เป็นเสมือนพื้นฐานของกระบวนทัศน์ใหม่ในการพิมพ์ผลงานทางวิชาการ <p> 5. เป็นการสื่อสารทางวิชาการ (scholarly communication) <p> 6. เป็นการจัดการความรู้ <p> 7. เป็นการสนับสนุนเรื่องการเข้าถึงโดยเสรี <p>รายการอ้างอิง: <p>[ 1 ] “What is an Institutional Repository”. [ On-line ]. Available: http://library.ucalgary.ca/libraryinformation/dspace/whatisaninstitutionalrepository.php. Visited: 12/08/2007 10.30. <p>[ 2 ] Lynch, Clifford A. “Institutional repository : essential infrastructure for scholarship in the digital age.” ARL 226 (February 2003): 1-7 [ On-line ]. Available: http://www.arl.org/resources/pubs/br/br226/br226ir.shtml. Visited: 12/08/2007 10.34. <p>[ 3 ] Johnson, Richard K. “Institutional repositories : partnering with faculty to enhance scholarly communication.” D-Lib Magazine V.8 No.11 (November 2002) [ On-line ]. Available: http://www.dlib.org/dlib/november02/johnson/11johnson.html. Visited: 12/08/10.52. <p>[ 4 ]Tennant, Roy. “Institutional Repositories”. Library Journal 9, 15 (2002). [ On-line ]. Available: http://www.libraryjournal.com/index.asp?layout=article&articleid=CA242297&publication=libraryjournal. Visited: 13/08/2007. 10.51. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Food storage | คลังอาหาร [เศรษฐศาสตร์] | Library | คลัง [คอมพิวเตอร์] | Armories | คลังอาวุธ [TU Subject Heading] | Blood banks | คลังเลือด [TU Subject Heading] | Sperm banks | คลังอสุจิ [TU Subject Heading] | Warehouses | คลังสินค้า [TU Subject Heading] | คลังน้ำมันเชื้อเพลิง | คลังน้ำมันเชื้อเพลิง, สถานที่ที่ใช้ในการเก็บน้ำมันเชื้อเพลิงตามปริมาณที่กำหนดในกฎกระทรวง และให้หมายความรวมถึงบริเวณที่กำหนดไว้ในใบอนุญาตให้เป็นเขตคลังน้ำมันเชื้อเพลิงตลอดจนสิ่งก่อสร้าง ถังท่อและอุปกรณ์ หรือเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง แต่ไม่รวมถึงสถานที่ใช้ในการเก็บรักษาน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้เป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิตในโรงกลั่นหรือผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง [พลังงาน] | Banks, Item | คลังข้อสอบ [การแพทย์] |
| | คลัง | [khlang] (n) EN: storehouse ; warehouse ; repository FR: dépôt [ m ] ; entrepôt [ m ] | คลัง | [khlang] (n) EN: treasury ; finance FR: trésorerie [ f ] | คลังข้อมูล | [khlang khømūn] (n, exp) EN: database ; data bank FR: base de données [ f ] ; banque de données [ f ] | คลังน้ำมัน | [khlang nām man] (n, exp) EN: oil depot ; fuel depot FR: dépôt de carburants [ m ] | คลังพัสดุ | [khlang phatsadu] (n, exp) EN: store ; storeroom ; storehouse ; warehouse ; stockroom ; depot FR: dépôt [ m ] | คลังสินค้า | [khlang sinkhā] (n, exp) EN: warehouse ; storehouse ; storeroom ; depot FR: entrepôt [ m ] ; dépôt [ m ] ; réserve [ f ] | คลังสินค้าทัณฑ์บน | [khlang sinkhā thanbon] (n) EN: bonded warehouse |
| | armory | (n) คลังแสง, See also: สถานที่สำหรับเก็บอาวุธ, Syn. munitions plant, arms factory | arsenal | (n) คลังแสงสรรพาวุธ, Syn. arms plant, military warehouse | blood bank | (n) ธนาคารเลือด, See also: คลังเลือด | corpus | (n) คลังข้อมูล, See also: การรวบรวมงานเขียนหรือข้อมูลคำ | database | (n) ฐานข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: คลังข้อมูล, ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ, Syn. data bank | depot | (n) คลังพัสดุ, See also: คลังสินค้า, Syn. reservoir, stockroom | dump | (n) คลังเก็บอาวุธ (ทางทหาร) | godown | (n) โกดัง, See also: คลังสินค้า, โรงเก็บของ, Syn. warehouse | Quartermaster depot | (n) คลังพลาธิการ | repository | (n) โกดัง, See also: คลังสินค้า, ที่เก็บสินค้า, Syn. store, warehouse |
| armory | (อาร์'มะรี) n. ที่เก็บอาวุธ, คลังแสง, โรงงานคลังแสง. = heraldry, Syn. arsenal | armoury | (อาร์'มะรี) n. ที่เก็บอาวุธ, คลังแสง, โรงงานคลังแสง. = heraldry, Syn. arsenal | arsenal | (อาร'ซิเนิล) n. คลังสรรพาวุธ, Syn. armoury, depot, stock, store, hoard | bursary | (เบอร์'ซะรี) n. ทุนการศึกษา, ฝ่ายคลังของโบสถ์ | chancellor of the exchequ | n. รัฐมนตรีกระทรวงการคลังของอังกฤษ | chest | (เชสทฺ) n. หีบ, กล่องขนาดใหญ่, ลังขนาดใหญ่, ทรวงอก, หน้าอก, เต้านม, คลัง, เงินทุน, เงินแผ่นดิน, กรมคลัง, กระทรวงการคลัง, สิ่งที่เก็บอยู่ในหีบ | clung | (คลัง) v. กริยาช่อง 2 และช่อง 3 ของ cling | data bank | คลังข้อมูลหมายถึง ที่หรือแหล่งเก็บข้อมูล หรือแหล่งที่รวบรวมข้อมูลไว้เป็นจำนวนมาก ส่วนมากจะอยู่กับหน่วยงานคอมพิวเตอร์ เช่น หน่วยคอมพิวเตอร์ของกระทรวงเกษตร อาจเป็นคลังข้อมูลในเรื่องของ ผลผลิต เนื้อที่การเกษตร รายละเอียดเกี่ยวกับกสิกร สัตว์ที่ใช้ในการเกษตร สินค้าเกษตร ฯลฯ เป็นต้น | data record | ระเบียนข้อมูลหมายถึง หน่วยหนึ่งของข้อมูลที่บันทึกไว้ในฐานหรือคลังข้อมูล โดยปกติ ระเบียนหนึ่งจะประกอบด้วยเขตข้อมูล (field) 1 เขตขึ้นไป เช่น ระเบียนของพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเขตข้อมูล 10 เขต มี ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ วันเข้าทำงาน เงินเดือนที่ได้รับ ตำแหน่งปัจจุบัน ฯ เป็นต้น ดู data field ประกอบ | depot | (ดี'โพ) n. สถานีรถไฟ, สถานีรถเมล์, คลังพัสดุ, โกดัง |
| arsenal | (n) คลังสรรพาวุธ, คลังแสง | depository | (n) โกดัง, คลังเสบียง, ท้องพระคลัง, ที่รับฝากของ | depot | (n) คลังสรรพาวุธ, คลังพัสดุ, ที่เก็บของ, โกดัง, สถานีรถไฟ | exchequer | (n) กระทรวงการคลัง, ท้องพระคลัง, คลัง, เงินทุน | finance | (n) การเงิน, การคลัง, เงินทุน | inventory | (n) บัญชีสิ่งของ, สินค้าคงคลัง, รายการสินค้า | magazine | (n) นิตยสาร, วารสาร, หนังสือพิมพ์รายเดือน, คลังกระสุน, ซองปืน | repository | (n) โกดัง, คลัง | storehouse | (n) โกดัง, ร้าน, ยุ้ง, ฉาง, คลังสินค้า, แหล่งขุมทรัพย์ | treasury | (n) คลัง, ทรัพย์สมบัติ, กองคลัง |
| 国庫 | [こっこ, kokko] (n) คลังของชาติ |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |