ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*radiation*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: radiation, -radiation-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
radiation(n) รังสี, See also: พลังงานจากรังสีหรือคลื่น
irradiation(n) การฉายรังสี
x-radiation(n) การรักษาด้วยรังสีเอ็กซ์
radiation sickness(n) โรคที่เกิดจากการได้รับรังสีหรือกัมมันตภาพรังสีมากเกินไป

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
irradiation(อิเรดิเอ'เชิน) n. การฉายรังสี, การส่องสว่าง, ปริมาณรังสีที่กระทบต่อหน่วยพื้นที่, Syn. irradiating, beam
radiation(เรดิเอ'เชิน) n. การแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า, พลังงานรังสี, สิ่งที่ถูกปล่อยออกจากจุดศูนย์กลาง, กัมมันตภาพรังสี.
radiation sicknessn. โรคที่เกิดจากการถูกกัมมันตภาพรังส'
x-radiation(เอคซฺเรดิเอ'เชิน) n. เอกซฺเรย์, รังสีroentgen, ภาพที่ได้จากการถ่ายเอกซฺเรย์

English-Thai: Nontri Dictionary
radiation(n) กัมมันตภาพรังสี, การส่งแสง, การแผ่รังสี, การฉายแสง

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
light radiation weldingการเชื่อมด้วยรังสีแสง [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
radiocystitis; cystitis, radiationกระเพาะปัสสาวะอักเสบเหตุรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
retinitis, radiation; retinitis, actinicโรคจอตาเหตุแสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
radiation castration; sterilisation, radiation; sterilization, radiation๑. การทำหมันด้วยรังสี๒. การทำไร้เชื้อด้วยรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
radiation cystitis; radiocystitisกระเพาะปัสสาวะอักเสบเหตุรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
radiation dataข้อมูลการแผ่รังสี [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
radiation flux๑. ฟลักซ์การแผ่รังสี๒. ฟลักซ์รังสี [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
radiation heat transferการถ่ายโอนความร้อนโดยการแผ่รังสี [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
radiation intensityความเข้มรังสี [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
radiation necrosis; radionecrosisเนื้อตายเหตุรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
radiation retinitis; retinitis, actinicโรคจอตาเหตุแสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
radiation sickness; sickness, X-rayการแพ้รังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
radiation sterilisation; castration, radiation; sterilization, radiation๑. การทำหมันด้วยรังสี๒. การทำไร้เชื้อด้วยรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
radionecrosis; necrosis, radiationเนื้อตายเหตุรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
radiation sterilization; castration, radiation; sterilisation, radiation๑. การทำหมันด้วยรังสี๒. การทำไร้เชื้อด้วยรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
radiation, opticส่วนแผ่ประสาทตา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
retinitis, actinic; retinitis, radiationโรคจอตาเหตุแสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
radiation๑. การแผ่รัศมี, การแผ่รังสี๒. การฉายรังสี, การอาบรังสี [ มีความหมายเหมือนกับ irradiation ]๓. รังสี [ มีความหมายเหมือนกับ ray ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
radiation๑. การแผ่รังสี๒. รังสี [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
radiation๑. การแผ่รังสี๒. การฉายรังสี [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
solar radiation๑. การแผ่รังสีอาทิตย์๒. รังสีอาทิตย์ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
sickness, radiation; sickness, X-rayการแพ้รังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
sterilization, radiation; castration, radiation; sterilisation, radiation๑. การทำหมันด้วยรังสี๒. การทำไร้เชื้อด้วยรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
sterilisation, radiation; castration, radiation; sterilization, radiation๑. การทำหมันด้วยรังสี๒. การทำไร้เชื้อด้วยรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
sickness, X-ray; sickness, radiationการแพ้รังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
optic radiationส่วนแผ่ประสาทตา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
actinic retinitis; retinitis, radiationโรคจอตาเหตุแสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
annual irradiationการอาบรังสีต่อปี [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
adaptive divergence; adaptive radiationการแผ่ขยายพันธุ์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
adaptive radiation; adaptive divergenceการแผ่ขยายพันธุ์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
beam tilt factor; beam radiation tilt factorแฟกเตอร์มุมเอียงรังสีตรง [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
beam radiation; direct radiationการแผ่รังสีตรง [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
beam radiation tilt factor; beam tilt factorแฟกเตอร์มุมเอียงรังสีตรง [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
cystitis, radiation; radiocystitisกระเพาะปัสสาวะอักเสบเหตุรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
castration, radiation; sterilisation, radiation; sterilization, radiation๑. การทำหมันด้วยรังสี๒. การทำไร้เชื้อด้วยรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
X-ray sickness; sickness, radiationการแพ้รังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
direct radiation; beam radiationการแผ่รังสีตรง [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
diffuse radiation๑. การแผ่รังสีกระจาย๒. รังสีกระจาย [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
global radiationรังสีรวม [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
gamma radiationการแผ่รังสีแกมมา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
explosive evolution; explosive radiationการเร่งขยายพันธุ์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
explosive radiation; explosive evolutionการเร่งขยายพันธุ์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
extraterrestrial radiation๑. การแผ่รังสีนอกโลก๒. รังสีนอกโลก [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
irradiationการฉายรังสี, การอาบรังสี [ มีความหมายเหมือนกับ radiation ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
irradiation๑. การอาบรังสี๒. การฉายรังสี [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
intercepted radiation; incidence radiation๑. การแผ่รังสีตกกระทบ๒. รังสีตกกระทบ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
incidence radiation; intercepted radiation๑. การแผ่รังสีตกกระทบ๒. รังสีตกกระทบ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
infrared radiation๑. การแผ่รังสีอินฟราเรด๒. รังสีอินฟราเรด [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
thermal radiationการแผ่รังสีความร้อน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕]
total radiationรังสีรวมยอด [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Radiationการฉายรังสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Solar radiationการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Background radiationรังสีพื้นหลัง, รังสีจากสิ่งแวดล้อมซึ่งมีที่มาจากหลายแหล่ง เช่น รังสีคอสมิกจากอวกาศ รังสีจากสารกัมมันตรังสีตามธรรมชาติที่มีอยู่ในดิน น้ำ อากาศ อาหาร รวมทั้งที่มีอยู่ในร่างกายมนุษย์ (ดู natural exposure ประกอบ) [นิวเคลียร์]
Cerenkov radiationการแผ่รังสีเซเรนโกฟ, ปรากฏการณ์เรืองแสงเมื่ออนุภาคที่มีประจุเคลื่อนผ่านวัสดุโปร่งใส ด้วยความเร็วที่สูงกว่าความเร็วของแสงในวัสดุนั้น เช่น ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ หรือเครื่องฉายรังสีแกมมาแบบสระน้ำ จะเห็นการแผ่รังสีนี้เป็นแสงเรืองสีฟ้า พาเวล อเล็กเซวิช เซเรนโกฟ (Pavel Alexsejevich Cerenkov) เป็นคนแรกที่อธิบายปรากฏการณ์นี้ [นิวเคลียร์]
Cosmic radiationรังสีคอสมิก, รังสีจากอวกาศซึ่งเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลก มีองค์ประกอบโดยประมาณ ได้แก่ โปรตอนร้อยละ 87 รังสีแอลฟาร้อยละ 11 รังสีอนุภาคหนักที่มีเลขเชิงอะตอมระหว่าง 4 ถึง 26 ร้อยละ 1 และ อิเล็กตรอนร้อยละ 1 [นิวเคลียร์]
Electromagnetic radiationรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า, คลื่นไฟฟ้าและคลื่นแม่เหล็กที่ประสาน และมีอันตรกิริยาต่อกัน เช่น คลื่นแสง คลื่นวิทยุ รังสีแกมมา และรังสีเอกซ์ รังสีเหล่านี้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วแสง และสามารถผ่านสุญญากาศได้ [นิวเคลียร์]
Enhanced-Radiation Warheadหัวรบเพิ่มสมรรถนะรังสี, อีอาร์ดับเบิลยู, หัวรบที่เป็นลูกระเบิดนิวตรอน (ดู neutron bomb ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์]
External radiationรังสีนอกร่างกาย, รังสีที่มนุษย์ได้รับจากแหล่งกำเนิดรังสีที่อยู่ภายนอกร่างกาย เช่น รังสีคอสมิก และรังสีจากต้นกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ (ดู source ประกอบ) [นิวเคลียร์]
Very high radiation areaบริเวณรังสีสูงมาก, บริเวณที่มีการแผ่รังสีปริมาณสูงมากซึ่งอาจทำให้ผู้ที่เข้าไปปฏิบัติงานในบริเวณนั้นที่ระยะห่าง 1 เมตร จากต้นกำเนิดรังสี หรือ พื้นผิวที่รังสีทะลุผ่านได้รับปริมาณรังสีดูดกลืนเกิน 5 เกรย์ ในเวลา 1 ชั่วโมง การรับรังสีปริมาณสูงมากมักจะวัดในหน่วยของปริมาณรังสีดูดกลืน เนื่องจากให้ค่าการวัดที่แม่นยำกว่าการวัดปริมาณรังสีสมมูล, Example: [นิวเคลียร์]
Thermal radiationรังสีเทอร์มัล, รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่ออกจากลูกไฟจากการระเบิดทางนิวเคลียร์ ซึ่งมีอุณหภูมิสูงมาก รังสีเทอร์มัลอยู่ในรูปของรังสีอัลตราไวโอเลต รังสีอินฟราเรด และแสงสว่าง คิดเป็นร้อยละ 35 ของพลังงานทั้งหมดจากการระเบิด [นิวเคลียร์]
Terrestrial radiationรังสีจากพื้นโลก, รังสีจากสารกัมมันตรังสีที่มีอยู่บนพื้นโลก เป็นรังสีที่มนุษย์ได้รับจากภายนอกร่างกายปีละประมาณ 410 ไมโครซีเวิร์ต ส่วนที่มีผลเป็นปริมาณรังสีต่อมนุษย์คือรังสีแกมมา ซึ่งปลดปล่อยมาจากนิวไคลด์รังสีที่มีกำเนิดมาพร้อมกับโลก (ดู Primordial radionuclides) ได้แก่ สารกัมมันตรังสีในอนุกรมยูเรเนียม อนุกรมทอเรียม และสารกัมมันตรังสีโพแทสเซียม (K-40) [นิวเคลียร์]
Stochastic effect of radiationผลไม่ชัดเจน , ผลของรังสีที่คาดคะเนจากข้อมูลทางสถิติของผู้ที่ได้รับรังสี โดยโอกาสเกิดผลกระทบจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับปริมาณรังสี แต่ความรุนแรงของผลกระทบไม่ขึ้นกับปริมาณรังสี เช่น โอกาสของการเกิดมะเร็งจะเพิ่มขึ้นเมื่อได้รับปริมาณรังสีสูงขึ้น [นิวเคลียร์]
Radiation sourceต้นกำเนิดรังสี, แหล่งกำเนิดรังสี, วัสดุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ เช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ, Example: [นิวเคลียร์]
Radiation, nuclearรังสีนิวเคลียร์, การแผ่รังสีของนิวเคลียส, รังสีในรูปของอนุภาคหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แผ่ออกมาจากนิวเคลียสของนิวไคลด์กัมมันตรังสี เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา <br>(ดู radiation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์]
Radiation workerผู้ปฏิบัติงานรังสี, ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติงานในบริเวณรังสีชนิดก่อไอออน เช่น ผู้ปฏิบัติงานผลิตสารไอโซโทปรังสี ผู้ปฏิบัติงานฉายรังสี ผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องวัดเชิงนิวเคลียร์ และเครื่องมือวิเคราะห์ต่างๆ <br>ผู้ปฏิบัติงานรังสีอาจรวมถึงผู้ที่ไม่ได้ปฏิบัติงานด้านเทคนิค แต่มีความจำเป็นต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริเวณรังสีหรือรังสีดังกล่าวเป็นประจำ ทำให้มีโอกาสได้รับรังสีมากกว่าประชาชนทั่วไป เช่น พนักงานทำความสะอาด พนักงานขับรถขนส่งสารกัมมันตรังสี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ป้องกันอันตรายจากรังสีจะกำหนดให้บุคคลใดเป็นผู้ปฏิบัติงานทางรังสีตามกฎระเบียบ หรือแล้วแต่กรณี</br> <br>ผู้ปฏิบัติงานรังสีดังกล่าวข้างต้น ย่อมมีโอกาสได้รับรังสีจากการปฏิบัติงานเป็นปริมาณแตกต่างกัน กล่าวคือ ผู้ปฏิบัติงานผลิตสารไอโซโทปรังสี หรือผู้ปฏิบัติงานฉายรังสี จะมีโอกาสได้รับรังสีมากกว่าผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องวัดเชิงนิวเคลียร์ และเครื่องมือวิเคราะห์ต่างๆ</br> [นิวเคลียร์]
Radiation warning symbolสัญลักษณ์เตือนภัยจากรังสี, สัญลักษณ์สากลที่กำหนดขึ้นเพื่อเตือนให้ทราบว่ามีรังสี หรือให้ระวังรังสี ประกอบด้วยใบพัด 3 แฉก สีม่วง หรือสีดำ อยู่บนพื้นสีเหลือง สัญลักษณ์นี้ใช้ติดที่ภาชนะบรรจุวัสดุกัมมันตรังสี หรือบริเวณที่มีรังสี [นิวเคลียร์]
Radiation therapyรังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์]
Radiation syndromeกลุ่มอาการป่วยจากรังสี, กลุ่มอาการที่ปรากฏเมื่อมนุษย์ได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ มี 3 กลุ่มอาการขึ้นอยู่กับปริมาณรังสีที่ได้รับ ได้แก่ กลุ่มอาการทางไขกระดูกหรือกลุ่มอาการทางระบบเลือด กลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร และกลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง ทุกกลุ่ม จะแสดงอาการเป็น 3 ระยะ คือ <br>-ระยะเริ่มต้น (prodromal stage) มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย</br> <br>-ระยะแอบแฝง (latent stage) เป็นระยะที่ไม่แสดงอาการ</br> <br>-ระยะแสดงอาการที่แท้จริง (manifest illness stage) มีอาการที่แสดงถึงความเสียหายของอวัยวะ</br> <br>(ดู bone marrow syndrome, cerebrovascular syndrome และ gastrointestinal syndrome ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์]
Radiation sterilization in insectsการทำหมันแมลงด้วยรังสี, การฉายรังสีแมลงในระยะใดๆ ของการเจริญเติบโต เพื่อทำให้เป็นหมัน โดยแมลงตัวเมียไม่สามารถผลิตไข่ หรือตัวผู้ไม่สามารถสร้างสเปิร์ม หรือสเปิร์มไม่แข็งแรงไม่สามารถผสมกับไข่ได้ หรือแมลงไม่สามารถจับคู่ผสมพันธุ์ได้ หรือไข่ที่ปฏิสนธิแล้วไม่ฟักออกเป็นตัว เนื่องจากการกลายของเซลล์สืบพันธุ์ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับชนิด ระยะการเจริญเติบโตของแมลง และปริมาณรังสีที่ใช้ <br>(ดู sterile insect technique (SIT) ประกอบ)</br>, Example: [นิวเคลียร์]
Radiation sprout inhibitionการยับยั้งการงอกด้วยรังสี, การฉายรังสีอาหารประเภทพืชหัวด้วยปริมาณรังสีต่ำกว่า 0.15 กิโลเกรย์ เพื่อควบคุมหรือหยุดการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ทำให้เกิดการงอก ยังผลให้สามารถเก็บรักษาอาหารได้นานหลายเดือน ทั้งนี้ต้องเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำ เพื่อป้องกันการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่จะทำให้อาหารเน่าเสีย อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อยับยั้งการงอก เช่น หอมหัวใหญ่ มันฝรั่ง กระเทียม <br>(ดู food irradiation ประกอบ) </br> [นิวเคลียร์]
Radiation safety officerเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี, เจ้าหน้าที่ผู้มีความรู้ความสามารถด้านการป้องกันรังสีที่เกี่ยวข้องกับงานที่ได้รับมอบหมาย และได้รับการแต่งตั้งจากผู้รับใบอนุญาตให้ดูแลด้านความปลอดภัยทางรังสีตามข้อกำหนด [นิวเคลียร์]
Radiation safetyความปลอดภัยจากรังสี, การป้องกันหรือลดอุบัติเหตุต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นจากต้นกำเนิดรังสี หรืออุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น โดยมีมาตรการบรรเทาผลแก่ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี ประชาชน และสิ่งแวดล้อมภายหลังจากที่เกิดเหตุขึ้น, Example: [นิวเคลียร์]
Radiation protection officerเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี, เจ้าหน้าที่ผู้มีความรู้ความสามารถด้านการป้องกันรังสีที่เกี่ยวข้องกับงานที่ได้รับมอบหมาย และได้รับการแต่งตั้งจากผู้รับใบอนุญาตให้ดูแลด้านความปลอดภัยทางรังสีตามข้อกำหนด [นิวเคลียร์]
Radiation protectionการป้องกันรังสี, การดำเนินการตามกฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการ และวิธีปฏิบัติ ซึ่งกำหนดขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐานความปลอดภัย เพื่อควบคุมให้ผู้ปฏิบัติงานทางรังสีและประชาชนทั่วไปได้รับรังสีชนิดก่อไอออนน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ (ALARA: as low as reasonably achievable) [นิวเคลียร์]
Radiation induced F1-sterilityการชักนำให้เป็นหมันในรุ่นลูกด้วยรังสี, การใช้รังสีชักนำให้แมลงศัตรูพืชในกลุ่มผีเสื้อเป็นหมันแบบไม่สมบูรณ์ ซึ่งจะถ่ายทอดความเป็นหมันแบบสมบูรณ์ในรุ่นลูก โดยไม่ทำให้พฤติกรรมและความสามารถในการผสมพันธุ์เสียไป ซึ่งเป็นวิธีการควบคุมประชากรแมลงอีกวิธีหนึ่ง <br>วิธีการนี้ประสบความสำเร็จใน หนอนเจาะสมอฝ้ายสีชมพู (pink bollworm) และหนอนทำลายแอปเปิล (codling moth) โดยใช้รังสีแกมมาที่ปริมาณ 80-200 เกรย์ </br> <br> (ดู sterile insect technique ประกอบ) </br> [นิวเคลียร์]
Radiation entomologyกีฏวิทยารังสี, วิชากีฏวิทยาแขนงหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลของรังสีต่อแมลง ได้แก่ การใช้รังสีเพื่อกำจัดแมลงในผลผลิตการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อควบคุมประชากรแมลงโดยปล่อยแมลงที่เป็นหมันด้วยรังสีไปในธรรมชาติ และเพื่อปรับปรุงผลผลิตของแมลงที่มีประโยชน์ เช่น ปรับปรุงคุณภาพและผลผลิตไหม <br>(ดู radiation disinfestation, sterile insect technique, radiation induced F1-sterility ประกอบ) </br> [นิวเคลียร์]
Radiation doseปริมาณรังสี, ปริมาณรังสีที่วัตถุหรือสิ่งมีชีวิตได้รับ <br>(ดู absorbed dose, committed dose, effective dose, equivalent dose และ exposure dose ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์]
Radiation disinfestationการยับยั้งการแพร่พันธุ์ของแมลงด้วยรังสี, การฉายรังสีอาหารหรือผลิตผลการเกษตรด้วยปริมาณรังสีไม่เกิน 1 กิโลเกรย์ เพื่อทำลายแมลงและยับยั้งการแพร่พันธุ์ ทั้งนี้อาหารหรือผลิตผลการเกษตรจะต้องบรรจุในภาชนะที่เหมาะสมเพื่อป้องกันแมลงที่จะมาทำลายหลังการฉายรังสีแล้ว อาหารหรือผลิตผลการเกษตรที่ใช้กรรมวิธีนี้ เช่น มะม่วง มะละกอ เมล็ดโกโก้ ถั่ว ข้าว ข้าวสาลี ปลาแห้ง ปลารมควัน ดอกกล้วยไม้ <br>(ดู food irradiation ประกอบ) </br> [นิวเคลียร์]
Radiation biologyชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์]
Radiation areaบริเวณรังสี, บริเวณที่มีรังสีในปริมาณที่กำหนดไม่ว่ารังสีนั้นจะมาจากวัสดุกัมมันตรังสี หรือ เครื่องกำเนิดรังสี <br>ปริมาณรังสีที่กำหนดตามกฎกระทรวง (พ.ศ. 2546) ออกตามความในพระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ. 2504 เท่ากับหรือมากกว่า 25 ไมโครซีเวิร์ตต่อชั่วโมงที่ระยะ 30 เซนติเมตรจากต้นกำเนิดรังสี</br> [นิวเคลียร์]
Radiation absorbed doseหน่วยที่ใช้วัดปริมาณรังสีดูดกลืน, หน่วยเดิมที่ใช้วัดปริมาณรังสีดูดกลืน โดย 1 แร็ด มีค่าเท่ากับ 100 เอิร์ก (erg) ต่อกรัมของมวลสาร ปัจจุบันใช้หน่วยเกรย์แทน โดย 1 เกรย์ เท่ากับ 100 แร็ด [นิวเคลียร์]
radiationรังสี, การแผ่รังสี, พลังงานที่แผ่จากต้นกำเนิดรังสีผ่านอากาศหรือสสาร ในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น ความร้อน แสงสว่าง คลื่นวิทยุ รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือเป็นกระแสของอนุภาคที่เคลื่อนที่เร็ว เช่น รังสีคอสมิก รังสีแอลฟา รังสีบีตา อนุภาคนิวตรอน อนุภาคโปรตอน [นิวเคลียร์]
Prompt radiationรังสีพรอมต์, รังสีที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันในตอนเริ่มต้นของกระบวนการแบ่งแยกนิวเคลียสหรือหลอมนิวเคลียส โดยไม่รวมรังสีที่เกิดจากผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียส และจากปฏิกิริยาอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในภายหลัง [นิวเคลียร์]
Nuclear radiationรังสีนิวเคลียร์, การแผ่รังสีของนิวเคลียส, รังสีในรูปของอนุภาคหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แผ่ออกมาจากนิวเคลียสของนิวไคลด์กัมมันตรังสี เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา <br>(ดู radiation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์]
Natural radiationรังสีในธรรมชาติ, รังสีที่มีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น รังสีคอสมิก [นิวเคลียร์]
Ionizing radiationรังสีชนิดก่อไอออน, รังสีหรืออนุภาคใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนได้ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในตัวกลางที่ผ่านไป เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ อนุภาคนิวตรอน อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูง โปรตอนที่มีความเร็วสูง รังสีเหล่านี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต <br>(ดู beta particle ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์]
Internal radiationรังสีในร่างกาย, รังสีจากต้นกำเนิดรังสีใดๆ ที่มีอยู่ในร่างกายมนุษย์ รวมทั้งที่ร่างกายได้รับจาก น้ำ อาหาร อากาศ การบำบัดรักษาทางการแพทย์ การปฏิบัติงานทางรังสี และจากอุบัติเหตุทางรังสี [นิวเคลียร์]
High radiation areaบริเวณรังสีสูง, บริเวณที่มีการแผ่รังสีปริมาณสูงซึ่งอาจทำให้ผู้ที่เข้าไปปฏิบัติงานในบริเวณนั้นที่ระยะห่าง 30 เซนติเมตรจากต้นกำเนิดรังสี หรือ พื้นผิวที่รังสีทะลุผ่านได้รับปริมาณรังสีสมมูลเกิน 1 มิลลิซีเวิร์ต ในเวลา 1 ชั่วโมง [นิวเคลียร์]
International Commission on Radiation Protectionคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศด้านการป้องกันรังสี [นิวเคลียร์]
Food irradiationการฉายรังสีอาหาร, การนำอาหารหรือผลิตภัณฑ์อาหารซึ่งผลิตอย่างถูกสุขลักษณะและบรรจุในภาชนะหรือหีบห่อที่เหมาะสม ไปผ่านการฉายรังสีแกมมา หรือรังสีเอกซ์ หรือลำอิเล็กตรอนจากเครื่องเร่งอนุภาค ด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสม เพื่อฆ่าเชื้อโรคหรือพยาธิ ยับยั้งการทำลายหรือแพร่พันธุ์ของแมลง ยืดอายุการเก็บรักษา ยับยั้งการงอก และชะลอการสุก [นิวเคลียร์]
Gamma irradiationการฉายรังสีแกมมา [นิวเคลียร์]
Gamma radiationรังสีแกมมา [นิวเคลียร์]
Antenna radiation patternsรูปแบบการกระจายคลื่นของสายอากาศ [TU Subject Heading]
Architecture and solar radiationสถาปัตยกรรมกับการแผ่รังสีดวงอาทิตย์ [TU Subject Heading]
Effect of radiation onผลกระทบของรังสี [TU Subject Heading]
Irradiationการฉายรังสี [TU Subject Heading]
Radiationการแผ่รังสี [TU Subject Heading]
Radiation chemistryเคมีการแผ่รังสี [TU Subject Heading]
Radiation dosageปริมาณการแผ่รังสี [TU Subject Heading]
Radiation effectsผลของรังสี [TU Subject Heading]

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
ฉายรังสี(v) treat by radiation, Syn. ฉายแสง, รังสีรักษา, Example: การรักษาผู้ป่วยด้วยกรรมวิธีฉายรังสีสามมิติ เป็นการรักษามะเร็งแบบพิเศษ ต่างจากการรักษาด้วยวิธีฉายแสงแบบธรรมดา
รังสี(n) radioactivity, See also: radiation, ray, light, Example: จากการตรวจวัดรังสีพบว่า จำนวนปริมาณรังสีแพร่กระจายออกมามีขนาดไม่อยู่ในเกณฑ์ที่จะเป็นอันตราย, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
การแผ่รังสี(n) radiation
การฉาย(n) shine, See also: radiation, irradiation, emission, Syn. การฉายแสง, Example: การฉายรังสีต้องใช้กระแสไฟมาก
การฉายแสง(n) x-ray, See also: having to do with x-ray, irradiation with ultraviolet rays, radiation treatment, Syn. การฉายแสงอัลตราไวโอเลต

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ฉายรังสี[chāi rangsī] (v, exp) EN: treat by radiation
ฉายแสง[chāi saēng] (v, exp) EN: treat with radiation ; give a radiation treatment  FR: traiter par irradiation
การแผ่รังสี[kān phaērangsī] (v) EN: radiation  FR: radiation [ f ]
การแผ่รังสีความร้อน[kān phaērangsī khwām røn] (n, exp) EN: heat radiation
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า[khleūn maēlek faifā] (n, exp) EN: electromagnetic radiation ; electromagnetic wave  FR: onde électromagnétique [ f ] ; rayonnement électromagnétique [ m ]
รังสี = รังสิ[rangsī = rangsi] (n) EN: ray ; beam of light ; radiation ; radioactivity  FR: rayonnement [ m ] ; radiation [ f ] ; rayon [ m ] ; faisceau lumineux [ m ]

CMU English Pronouncing Dictionary Dictionary [with local updates]
radiation
irradiation
radiation's

Oxford Advanced Learners Dictionary (pronunciation guide only)
radiation
radiations

WordNet (3.0)
acoustic radiation pressure(n) (acoustics) the pressure exerted on a surface normal to the direction of propagation of a sound wave
actinic radiation(n) electromagnetic radiation that can produce photochemical reactions, Syn. actinic ray
adaptive radiation(n) the development of many different forms from an originally homogeneous group of organisms as they fill different ecological niches
alpha radiation(n) the radiation of alpha particles during radioactive decay, Syn. alpha ray
background radiation(n) radiation coming from sources other than those being observed
beta radiation(n) radiation of beta particles during radioactive decay, Syn. beta ray, electron radiation
black-body radiation(n) the electromagnetic radiation that would be radiated from an ideal black body; the distribution of energy in the radiated spectrum of a black body depends only on temperature and is determined by Planck's radiation law, Syn. blackbody radiation
corpuscular radiation(n) a stream of atomic or subatomic particles that may be charged positively (e.g. alpha particles) or negatively (e.g. beta particles) or not at all (e.g. neutrons), Syn. particulate radiation
cosmic background radiation(n) (cosmology) the cooled remnant of the hot big bang that fills the entire universe and can be observed today with an average temperature of about 2.725 kelvin, Syn. CMBR, cosmic microwave background radiation, CBR, cosmic microwave background, CMB
cosmic radiation(n) radiation coming from outside the solar system
electromagnetic radiation(n) radiation consisting of waves of energy associated with electric and magnetic fields resulting from the acceleration of an electric charge, Syn. electromagnetic wave, nonparticulate radiation
gamma radiation(n) electromagnetic radiation emitted during radioactive decay and having an extremely short wavelength, Syn. gamma ray
ionizing radiation(n) high-energy radiation capable of producing ionization in substances through which it passes
irradiation(n) the condition of being exposed to radiation
irradiation(n) (physiology) the spread of sensory neural impulses in the cortex
irradiation(n) the apparent enlargement of a bright object when viewed against a dark background
irradiation(n) (Pavolvian conditioning) the elicitation of a conditioned response by stimulation similar but not identical to the original stimulus
neutron radiation(n) radiation of neutrons (as by a neutron bomb)
optic radiation(n) a nerve pathway from the lateral geniculate body to the visual cortex, Syn. radiatio optica
planck's radiation law(n) (physics) an equation that expresses the distribution of energy in the radiated spectrum of an ideal black body
radiation(n) energy that is radiated or transmitted in the form of rays or waves or particles
radiation(n) the act of spreading outward from a central source
radiation(n) the spontaneous emission of a stream of particles or electromagnetic rays in nuclear decay, Syn. radioactivity
radiation(n) the spread of a group of organisms into new habitats
radiation(n) a radial arrangement of nerve fibers connecting different parts of the brain
radiation field(n) a field that represents the energy lost from the radiator to space
radiation pattern(n) graphical representation (in polar or Cartesian coordinates) of the spatial distribution of radiation from an antenna as a function of angle, Syn. radiation diagram, pattern
radiation pressure(n) the minute pressure exerted on a surface normal to the direction of propagation of a wave, Syn. corpuscular-radiation pressure
radiation pyrometer(n) a pyrometer for estimating the temperature of distant sources of heat; radiation is focussed on a thermojunction connected in circuit with a galvanometer
radiation sickness(n) syndrome resulting from exposure to ionizing radiation (e.g., exposure to radioactive chemicals or to nuclear explosions); low doses cause diarrhea and nausea and vomiting and sometimes loss of hair; greater exposure can cause sterility and cataracts and some forms of cancer and other diseases; severe exposure can cause death within hours, Syn. radiation, radiation syndrome
solar radiation(n) radiation from the sun
beam(n) a column of light (as from a beacon), Syn. shaft of light, light beam, ray, shaft, ray of light, beam of light, irradiation
infrared(n) electromagnetic radiation with wavelengths longer than visible light but shorter than radio waves, Syn. infrared radiation, infrared emission, infrared light
light(n) (physics) electromagnetic radiation that can produce a visual sensation, Syn. visible radiation, visible light
radiotherapy(n) (medicine) the treatment of disease (especially cancer) by exposure to a radioactive substance, Syn. radiation, irradiation, radiation therapy, actinotherapy
radio wave(n) an electromagnetic wave with a wavelength between 0.5 cm to 30, 000 m, Syn. radio emission, radio radiation
ultraviolet(n) radiation lying in the ultraviolet range; wave lengths shorter than light but longer than X rays, Syn. UV, ultraviolet radiation, ultraviolet light, ultraviolet illumination
x ray(n) electromagnetic radiation of short wavelength produced when high-speed electrons strike a solid target, Syn. X-ray, roentgen ray, X-radiation
x-raying(n) obtaining images by the use of X rays, Syn. X-radiation

The Collaborative International Dictionary of English (GCIDE) v.0.53
adaptive radiation

n. 1. (Palaeontology) the evolutionary generation of multiple specialized life forms from one ancestral form, evidenced in the fossil record. The inverse of extinction. [ PJC ]

Corradiation

n. A conjunction or concentration of rays in one point. Bacom [ 1913 Webster ]

Diradiation

n. [ Pref. di- + radiation. ] The emission and diffusion of rays of light. [ 1913 Webster ]

Eradiation

n. Emission of radiance. [ 1913 Webster ]

Infrared Radiation

n. [ Infra- + red. ] (Physics) electromagnetic radiation having a wavelength of between 700 nanometers and 1 millimeter. Infrared radiation is that electromagnetic radiation lying between the visible spectrum and the longest microwaves. It may be absorbed by matter in a manner specific to the absorbing substance, causing increased vibration of molecules. The infrared absorption spectrum of a chemical compound is often very specific, and the infrared absorption spectrum is therefore used to help identify chemical substances. Infrared radiation is used in certain communication devices, such as television remote controls and communication devices between computers or between computers and peripherals. [ PJC ]

ionizing radiation

n. rays of rapidly moving subatomic particles, x-reys, or gamma rays, sufficiently energetic to cause ionization when absorbed by matter. Such radiation is emitted by radioactive elements, or may be generated by highly energetic physical processes, as in stars. When absorbed by living tissue, ionizing radiation can cause mutation, cellular damage, or death. [ PJC ]

irradiation

n. [ Cf. F. irradiation. ] [ 1913 Webster ]

1. Act of irradiating, or state of being irradiated; as, irradiation of foods with X-rays can preserve their freshness by killing the bacteria that cause spoilage . [ 1913 Webster +PJC ]

2. Illumination; irradiance; brilliancy. Sir W. Scott. [ 1913 Webster ]

3. Fig.: Mental light or illumination. Sir M. Hale. [ 1913 Webster ]

4. (Opt.) The apparent enlargement of a bright object seen upon a dark ground, due to the fact that the portions of the retina around the image are stimulated by the intense light; as when a dark spot on a white ground appears smaller, or a white spot on a dark ground larger, than it really is, esp. when a little out of focus. [ 1913 Webster ]

Radiation

n. [ L. radiatio: cf. F. radiation. ] 1. The act of radiating, or the state of being radiated; emission and diffusion of rays of light; beamy brightness. [ 1913 Webster ]

2. The shooting forth of anything from a point or surface, like the diverging rays of light; as, the radiation of heat. [ 1913 Webster ]

Chinese-English: CC-CEDICT Dictionary
辐射[fú shè, ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ,   /  ] radiation #5,150 [Add to Longdo]
辐照[fú zhào, ㄈㄨˊ ㄓㄠˋ,   /  ] irradiation #38,999 [Add to Longdo]
核辐射[hé fú shè, ㄏㄜˊ ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ,    /   ] nuclear radiation #50,081 [Add to Longdo]
赫兹[Hè zī, ㄏㄜˋ ㄗ,   /  ] Hertz (name); Heinrich Hertz (1857-1894), German physicist and meteorologist, pioneer of electromagnetic radiation; Herz (Hz) or cycles per second, unit of frequency #53,376 [Add to Longdo]
拉德[lā dé, ㄌㄚ ㄉㄜˊ,  ] rad (unit of radiation) #74,320 [Add to Longdo]
热辐射[rè fú shè, ㄖㄜˋ ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ,    /   ] thermal radiation #77,713 [Add to Longdo]
辐射能[fú shè néng, ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ ㄋㄥˊ,    /   ] radiation energy (e.g. solar) #106,311 [Add to Longdo]
光辐射[guāng fú shè, ㄍㄨㄤ ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ,    /   ] light radiation #111,575 [Add to Longdo]
辐射场[fǔ shè chǎng, ㄈㄨˇ ㄕㄜˋ ㄔㄤˇ,    /   ] radiation field #126,697 [Add to Longdo]
爱克斯射线[ài kè sī shè xiàn, ㄞˋ ㄎㄜˋ ㄙ ㄕㄜˋ ㄒㄧㄢˋ,     线 /     ] X-ray radiation #321,132 [Add to Longdo]
西弗[Xī fú, ㄒㄧ ㄈㄨˊ, 西 ] Sievert (Sv), unit of radiation damage used in radiotherapy #460,307 [Add to Longdo]
伽马辐射[jiā mǎ fú shè, ㄐㄧㄚ ㄇㄚˇ ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ,     /    ] gamma radiation [Add to Longdo]
低剂量照射[dī jì liàng zhào shè, ㄉㄧ ㄐㄧˋ ㄌㄧㄤˋ ㄓㄠˋ ㄕㄜˋ,      /     ] low dose irradiation [Add to Longdo]
剩余辐射[shèng yú fú shè, ㄕㄥˋ ㄩˊ ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ,     /    ] residual radiation [Add to Longdo]
外照射[wài zhào shè, ㄨㄞˋ ㄓㄠˋ ㄕㄜˋ,   ] external irradiation [Add to Longdo]
密封辐射源[mì fēng fú shè yuán, ㄇㄧˋ ㄈㄥ ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ ㄩㄢˊ,      /     ] sealed radiation source [Add to Longdo]
希沃特[Xī wò tè, ㄒㄧ ㄨㄛˋ ㄊㄜˋ,   ] Sievert (Sv), unit of radiation damage used in radiotherapy; Rolf Maximilian Sievert (1896-1966), Swedish physicist [Add to Longdo]
幅射[fú shè, ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ,  ] variant of 輻射|辐射, radiation; to radiate [Add to Longdo]
放射性烟羽[fàng shè xìng yān yǔ, ㄈㄤˋ ㄕㄜˋ ㄒㄧㄥˋ ㄧㄢ ㄩˇ,      /     ] radiation plume [Add to Longdo]
本底辐射[běn dǐ fú shè, ㄅㄣˇ ㄉㄧˇ ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ,     /    ] background radiation [Add to Longdo]
生物伦琴当量[shēng wù lún qín dāng liàng, ㄕㄥ ㄨˋ ㄌㄨㄣˊ ㄑㄧㄣˊ ㄉㄤ ㄌㄧㄤˋ,       /      ] rem (Röntgen equivalent man, an old unit of radiation damage now replaced by the Sievert) [Add to Longdo]
瞬时辐射[shùn shí fú shè, ㄕㄨㄣˋ ㄕˊ ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ,     /    ] prompt radiation [Add to Longdo]
瞬发辐射[shùn fā fú shè, ㄕㄨㄣˋ ㄈㄚ ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ,     /    ] prompt radiation [Add to Longdo]
穿透辐射[chuān tòu fú shè, ㄔㄨㄢ ㄊㄡˋ ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ, 穿    / 穿   ] penetrating radiation [Add to Longdo]
辐射侦察[fú shè zhēn chá, ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ ㄓㄣ ㄔㄚˊ,     /    ] radiation detection [Add to Longdo]
辐射仪[fú shè yí, ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ ㄧˊ,    /   ] radiation meter [Add to Longdo]
辐射剂量[fú shè jì liàng, ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ ㄐㄧˋ ㄌㄧㄤˋ,     /    ] radiation dose [Add to Longdo]
辐射剂量率[fú shè jì liàng lǜ, ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ ㄐㄧˋ ㄌㄧㄤˋ ㄌㄩˋ,      /     ] radiation dose rate [Add to Longdo]
辐射强度[fú shè qiáng dù, ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ ㄑㄧㄤˊ ㄉㄨˋ,     /    ] radiation intensity [Add to Longdo]
辐射散射[fú shè sàn shè, ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ ㄙㄢˋ ㄕㄜˋ,     /    ] radiation scattering [Add to Longdo]
辐射波[fú shè bō, ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ ㄅㄛ,    /   ] radiation (wave); radiated wave [Add to Longdo]
辐射直接效应[fú shè zhí jiē xiào yìng, ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ ㄓˊ ㄐㄧㄝ ㄒㄧㄠˋ ㄧㄥˋ,       /      ] direct effect of radiation [Add to Longdo]
辐射警告标志[fú shè jǐng gào biāo zhì, ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ ㄐㄧㄥˇ ㄍㄠˋ ㄅㄧㄠ ㄓˋ,       /      ] radiation warning symbol [Add to Longdo]
辐射防护[fú shè fáng hù, ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ ㄈㄤˊ ㄏㄨˋ,     /    ] radiation protection [Add to Longdo]
电离辐射[diàn lí fú shè, ㄉㄧㄢˋ ㄌㄧˊ ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ,     /    ] ionization radiation; nuclear radiation [Add to Longdo]
黑体辐射[hēi tǐ fú shè, ㄏㄟ ㄊㄧˇ ㄈㄨˊ ㄕㄜˋ,     /    ] black body radiation (in thermodynamics) [Add to Longdo]

German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary
Abstrahlung { f } [ phys. ]radiation [Add to Longdo]
Ausbreitung { f } in neue Lebensräume (einer Tierart) [ biol. ]radiation (of a species) [Add to Longdo]
Ausstrahlung { f } | Ausstrahlungen { pl }radiation | radiations [Add to Longdo]
Bestrahlung { f }irradiation [Add to Longdo]
Gammastrahlung { f }gamma radiation [Add to Longdo]
Ionenbeschuss { m }ion bombardment; ion irradiation [Add to Longdo]
Kernstrahlungsspektroskopie { f }nuclear radiation spectroscopy [Add to Longdo]
Lebensraum { m }; Heimat { f } [ biol. ] | Schutz natürlicher Lebensräume | alltäglicher Lebensraum (eines Tiers) | Ausbreitung in neue Lebensräume (einer Tierart)habitat | habitat conservation | home range (of an animal) | radiation (of a species) [Add to Longdo]
Röntgenstrahlung { f }X-rays; roentgen radiation [Add to Longdo]
Sonneneinstrahlung { f }solar radiation [Add to Longdo]
Strahlendosis { f }radiation dose [Add to Longdo]
Strahlenkrankheit { f }radiation sickness [Add to Longdo]
Strahlenmessgerät { n }radiation gauge [Add to Longdo]
Strahlenschutz { m }radiation protection [Add to Longdo]
Strahlenunfall { m }radiation accident [Add to Longdo]
Strahlung { f }radiation [Add to Longdo]
Strahlungsgröße { f }radiation measurement [Add to Longdo]
Strahlungsschaden { m }radiation damage [Add to Longdo]
Strahlungsverlust { n } | Strahlungsverluste { pl }radiation loss | radiation losses [Add to Longdo]
Verströmen { n }radiation [Add to Longdo]
Wärmestrahlung { f }heat radiation [Add to Longdo]
Laser, LaserlichtLASER : light amplification by stimulated emission of radiation [Add to Longdo]

Japanese-English: EDICT Dictionary
放射[ほうしゃ, housha] (n, vs) radiation; emission; (P) #5,895 [Add to Longdo]
レーザー(P);レーザ[re-za-(P); re-za] (n) laser (Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation); (P) #6,125 [Add to Longdo]
放射線[ほうしゃせん, houshasen] (n) radiation; (P) #6,673 [Add to Longdo]
グレー(P);グレイ(P)[gure-(P); gurei (P)] (adj-na, n) (1) grey (gray); (2) (グレイ only) gray (SI unit of absorbed dose of radiation); (P) #10,558 [Add to Longdo]
発光[はっこう, hakkou] (n, vs, adj-no) luminescence; radiation; (P) #11,490 [Add to Longdo]
被爆[ひばく, hibaku] (n, vs) (1) being bombed; (2) (See 被曝) being A-bombed; being nuked; being exposed to radiation (from an atomic blast); (P) #12,957 [Add to Longdo]
rem[レム, remu] (n) rem (unit of radiation dose) [Add to Longdo]
イラジエーション[irajie-shon] (n) irradiation [Add to Longdo]
コバルト照射療法[コバルトしょうしゃりょうほう, kobaruto shousharyouhou] (n) cobalt radiation therapy [Add to Longdo]
シンクロトロン放射[シンクロトロンほうしゃ, shinkurotoron housha] (n) synchrotron radiation [Add to Longdo]
チェレンコフ放射[チェレンコフほうしゃ, chierenkofu housha] (n) Cherenkov radiation; Cerenkov radiation [Add to Longdo]
バックグラウンド放射線[バックグラウンドほうしゃせん, bakkuguraundo houshasen] (n) background radiation [Add to Longdo]
バナナ等価線量[バナナとうかせんりょう, banana toukasenryou] (n) banana equivalent dose (of radiation); BED [Add to Longdo]
バンアレン帯[バンアレンたい, ban'aren tai] (n) the Van Allen (radiation) belt (layer) [Add to Longdo]
メーザー[me-za-] (n) maser (microwave amplification by stimulated emission of radiation) [Add to Longdo]
ラジエーション;ラディエーション[rajie-shon ; radeie-shon] (n) radiation [Add to Longdo]
レントゲン[rentogen] (n) (1) (abbr) (See レントゲン線) X-ray; (2) roentgen (unit of ionizing radiation); (P) [Add to Longdo]
宇宙背景放射[うちゅうはいけいほうしゃ, uchuuhaikeihousha] (n) cosmic background radiation [Add to Longdo]
外部被曝[がいぶひばく, gaibuhibaku] (n) external exposure (to radiation) [Add to Longdo]
吸収線量[きゅうしゅうせんりょう, kyuushuusenryou] (n) absorbed dose (radiation) [Add to Longdo]
原子病[げんしびょう, genshibyou] (n) radiation sickness [Add to Longdo]
原爆症[げんばくしょう, genbakushou] (n) atomic-bomb sickness; symptoms of radiation sickness caused by an atomic-bomb (i.e. high fever, nausea); illness caused by atomic-bomb radiation exposure (i.e. leukemia, malignant tumors) [Add to Longdo]
光圧[こうあつ, kouatsu] (n) { physics } light pressure; photon pressure; radiation pressure [Add to Longdo]
光量[こうりょう, kouryou] (n) intensity (e.g. radiation, light); amount of light (radiation) [Add to Longdo]
黒体[こくたい, kokutai] (n) black body (object that absorbs all electromagnetic radiation) [Add to Longdo]
黒体放射[こくたいほうしゃ, kokutaihousha] (n) black-body radiation [Add to Longdo]
黒体輻射[こくたいふくしゃ, kokutaifukusha] (n) (See 黒体放射) black-body radiation [Add to Longdo]
照射法[しょうしゃほう, shoushahou] (n) irradiation [Add to Longdo]
照射野[しょうしゃや, shoushaya] (n) irradiation field (of X-rays) [Add to Longdo]
赤外放射[せきがいほうしゃ, sekigaihousha] (n) infrared radiation [Add to Longdo]
線源[せんげん, sengen] (n) source of radiation; radiation source [Add to Longdo]
太陽放射[たいようほうしゃ, taiyouhousha] (n) solar radiation [Add to Longdo]
太陽輻射[たいようふくしゃ, taiyoufukusha] (n) (See 太陽放射) solar radiation [Add to Longdo]
適応放散[てきおうほうさん, tekiouhousan] (n) adaptive radiation [Add to Longdo]
電離放射線[でんりほうしゃせん, denrihoushasen] (n) ionizing radiation [Add to Longdo]
内部被曝[ないぶひばく, naibuhibaku] (n) internal exposure (to radiation) [Add to Longdo]
日射[にっしゃ, nissha] (n) solar radiation [Add to Longdo]
熱放射[ねつほうしゃ, netsuhousha] (n) thermal radiation [Add to Longdo]
被曝;被ばく[ひばく, hibaku] (n, vs) (See 被爆・ひばく・2) being exposed to radiation; radiation exposure [Add to Longdo]
放散[ほうさん, housan] (n, vs) radiation; diffusion [Add to Longdo]
放射圧[ほうしゃあつ, houshaatsu] (n) radiation pressure [Add to Longdo]
放射角[ほうしゃかく, houshakaku] (n) radiation angle [Add to Longdo]
放射光[ほうしゃこう, houshakou] (n) synchrotron radiation [Add to Longdo]
放射性肺炎[ほうしゃせいはいえん, houshaseihaien] (n) radiation pneumonitis [Add to Longdo]
放射線遺伝学[ほうしゃせんいでんがく, houshasen'idengaku] (n) radiation genetics (study of the effects of radiation on genes) [Add to Longdo]
放射線化学[ほうしゃせんかがく, houshasenkagaku] (n) radiation chemistry [Add to Longdo]
放射線検出器[ほうしゃせんけんしゅつき, houshasenkenshutsuki] (n) radiation detector [Add to Longdo]
放射線治療[ほうしゃせんちりょう, houshasenchiryou] (n) radiation therapy [Add to Longdo]
放射線取扱主任者[ほうしゃせんんとりあつかいしゅにんしゃ, houshasenntoriatsukaishuninsha] (n) radiation protection supervisor [Add to Longdo]
放射線重合[ほうしゃせんじゅうごう, houshasenjuugou] (n) radiation-induced polymerization; radiation polymerization [Add to Longdo]

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top