ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: library, -library- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| library | (ไล'บรารี) n. ห้องสมุด, หอเก็บหนังสือ, การเก็บรวมโปรแกรมมาตรฐานของคอมพิวเตอร์ | library card | n. บัตรยืมหนังสือจากห้องสมุด | library of congress | n. ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน | private library | คลังชุดคำสั่งส่วนตัวหมายถึง ที่เก็บรวบรวมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งแปลไว้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว อาจเรียกใช้ได้ทันที มักเป็นชุดคำสั่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน program library | program library | คลังโปรแกรมหมายถึง ที่เก็บรวบรวมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งแปลไว้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว อาจเรียกใช้ได้ทันที มักเป็นชุดคำสั่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน private library |
| | | Integrated Library Systems | ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ, Example: ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ เป็นระบบที่ทำงานร่วมกันระหว่างชุดโปรแกรมที่ประกอบด้วยโมดูลต่างๆ หรือระบบย่อยตามลักษณะงานพื้นฐานของห้องสมุด ได้แก่ งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ (Acquisition module) งานควบคุมสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serial control) งานทำรายการทรัพทยากรสารสนเทศ (Cataloging module) การสืบค้นทางออนไลน์ (Online Public Access Catalog-OPAC) และงานบริการยืม-คืน (Circulation module) <p> <p>การทำงานที่สัมพันธ์ (โดยย่อ) เริ่มจาก <p> <p>1. การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ เช่น การจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ นำรายการของทรัพยากรสารสนเทศ ข้อมูลของร้านค้าหนังสือ ข้อมูลของราคา (อัตราแลกเปลี่ยน) ข้อมูลของงบประมาณที่ได้รับสำหรับการจัดหา งานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศสามารถควบคุมงบประมาณที่ได้รับจากการที่ระบบสามารถตัดยอดงบประมาณที่ได้ดำเนินการไปแล้ว สามารถติดต่อร้านค้าตามข้อมูลที่ลงไว้ในระบบ และลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม (ตั้งต้น) ของทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมสถานะของรายการนั้นๆ ว่าอยู่ในระหว่างการจัดซื้อ การส่งไปยังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ รายการต่างๆ แม้ว่าจะลงรายการทางบรรณานุกรม ยังไม่ครบถ้วน แต่ผู้ใช้สามารถสืบค้นและเห็นรายการดังกล่าว ผ่านโมดูล OPAC แต่สถานะจะเป็นตัวบ่งบอกว่าอยู่ในกระบวนการใด <p> <p>2. งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ดึงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ทางงานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ บันทึกไว้ในระบบ เพื่อลงรายการทางบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์การลงรายการทางบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ (MARC) อย่างครบถ้วน ถูกต้อง พร้อมเปลี่ยนสถานะของรายการนั้นๆ เป็นให้บริการที่ชั้นหนังสือ (Check shelf available) และส่งทรัพยากรสารสนเทศที่ลงรายการทางบรรณานุกรมในระบบผ่านโมดูล Cataloging เรียบร้อยไปยังงานบริการเพื่อขึ้นชั้นให้บริการ รายการทางบรรณานุกรมที่ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะสามารถสืบค้นผ่านโมดูล OPAC <p> <p>3. ผู้ใช้สามารถสืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการใช้ผ่านโมดูล OPAC และนำมายืมผ่านโมดูล Circulation <p> <p>4. โมดูล Circulation อำนวยความสะดวกในการให้ยืม คืน จอง ต่ออายุ ทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมทั้งคำนวณการปรับค่าหนังสือที่ค้างการคืน และพิมพ์ใบเสร็จรับเงินค่าปรับ <p> <p>5. ในส่วนของวารสาร ซึี่่งเป็นงานที่มีความซับซ้อนมาก จะมีโมดูล Serial control ในการบันทึกรายการวารสารที่เข้ามาแล้ว ต้องติดตามทวงถาม การเย็มเล่ม <p> <p>เริ่มมีการนำระบบห้องสมุดแบบบูรณาการมาใช้ให้ห้องสมุดตั้งแต่ ค.ศ. 1981 เมื่อ University of Florida ซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปโนทิส (NOTIS-Northwestern Online Total Integrated System) เป็นครั้งแรก และหลังจากนั้นก็มีระบบห้องสมุดแบบบูรณาการเกิดขึ้นอีกมากมายและจำนวนห้องสมุดที่หันมาใช้ระบบดังกล่าวก็เพิ่มขึ้นทั่วโลก นับเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างมากสำหรับห้องสมุดในการเปลี่ยนจากระบบห้องสมุดแบบเดิม มาเป็นระบบห้องสมุดแบบบูรณาการ <p> <p>ระบบห้องสมุดแบบบูรณาการในปัจจุบัน มีทั้งเชิงพาณิชย์ และที่เป็นโปรแกรมโอเพนซอร์ส สำหรับโปรแกรมเชิงพาณิชย์ ได้แก่ อินโนแพค (INNOPAC) วีทีแอลเอส (VTLS) เป็นต้น แล้วแต่ความละเอียดของแต่ละโมดูลที่มีให้ และมีทั้งที่พัฒนาจากต่างประเทศและในประเทศไทย ส่วนโปรแกรมที่เป็นโอเพนซอร์ส ได้แก่ Koha, OpenBiblio เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Digital library | ห้องสมุดดิจิทัล [เทคโนโลยีการศึกษา] | Academic library | ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Agricultural library | ห้องสมุดการเกษตร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | American Library Association | สมาคมห้องสมุดอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Art library | ห้องสมุดศิลปะ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Economics library | ห้องสมุดเศรษฐศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Fishery library | ห้องสมุดประมง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Hospital library | ห้องสมุดโรงพยาบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Scientific library | ห้องสมุดวิทยาศาสตร์, Example: <p>หากจัดแบ่งตามประเภทห้องสมุด ซึ่งมี 5 ประเภท คือ หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ห้องสมุดโรงเรียน และห้องสมุดเฉพาะ <p>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ จัดอยู่ในประเภทห้องสมุดเฉพาะ ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา ให้บริการแก่ผู้ใช้เฉพาะกลุ่มหรือบางกลุ่มซึ่งเป็นผู้ที่ทำงานหรือศึกษาในสาขาวิชานั้น ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานราชการ องค์กรวิจัย เป็นต้น ทำหน้าที่จัดหาหนังสือ และให้บริการความรู้ ข้อมูล และข่าวสาร เฉพาะเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานนั้น ๆ <P>ที่ตั้งและสถานภาพของห้องสมุดวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ สังกัดมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา หรือ หน่วยงาน องค์กรวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <P>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ที่โดดเด่น เช่น ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Book mobile library | ห้องสมุดเคลื่อนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Branch library | ห้องสมุดสาขา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library classification | การจัดหมู่หนังสือ, Example: เดิมห้องสมุดส่วนใหญ่จัดเก็บหนังสือ ตามขนาดของหนังสือ ตามสีของปก หรือตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ ต่อมา ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือขึ้น โดยแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ โดยมีพัฒนาการ ดังนี้ <p> <p>1. สมัยโบราณ <p><p> 1.1 ชาวอัสซีเรียน เชื่อกันว่า ชาวอัสซีเรียนเป็นพวกที่เริ่มวิธีการจัดหมู่อย่างเป็นแบบแผน ในสมัยพระเจ้าอัสซูบานิปาล มีการจัดกลุ่มแท่งดินเหนียวในห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์ออกเป็น 2 หมวดใหญ่แบ่งตามเนื้อเรื่อง คือ เรื่องราวทางโลก และ เรื่องราวทางสวรรค์ <p><p> 1.2 ชาวโรมัน ห้องสมุดในสมัยโรมัน มีการแบ่งแยกหนังสือตามประเภทของผู้เขียน เป็น 2 หมวด คือ หนังสือของพวกนักเขียนนอกศาสนา และหนังสือของพวกนักเขียนที่นับถือศาสนาคริสต์หรือนักบวช <p><p> 1.3 ชาวอียิปต์ คัลลิมาคัส ซึ่งเป็นบรรณารักษ์ของห้องสมุดอเล็กซานเดรีย จัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่ คือ กวีนิพนธ์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา วาทศิลป์ และเบ็ดเตล็ด <p> 2 สมัยกลาง อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก คิดระบบการจัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 3 ภาคได้แก่ <p><p> - ความรู้ภาคปฏิบัติ (Practical หรือ Ethical) ประกอบด้วย วิชาเศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ และนิติศาสตร์ <p><p> - ความรู้ในทางสร้างสรรค์ (Productive หรือ Creative) ประกอบด้วย วิชากวีนิพนธ์ และศิลปะ <p><p> - ความรู้ภาคทฤษฎี (Theoretical) ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และเทววิทยา <p> 3. สมัยศตวรรษที่ 16 คอนราด เกสเนอร์ (Conrad Gesner) เขียนหนังสือชื่อ Bibliotheca Universalis ซึ่งเป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือภาษาลาติน กรีก และฮินดู จัดเรียงตามรายชื่อหนังสือตามลำดับหัวข้อวิชา โดยแบ่งออกเป็น 21 หัวข้อ <p> 4. สมัยศตวรรษที่ 17 เซอร์ ฟรานซิส เบคอน (Sir Francis Bacon) ได้เขียนหนังสือชื่อ The Advancement of Learning ขึ้นในปี ค.ศ. 1605 โดยเบคอนมีความคิดว่า มนุษย์มีความรู้สึกนึกคิดเป็น 3 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วนมีผลทำให้เกิดความรู้ขึ้น ได้แก่ ส่วนที่ 1 ความจำ (Memory) ทำให้เกิดวิชาประวัติศาสตร์ ส่วนที่ 2 จินตนาการ (Imagination) ทำให้เกิดวิชาร้อยกรอง และ ส่วนที่ 3 เหตุผล (Reason) ทำให้เกิดวิชาปรัชญา <p> จากแนวความคิดนี้เอง ประธานาธิบดี โธมัส เจฟเฟอสัน (Thomas Jefferson) แห่งสหรัฐอเมริกา ได้นำมาจัดทำเป็นระบบจัดหมู่หนังสือในห้องสมุดส่วนตัว ซึ่งต่อมาก็ได้ถูกนำมาใช้เป็นระบบจัดหมู่หนังสือในหอสมุดรัฐสภาอเมริกันในยุคแรก <p> 5. สมัยศตวรรษที่ 18 กุสตาฟ บูรเนต์ (Gustave Brunet) ชาวฝรั่งเศส เขียนหนังสือคู่มือการจัดหมู่หนังสือและห้องสมุดชื่อ Manuel du Libraire et d l' Amateur de Livres โดยแบ่งความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่คือ เทววิทยา นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดี <p> 6. สมัยศตวรรษที่ 19-20 ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือเพื่อใช้ในห้องสมุดอย่างจริงจังหลายระบบ ได้แก่ <p><p> ค.ศ. 1876 ระบบทศนิยมดิวอี้ <p><p>ค.ศ. 1891 ระบบเอ็กแพนซีฟ <p><p>ค.ศ. 1901 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><p>ค.ศ. 1905 ระบบทศนิยมสากล <p><p> ค.ศ. 1906 ระบบซับเจ็ค <p><p> ค.ศ. 1933 ระบบโคลอน <p><p> ค.ศ. 1935 ระบบบิบลิโอกราฟิค <p> ระบบการจัดหมู่ในระยะแรกมีแนวคิดในการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่อย่างมีเหตุผลตามแนวทฤษฎี จึงเรียกว่า ระบบทฤษฎี (Theoretical system) ต่อมาในศตวรรษที่ 20 แนวความคิดเปลี่ยนเป็นการคำนึงถึงหนังสือที่มีอยู่จริงในห้องสมุด จึงเรียกว่า ระบบปฏิบัติ (Practical system) <p> บรรณานุกรม <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์. 2520. ประวัติการทำบัตรรายการและการจัดหมู่หนังสือ. เอกสารบรรณารักษศาสตร์ เล่ม 19. กรุงเทพฯ : แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. <p> Wynar, Bohdan S. 1985. Introduction to Cataloging and Classification. 7th ed. Littletob, Colo. : Libraries Unlimited. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Demographic library | ห้องสมุดประชากรศาสตร์, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Dental library | ห้องสมุดทันตแพทย์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Digital library | ห้องสมุดดิจิทัล, [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Interlibrary loan | การยืมระหว่างห้องสมุด, Example: การยืมระหว่างห้องสมุด คือ เป็นบริการที่ห้องสมุดจัดให้เพื่อให้มีการยืม ทำสำเนาเอกสาร จากห้องสมุดแห่งอื่น เป็นการขยายการให้บริการเพื่อให้ผู้ใช้สามารถได้รับเอกสาร หนังสือ หรือทรัพยากรสารสนเทศรูปแบบอื่นๆ ที่ต้องการใช้ได้ แม้ว่าจะไม่มีรายการนั้นๆ อยู่ในห้องสมุดที่ผู้ใช้นั้นสังกัดอยู่ โดยต้องมีการกรอกรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืมลงในแบบฟอร์ม การใ้ห้บริการยืมระหว่างห้องสมุดส่วนใหญ่มีในห้องสมุดมหาวิทยาลัย <p> <p>การใช้บริการยืมระหว่างห้องสมุด อาจทำได้ 2 วิธี คือ <p>1. ผู้ใช้บริการไปติดต่อขอยืมด้วยตนเอง <p> ผู้ใช้กรอกรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืม ผ่านให้บรรณารักษ์ของห้องสมุดที่ผู้ใช้สังกัดอยู่ และนำไปแบบฟอร์มนี้ไปติดต่อยืมด้วยตนเอง <p>2. ให้ห้องสมุดดำเนินการให้ <p>ผู้ใช้กรอกรายละเอียดลงในแบบกรอกรายการยืมระหว่างห้องสมุด ส่งให้บรรณารักษ์ที่รับผิดชอบดำเนินการให้ ขอใช้บริการไปยังห้องสมุดที่มีข้อมูล/ เอกสารสิ่งพิมพ์ที่ต้องการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | International Federation of Library Asso | สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด, Example: <p>International Federation of Library Associations and Institutions (IFLA) สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927) มีวัตถุประสงค์ในการประสานสามัคคีระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และ สารนิเทศศาสตร์ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ประสบการณ์ และร่วมมือกันสร้างความพัฒนาถาวรให้แก่ห้องสมุด และสถาบันบริการสารนิเทศ รวมทั้งการพัฒนาทางมาตรฐานงานเทคนิคของห้องสมุด ปัจจุบันมีสมาชิกทั่วโลกจำนวน 1, 600 คน / หน่วยงาน จาก 150 ประเทศ <p>IFLA มีสถานภาพเป็นองค์กรอิสระระดับสากล ไม่แสวงหากำไร ให้คำแนะนำปรึกษาด้านห้องสมุด บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ แก่องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมของสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน สภาระหว่างประเทศว่าด้วยการจดหมายเหตุ และองค์การอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสารนิเทศ การศึกษา และวัฒนธรรม IFLA ก่อตั้งขึ้นที่เมือง Edinburgh, Scotland และได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ให้ตั้งสำนักงานที่กรุงเฮก เนเธอร์แลนด์ <p>IFLA จัดการประชุมวิชาการทุกปีโดยหมุนเวียนเปลี่ยนสถานที่ไปตามประเทศสมาชิกต่าง ๆ เพื่อให้บรรณารักษ์นานาชาติจากทั่วโลกได้มาพบ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์วิชาการ วิชาชีพ และสร้างมิตรภาพ ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างห้องสมุด โดยประเทศไทยได้มีโอกาสเป็นเจ้าภาพจัดประชุม IFLA ครั้งที่ 65 ในปี พ.ศ. 2542 (วันที่ 19 - 27 สิงหาคม 2542) โดยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์การประชุม หัวข้อการประชุมในครั้งนั้น เรื่อง On the Threshold of the 21st Century : Libraries as Gateways to an Enlightened World หรือ ห้องสมุดเป็นประตูไปสู่โลกอันสดใสในรุ่งอรุณแห่งศตวรรษใหม่ สนใจกิจกรรมการจัดประชุมของ IFLA ติดตามข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ www.ifla.org [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library | ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library administration | การบริหารงานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library administrator | ผู้บริหารห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library automation | ห้องสมุดอัตโนมัติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library building | อาคารห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library cooperation | ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library edition | ฉบับห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library employee | บุคลากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library hour | เวลาเปิดทำการของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library instruction service | บริการสอนวิธีใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library material | ทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library of Congress Classification System | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library orientation | การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด, Example: <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด (Library orientation) เป็นกิจกรรมและบริการเชิงรุกในการส่งเสริมความรู้ ความสามารถ ในการใช้บริการพื้นฐานต่าง ๆ ของห้องสมุด เช่น การสืบค้น การยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด และเป็นการสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามระเบียบและมารยาทของการเข้าใช้ห้องสมุดได้อย่างถูกต้อง ก่อให้เกิดความคุ้นเคยด้านสถานที่ การบริการ และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอำนวยประโยชน์ในด้านการเรียน การสอน และการค้นคว้าวิจัย <p> กลุ่มเป้าหมายในการจัดปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ได้แก่ นิสิต นักศึกษาใหม่ ของสถาบันการศึกษา หรือ พนักงานใหม่ ในกรณีหน่วยงานนั้นมีห้องสมุดในการให้บริการแก่ผู้ใช้ <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ประกอบด้วยเนื้อหาและขอบเขต ดังนี้ <p>1. ข้อมูลทั่วไปของห้องสมุด กฎ กติกา มารยาท วันเวลาเปิด - ปิด บริการ สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ รวมทั้งข่าวและกิจกรรมที่น่าสนใจ <p>2. นำชมห้องสมุด เพื่อสร้างความคุ้นเคยด้านสถานที่ และพาเยี่ยมชมพื้นที่ให้บริการ <p>3. แนะนำบริการของห้องสมุด เช่น บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า บริการยืม-คืน บริการสืบค้นสารสนเทศ บริการวิทยานิพนธ์ บริการวารสาร บริการอินเทอร์เน็ต เป็นต้น <p>4. ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ <p>5. การสืบค้นสารสนเทศ เรียนรู้เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล ที่ห้องสมุดบอกรับ <p>6. บริการเอกสารฉบับเต็ม แนะนำวิธีการค้นหาเอกสาร หากไม่สามารถค้นหาเอกสารที่ต้องการได้ในเมืองไทย <p>7. บรรณานุกรมและอ้างอิง แนะนำวิธีการเขียนรายการบรรณานุกรมและอ้างอิง ที่ถูกต้องของสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ รวมถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการประกอบการทำรายงาน งานวิจัย และวิทยานิพนธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library patron | ผู้ใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library personnel | เจ้าหน้าที่ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library profession | วิชาชีพห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library public relations | การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library science | บรรณารักษศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library stamp | ตราห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library standard | มาตรฐานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library's page | หน้าลับเฉพาะ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Military library | ห้องสมุดทหาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | National library | หอสมุดแห่งชาติ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Online library catalog | รายการบรรณานุกรมออนไลน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Private library | ห้องสมุดส่วนตัว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Public library | ห้องสมุดประชาชน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Rental library | การให้เช่าหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Traveling library | ห้องสมุดเคลื่อนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | University library | ห้องสมุดมหาวิทยาลัย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library fund raising | การระดมเงินทุนของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Classification, Library of Congress | ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library use studies | การศึกษาการใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
| | "Go" the number two "Map Room, 39th Street Library, posthaste. | "Gehe zum zweiten Kartenraum, 39te Street Library, schnellstens." Terra Pericolosa (2014) | In the days leading up to each robbery, including the one at the 39th Street Library, someone signed into the guest log under the alias René Duchez. | In den Tagen vor jedem Raub, auch der an der 39th Street Library, schrieb sich jemand in die Besucherliste unter dem Alias René Duchez ein. Terra Pericolosa (2014) | We can now say with reasonable certainty that Stuart Zupko killed the guard at the 39th Street Library. | Wir können jetzt mit ziemlicher Sicherheit sagen, dass Stuart Zupko den Wachmann auf der 39. Street Library tötete. Terra Pericolosa (2014) | If he'd known it was in the 39th Street Library, his lawyers could've just subpoenaed it. | Wenn er gewusst hätte, dass sie in der 39th Street Library ist, seine Anwälte hätten sie vorgeladen. Terra Pericolosa (2014) | He did his best using the high-resolution scans the 39th Street Library made available on their Web site. | Er tat sein Bestes mit den hochauflösenden Scans von der 39th Street Library, die auf ihrer Website zur Verfügung standen. Terra Pericolosa (2014) | Now, this map has traces of mold on it, which prove it was in a drawer in the 39th Street Library for decades. | Diese Karte hat Spuren von Schimmel, die beweisen, dass sie seit Jahrzehnten in einer Schublade in der 39th Street Library war. Terra Pericolosa (2014) | This is a little bit like driving along in the British Library. | Es ist, als würde man durch die British Library fahren. [ censored ] to [ censored ] (2017) | Do you remember our performance at the Leverett Old Library? | Erinnert euch an unseren Auftritt im Leverett Old Library Theater. A Night of Surprises (2017) | Today, the film is recognized as a milestone and is part of the Library of Congress' National Film Registry. | Heute gilt der Film als Meilenstein und ist Teil der National Film Registry der Library of Congress. The Price of Victory (2017) | Welcome to the library. | ยินดีต้อนรับสู่ห้องสมุด. Hocus Pocus (1993) | Shawshank Prison library. | ห้องสมุด Shawshank เรือนจำ The Shawshank Redemption (1994) | How about expanding the library? Get some new books in there. | วิธีการเกี่ยวกับการขยายตัวของห้องสมุดหรือไม่ ได้รับหนังสือใหม่บางอย่างในการมี The Shawshank Redemption (1994) | Probably couldn't get a library card if he tried. | อาจจะไม่สามารถรับบัตรห้องสมุดถ้าเขาพยายาม The Shawshank Redemption (1994) | In response to your repeated enquiries, the State has allocated the enclosed funds for your library project." | ในการตอบสนองต่อการสอบถามข้อมูลซ้ำของคุณ รัฐได้จัดสรรเงินไว้สำหรับโครงการห้องสมุดของคุณ ". The Shawshank Redemption (1994) | "In addition, the Library District has generously responded with a charitable donation of used books and sundries. | "นอกจากนี้ห้องสมุดอำเภอได้ตอบสนองอย่างไม่เห็นแก่ตัว ด้วยการบริจาคการกุศลของการใช้หนังสือและของกระจุกกระจิก The Shawshank Redemption (1994) | Andy had transformed a storage room smelling of rat turds and turpentine into the best prison library in New England, complete with a fine selection of Hank Williams. | แอนดี้ได้เปลี่ยนห้องเก็บกลิ่นของ turds หนูและสน เป็นห้องสมุดเรือนจำที่ดีที่สุดในนิวอิงแลนด์ เสร็จสิ้นกับการเลือกที่ดีของแฮงค์วิลเลียมส์ The Shawshank Redemption (1994) | I also built that library and used it to help a dozen guys get a high school diploma. | ฉันยังสร้างห้องสมุดที่ และใช้มันเพื่อช่วยให้พวกโหลได้รับประกาศนียบัตรจากโรงเรียนสูง The Shawshank Redemption (1994) | Andy built a library. | แอนดี้สร้างห้องสมุด The Shawshank Redemption (1994) | I've got it. Colonel Mustard in the library with a wrench. | มันเหมือนแบบเกมนายพลมัสตาร์ดไง Jumanji (1995) | It was the library. | ที่นี่คือห้องสมุด The Great Dictator (1940) | - Ready in the library, sir. | - เตรียมไว้เเล้วที่ห้องสมุดครับท่าน Rebecca (1940) | I beg pardon, madam. I'm afraid the fire is not usually lit in the library until the afternoon. | ขออภัยด้วยครับ เเต่ปกติห้องสมุด จะไม่จุดไฟจนกว่าจะช่วงบ่าย Rebecca (1940) | Robert found these sketches in the library, madam. | โรเบิร์ตเจอภาพวาดพวกนี้ที่ห้องสมุดค่ะ Rebecca (1940) | Save it for the library. | บันทึกไว้สำหรับห้องสมุด The Godfather (1972) | We've just come from the library. | เราออกมาจากห้องสมุด Clue (1985) | In the library. | ในห้องสมุดก่อนได้ไหม Clue (1985) | And I introduced myself to you as a butler, and I made across the hall to the library. | และผมแนะนำตัวเอง ว่าผมเป็นพ่อบ้าน และผมก็ผ่านห้องโถงไปยังห้องสมุด Clue (1985) | We locked him in the library. | เราล็อคเขาไว้ในห้องสมุด Clue (1985) | Then, in the dark, you got the lead pipe, and the rope, strangled Yvette, ran to the library, killed the cop, picked up the gun where Yvette dropped it, opened the front door, | จากนั้นท่ามกลางความมืดคุณหยิบท่อน้ำขึ้นมา และเอาเชือกรัดคออีเว็ตต์ วิ่งไปที่ห้องสมุดฆ่าตำรวจ หยิบปืนที่อีเว็ตต์ทิ้งไว้ Clue (1985) | Ran to the library, hit the cop on the head with the lead pipe. | วิ่งไปที่ห้องสมุด ตีหัวตำรวจด้วยท่อน้ำ Clue (1985) | Then, coming out of the library, the doorbell rang. It was a singing telegram. | จากนั้นออกจากห้องสมุด เสียงกริ่งประตูดังขึ้น เป็นคนร้องเพลงโทรเลข Clue (1985) | Miss Scarlet seized the opportunity and under cover of darkness, crossed to the library, where she hit the cop, whom she'd been bribing, on the head with a lead pipe. | คุณสการ์เล็ตฉวยโอกาสและ อยู่ในตอนที่มืดอยู่ เธอไปที่ห้องสมุด และตีตำรวจซึ่งเธอเคยติดสินบนอยู่ บนหัวด้วยท่อน้ำ Clue (1985) | So my brother would be down in the library studying and I would be upstairs in the attic | พี่ผมอ่านหนังสือในห้องสมุด... ...ส่วนผมจะอยู่ในห้องเพดาน... Punchline (1988) | Seventy percent of all archaeology is done in the library. | 70% ของโบราณคดี จากโบราณคดีที่สำรวจแล้ว อยู่ในห้องสมุด Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | I left your father working in the library. | ฉันปล่อยให้ พ่อของคุณอยู่ทำงานต่อในห้องสมุด Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | The last time I saw your father, we were in the library. | ครั้งสุดท้ายที่ฉันเห็นพ่อของคุณ, เราอยู่ที่ห้องสมุด. Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | Here is the library. | ที่นี่คือห้องสมุด. Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | That doesn't look much like a library. | นั่น ดูไม่เหมือนห้องสมุด สักเท่าไหร่ Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | The library's closing in a few moments. | ห้องสมุดจะปิดในอีกไม่กี่นาที Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | The tomb is somewhere in the library. | หลุมศพอยู่ตรงไหนสักแห่ง ในห้องสมุดนี้ Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | Through the library? | ผ่านทางห้องสมุด? Indiana Jones and the Last Crusade (1989) | You dropped 150 grand on a fuckin' education... you could've got for $1.50 in late charges at the public library. | ค่าประกันห้องสมุด Good Will Hunting (1997) | You hang out at a library. | คุณไปที่ห้องสมุด City of Angels (1998) | By the way, what time does the library close? | เกือบลืมไป ห้องสมุดปิดกี่โมงครับ Rushmore (1998) | So when he died, I gave it to the library here. | แล้วเขาก็มาเรียนรัชมอร์ พอเขาตาย ฉันก็เลยยกให้ห้องสมุด Rushmore (1998) | This is from Fritz Campion's own library. | รูปนี้มาจากห้องสมุดฟริทซ์แคมเปึ้ยน Unbreakable (2000) | He's going to the library to look up Nicholas Flamel. | เขากำลังจะไปห้องสมุด ดูข้อมูลนิโคลัส แฟลมเมล Harry Potter and the Sorcerer's Stone (2001) | Library might be easier. | เอ่อ ฉันว่าที่ห้องสมุดจะดีกว่านะ Metamorphosis (2001) | I'm the Fifth Avenue Public Library information unit, Vox registration NY-114. | ระบบเก็บข้อมูล ของห้องสมุดถนนสาย 5 ว๊อกซ์เอ็นวาย 114 The Time Machine (2002) | The lending library is temporarily out of service. | ห้องสมุดแบบให้ยืมของเรา ปิดชั่วคราว The Time Machine (2002) |
| | บัตรรายการ | (n) catalogue card, See also: card index (library), Example: นักศึกษาสามารถค้นหนังสือได้จากบัตรรายการในห้องสมุด | ห้องสมุดประชาชน | (n) public library, Example: กรุงเทพมหานครให้งบประมาณสร้างห้องสมุดประชาชนขึ้นทั่วกรุงเทพ 20 แห่ง, Thai Definition: ห้องสมุดสำหรับประชาชน | คลังสมอง | (n) knowledge source, See also: library, Syn. ห้องสมุด, Example: ห้องสมุดเป็นคลังสมองที่รวบรวมความรู้ในทุกสาขาวิชา, Count Unit: แห่ง, ที่ | ผู้ใช้บริการห้องสมุด | (n) library user | บัตรห้องสมุด | (n) library ticket, See also: borrower's ticket | หอสมุด | (n) library, Example: การจัดสรรงบประมาณให้หอสมุดได้ซื้อหนังสือ จำต้องได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษในแต่ละปี, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: ห้องหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่างๆ ซึ่งอาจรวมทั้งต้นฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟิล์ม เป็นต้น เพื่อใช้เป็นที่ค้นคว้าหาความรู้ | ห้องสมุด | (n) library, Syn. หอสมุด, Example: ห้องสมุดเป็นแหล่งข้อมูลความรู้สำคัญสำหรับเยาวชน, Count Unit: ห้อง | ห้องสมุด | (n) library, Example: ห้องสมุดเป็นแหล่งข้อมูลความรู้สำคัญสำหรับเยาวชน, Count Unit: ห้อง, Thai Definition: ห้องหรืออาคารเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่างๆ ไว้เป็นระบบ |
| บัตรห้องสมุด | [bat hǿngsamut] (n, exp) EN: library ticket ; borrower's ticket FR: carte de lecteur [ m ] | ฉบับห้องสมุด | [chabap hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition | ฉบับประจำห้องสมุด | [chabap prajam hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition | ห้องสมุด | [hǿngsamut] (n) EN: library ; study FR: bibliothèque [ f ] | ห้องสมุดเคลื่อนที่ | [hǿngsamut khleūoenthī] (n, exp) EN: mobile library FR: bibliothèque mobile [ f ] ; bibliothèque itinérante [ f ] | ห้องสมุดเสมือนจริง | [hǿngsamut sameūoen jing] (n, exp) EN: virtual library FR: bibliothèque virtuelle [ f ] | หอพระสมุด แห่งชาติ | [Hø Phra Samut Haengchāt] (org) EN: National Library (in Bangkok) FR: Bibliothèque nationale (de Thaïlande) [ f ] | หอสมุด | [høsamut] (n) EN: library FR: bibliothèque [ f ] | หอสมุดแห่งชาติ | [høsamut haengchāt] (n, exp) EN: National Library FR: bibliothèque nationale [ f ] | การแบ่งหมวดหมู่หนังสือ | [kān baeng mūatmū nangseū] (n, exp) EN: classification of books ; library classification FR: classification des ouvrages [ f ] | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือ | [rabop kān jat mūatmū nangseū] (n, exp) EN: library classification FR: système de classification des livres [ m ] ; système de classification des documents [ m ] | สำนักหอสมุดกลาง | [samnak høsamut klāng] (n, exp) EN: central library | ยืมหนังสือจากห้องสมุด | [yeūm nangseū jāk hǿngsamut] (v, exp) EN: borrow a book from the library FR: emprunter un livre à la bibliothèque |
| | | bachelor of arts in library science | (n) a bachelor's degree in library science, Syn. ABLS | lending library | (n) library that provides books for use outside the building, Syn. circulating library | library | (n) a room where books are kept | library | (n) a collection of literary documents or records kept for reference or borrowing | library | (n) a depository built to contain books and other materials for reading and study, Syn. depository library | library | (n) (computing) a collection of standard programs and subroutines that are stored and available for immediate use, Syn. program library, subroutine library | library | (n) a building that houses a collection of books and other materials | library card | (n) a card certifying the bearer's right to use the library, Syn. borrower's card | library catalog | (n) an enumeration of all the resources of a library, Syn. library catalogue | library fine | (n) fine imposed by a library on books that overdue when returned | library program | (n) a program in a program library | library routine | (n) a debugged routine that is maintained in a program library | library science | (n) the study of the principles and practices of library administration | master of arts in library science | (n) a master's degree in library science, Syn. MALS | master of library science | (n) a master's degree in library science, Syn. MLS | national library of medicine | (n) the world's largest medical library, Syn. United States National Library of Medicine, U.S. National Library of Medicine | public library | (n) a nonprofit library maintained for public use | nag hammadi | (n) a collection of 13 ancient papyrus codices translated from Greek into Coptic that were discovered by farmers near the town of Nag Hammadi in 1945; the codices contain 45 distinct works including the chief sources of firsthand knowledge of Gnosticism, Syn. Nag Hammadi Library | paste | (n) an adhesive made from water and flour or starch; used on paper and paperboard, Syn. library paste |
| Library | n.; pl. Libraries [ OE. librairie, F. librairie bookseller's shop, book trade, formerly, a library, fr. libraire bookseller, L. librarius, from liber book; cf. libraria bookseller's shop, librarium bookcase, It. libreria. See Libel. ] 1. A considerable collection of books kept for use, and not as merchandise; as, a private library; a public library. [ 1913 Webster ] 2. A building or apartment appropriated for holding such a collection of books. Holland. [ 1913 Webster ] |
| 图书 | [tú shū, ㄊㄨˊ ㄕㄨ, 图 书 / 圖 書] books (in a library or bookstore) #4,677 [Add to Longdo] | 图书馆 | [tú shū guǎn, ㄊㄨˊ ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ, 图 书 馆 / 圖 書 館] library #4,742 [Add to Longdo] | 浩如烟海 | [hào rú yān hǎi, ㄏㄠˋ ㄖㄨˊ ㄧㄢ ㄏㄞˇ, 浩 如 烟 海 / 浩 如 煙 海] vast as the open sea (成语 saw); fig. extensive (library) #62,818 [Add to Longdo] | 书馆 | [shū guǎn, ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ, 书 馆 / 書 館] teashop with performance by 評書|评书 story tellers; (attached to name of publishing houses); (in former times) private school; library (of classic texts) #65,429 [Add to Longdo] | 借书证 | [jiè shū zhèng, ㄐㄧㄝˋ ㄕㄨ ㄓㄥˋ, 借 书 证 / 借 書 證] library card #85,718 [Add to Longdo] | 续借 | [xù jiè, ㄒㄩˋ ㄐㄧㄝˋ, 续 借 / 續 借] extended borrowing (e.g. library renewal) #113,653 [Add to Longdo] | 宬 | [chéng, ㄔㄥˊ, 宬] library stack; storage #207,855 [Add to Longdo] | 伯德雷恩图书馆 | [bó dé léi ēn tú shū guǎn, ㄅㄛˊ ㄉㄜˊ ㄌㄟˊ ㄣ ㄊㄨˊ ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ, 伯 德 雷 恩 图 书 馆 / 伯 德 雷 恩 圖 書 館] Bodleian Library (Oxford) [Add to Longdo] | 函式库 | [hán shì kù, ㄏㄢˊ ㄕˋ ㄎㄨˋ, 函 式 库 / 函 式 庫] library (partition on computer hard disk) [Add to Longdo] | 功能集 | [gōng néng jí, ㄍㄨㄥ ㄋㄥˊ ㄐㄧˊ, 功 能 集] function library [Add to Longdo] | 同文馆 | [Tóng wén guǎn, ㄊㄨㄥˊ ㄨㄣˊ ㄍㄨㄢˇ, 同 文 馆 / 同 文 館] the first modern Chinese library established in 1898 by William A.P. Martin 丁韙良|丁韪良, becoming the foundation for Beijing University library [Add to Longdo] | 国家图书馆 | [guó jiā tú shū guǎn, ㄍㄨㄛˊ ㄐㄧㄚ ㄊㄨˊ ㄕㄨ ㄍㄨㄢˇ, 国 家 图 书 馆 / 國 家 圖 書 館] national library [Add to Longdo] | 档案馆 | [dàng àn guǎn, ㄉㄤˋ ㄢˋ ㄍㄨㄢˇ, 档 案 馆 / 檔 案 館] archive library [Add to Longdo] |
| | 文庫 | [ぶんこ, bunko] (n) (1) library; book collection; (2) (abbr. of 文庫本) paperback book; (P) #756 [Add to Longdo] | 図書館(P);圕(oK) | [としょかん(P);ずしょかん(図書館)(ok), toshokan (P); zushokan ( toshokan )(ok)] (n) library; (P) #1,098 [Add to Longdo] | 書房 | [しょぼう, shobou] (n) library; bookstore; bookshop; (P) #1,819 [Add to Longdo] | 叢書;双書;総書 | [そうしょ, sousho] (n) series (of publications); library (of literature) #2,912 [Add to Longdo] | 国会図書館 | [こっかいとしょかん, kokkaitoshokan] (n) (See 国立国会図書館) National Diet Library; Library of Congress #3,396 [Add to Longdo] | 開館 | [かいかん, kaikan] (n, vs) (1) opening a hall for that day's business (museum, library, such like buildings); (2) opening of new hall (museum, etc.); (P) #3,941 [Add to Longdo] | ライブラリー(P);ライブラリ | [raiburari-(P); raiburari] (n) library; (P) #7,944 [Add to Longdo] | 蔵書 | [ぞうしょ, zousho] (n, vs) book collection; library; (P) #10,173 [Add to Longdo] | 休館 | [きゅうかん, kyuukan] (n, vs, adj-no) closure (of a library, museum, etc.); (P) #12,965 [Add to Longdo] | 来館 | [らいかん, raikan] (n, vs) coming to an embassy, theatre, library, etc. #15,066 [Add to Longdo] | 入館 | [にゅうかん, nyuukan] (n, vs) entry (e.g. library, school, museum); entering #19,958 [Add to Longdo] | アーカイブライブラリ | [a-kaiburaiburari] (n) { comp } archive library [Add to Longdo] | オブジェクトライブラリ | [obujiekutoraiburari] (n) { comp } object library [Add to Longdo] | クラスライブラリ | [kurasuraiburari] (n) { comp } class library (as in C++) [Add to Longdo] | コンテンツライブラリ | [kontentsuraiburari] (n) { comp } content library [Add to Longdo] | シェアードライブラリ | [shiea-doraiburari] (n) { comp } shared library [Add to Longdo] | システムライブラリ | [shisutemuraiburari] (n) { comp } system library [Add to Longdo] | スタンダードライブラリー;スタンダードライブラリ | [sutanda-doraiburari-; sutanda-doraiburari] (n) standard library (programming) [Add to Longdo] | スライドライブラリ | [suraidoraiburari] (n) { comp } slide library [Add to Longdo] | タイプライブラリ | [taipuraiburari] (n) { comp } type library [Add to Longdo] | ダイナミックリンクライブラリ | [dainamikkurinkuraiburari] (n) { comp } dynamic linking library; DLL [Add to Longdo] | ダイナミックリンクライブラリファイル | [dainamikkurinkuraiburarifairu] (n) { comp } dynamic-link library file [Add to Longdo] | テープライブラリ | [te-puraiburari] (n) { comp } tape library [Add to Longdo] | テープライブラリー | [te-puraiburari-] (n) tape library [Add to Longdo] | ドキュメントライブラリ | [dokyumentoraiburari] (n) { comp } document library [Add to Longdo] | ビデオライブラリ | [bideoraiburari] (n) { comp } video library [Add to Longdo] | フィルムライブラリ | [firumuraiburari] (n) { comp } film library [Add to Longdo] | フィルムライブラリー | [firumuraiburari-] (n) film library [Add to Longdo] | フォトライブラリー | [fotoraiburari-] (n) photo library [Add to Longdo] | ブックモビル | [bukkumobiru] (n) { comp } mobile library; bookmobile (USA) [Add to Longdo] | プログラムライブラリ | [puroguramuraiburari] (n) { comp } program library [Add to Longdo] | ライブラリー関数 | [ライブラリーかんすう, raiburari-kansuu] (n) { comp } library function [Add to Longdo] | ライブラリケース | [raiburarike-su] (n) { comp } library case [Add to Longdo] | ライブラリディレクトリ | [raiburarideirekutori] (n) { comp } library directory [Add to Longdo] | ライブラリファイル | [raiburarifairu] (n) { comp } library file [Add to Longdo] | ライブラリルーチン | [raiburariru-chin] (n) { comp } library routine [Add to Longdo] | ランタイムライブラリ | [rantaimuraiburari] (n) { comp } run-time library [Add to Longdo] | レコードライブラリ | [reko-doraiburari] (n) { comp } sound recordings library; record library [Add to Longdo] | 移動図書館 | [いどうとしょかん, idoutoshokan] (n) mobile library; bookmobile [Add to Longdo] | 遺伝子ライブラリー | [いでんしライブラリー, idenshi raiburari-] (n) gene library [Add to Longdo] | 飲食禁止 | [いんしょくきんし, inshokukinshi] (n) no food or drink (e.g. as a sign in a library, etc.); no eating or drinking [Add to Longdo] | 音楽図書館 | [おんがくとしょかん, ongakutoshokan] (n) music library [Add to Longdo] | 開架 | [かいか, kaika] (n, adj-no) open access (in a library); open shelves [Add to Longdo] | 開架式 | [かいかしき, kaikashiki] (n) making materials in a library available in open stacks [Add to Longdo] | 学校図書館 | [がっこうとしょかん, gakkoutoshokan] (n) school library [Add to Longdo] | 関数ライブラリ | [かんすうライブラリ, kansuu raiburari] (n) { comp } function library; FL [Add to Longdo] | 寄託図書館 | [きたくとしょかん, kitakutoshokan] (n) { comp } deposit library [Add to Longdo] | 共有ライブラリ | [きょうゆうライブラリ, kyouyuu raiburari] (n) { comp } shared library [Add to Longdo] | 禁帯出 | [きんたいしゅつ, kintaishutsu] (adj-no) for reference only; in-library use only; not for loan [Add to Longdo] | 経堂 | [きょうどう, kyoudou] (n) sutra library [Add to Longdo] |
| システムライブラリ | [しすてむらいぶらり, shisutemuraiburari] system library [Add to Longdo] | テープライブラリ | [てーぷらいぶらり, te-puraiburari] tape library [Add to Longdo] | ビデオライブラリ | [びでおらいぶらり, bideoraiburari] video library [Add to Longdo] | フィルムライブラリ | [ふぃるむらいぶらり, firumuraiburari] film library [Add to Longdo] | ブックモビル | [ぶっくもびる, bukkumobiru] mobile library, bookmobile (USA) [Add to Longdo] | プログラムライブラリ | [ぷろぐらむらいぶらり, puroguramuraiburari] program library [Add to Longdo] | ライブラリ | [らいぶらり, raiburari] library [Add to Longdo] | ライブラリー関数 | [ライブラリーかんすう, raiburari-kansuu] library function [Add to Longdo] | ライブラリケース | [らいぶらりけーす, raiburarike-su] library case [Add to Longdo] | ライブラリディレクトリ | [らいぶらりでいれくとり, raiburarideirekutori] library directory [Add to Longdo] | ライブラリファイル | [らいぶらりふぁいる, raiburarifairu] library file [Add to Longdo] | ライブラリルーチン | [らいぶらりるーちん, raiburariru-chin] library routine [Add to Longdo] | レコードライブラリ | [れこーどらいぶらり, reko-doraiburari] sound recordings library, record library [Add to Longdo] | 移動図書館 | [いどうとしょかん, idoutoshokan] mobile library, bookmobile (USA) [Add to Longdo] | 寄託図書館 | [きたくとしょかん, kitakutoshokan] deposit library [Add to Longdo] | 研究図書館 | [けんきゅうとしょかん, kenkyuutoshokan] research library [Add to Longdo] | 公共図書館 | [こうきょうとしょかん, koukyoutoshokan] public library [Add to Longdo] | 国立図書館 | [こくりつとしょかん, kokuritsutoshokan] national library [Add to Longdo] | 参考図書館 | [さんこうとしょかん, sankoutoshokan] reference library [Add to Longdo] | 実行形式ライブラリ | [じっこうけいしきライブラリ, jikkoukeishiki raiburari] execution image library [Add to Longdo] | 写真図書館 | [しゃしんとしょかん, shashintoshokan] photographic library [Add to Longdo] | 図書館 | [としょかん, toshokan] library [Add to Longdo] | 図書館システム | [としょかんシステム, toshokan shisutemu] library system [Add to Longdo] | 図書館ネットワーク | [としょかんネットワーク, toshokan nettowa-ku] library network [Add to Longdo] | 図書館学 | [としょかんがく, toshokangaku] library science [Add to Longdo] | 専門図書館 | [せんもんとしょかん, senmontoshokan] special library [Add to Longdo] | 総合図書館 | [そうごうとしょかん, sougoutoshokan] general library [Add to Longdo] | 著作権図書館 | [ちょさくけんとしょかん, chosakukentoshokan] copyright library [Add to Longdo] | 著作権登録図書館 | [ちょさくけんとうろくとしょかん, chosakukentourokutoshokan] copyright library [Add to Longdo] | 電子図書館 | [でんしとしょかん, denshitoshokan] electronic library [Add to Longdo] | 登録集原文 | [とうろくしゅうげんぶん, tourokushuugenbun] library text [Add to Longdo] | 登録集名 | [とうろくしゅうめい, tourokushuumei] library-name [Add to Longdo] | 納本図書館 | [のうほんとしょかん, nouhontoshokan] deposit library [Add to Longdo] | 標準ライブラリ | [ひょうじゅんライブラリ, hyoujun raiburari] standard library [Add to Longdo] | 文庫 | [ぶんこ, bunko] library [Add to Longdo] |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |