ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*วินิจ*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: วินิจ, -วินิจ-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ศัพท์แพทย์ศาสตร์สำหรับคนไทย (MED) - ไทย (TH)
diag (ไดแอ็ก)(vi) มาจากคำว่า diagnose วินิจฉัยโรค, วินิจจัยเพื่อหาสาเหตุของความเจ็บป่วย

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
วินิจ(v) inspect, See also: examine, consider, think over, investigate, Syn. พิจารณา, พินิจ, ไตร่ตรอง, Example: คณะแพทย์วินิจพิจารณาถึงข้อดีและข้อเสียของยาตัวใหม่
วินิจฉัย(v) judge, See also: make a final decision, decide, contemplate, consider, Syn. ตัดสิน, Example: แพทย์ยังวินิจฉัยไม่ได้ว่าคนไข้เป็นอะไร, Thai Definition: พิจารณาเพื่อตัดสิน
คำวินิจฉัย(n) decision, See also: judgement, verdict, ruling, Syn. คำตัดสิน, คำพิพากษา, Example: ในวรรคสองของมาตรานี้บัญญัติให้ถือคำวินิจฉัยของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญเป็นที่ยุติ, Count Unit: ข้อ
วินิจฉัยโรค(v) diagnose, Example: การแพทย์ในปัจจุบันนี้ใช้คอมพิวเตอร์วินิจฉัยโรค, Thai Definition: พิจารณารักษาโรค, วิเคราะห์โรค
การวินิจฉัยโรค(n) diagnosis, Example: การวินิจฉัยโรคในปัจจุบันได้มีการนำเอาคอมพิวเตอร์เข้าช่วยในการวินิจฉัยโรคมากขึ้น

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
วินิจก. ตรวจตรา, พิจารณา.
วินิจฉัยก. ตัดสิน, ชี้ขาด, เช่น เรื่องนี้วินิจฉัยได้ ๒ ทาง
วินิจฉัยไตร่ตรอง, ใคร่ครวญ, เช่น คณะกรรมการขอเลื่อนเวลาออกไปอีกเพื่อวินิจฉัยปัญหาให้รอบคอบยิ่งขึ้น.
กระทงแถลงน. ส่วนสำคัญในสำนวนความที่เป็นประเด็นและที่เกี่ยวกับประเด็นอันพึงเสนอวินิจฉัย.
การไต่สวนมูลฟ้องน. กระบวนไต่สวนของศาลเพื่อวินิจฉัยถึงมูลคดีที่จำเลยต้องหา.
การประกอบโรคศิลปะน. การประกอบวิชาชีพที่กระทำหรือมุ่งหมายจะกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบำบัดโรค การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ การผดุงครรภ์ แต่ไม่รวมถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ.
เกณฑ์น. หลักที่กำหนดไว้ เช่น อายุเข้าเกณฑ์, หลักวินิจฉัย เช่น ถือความรู้เป็นเกณฑ์.
คดีดำน. คดีหมายเลขดำ ซึ่งหมายถึง คดีที่ฟ้องร้องต่อศาลและศาลได้ลงทะเบียนคดีในสารบบความของศาล โดยเริ่มตั้งแต่เลข ๑ ทับเลขปี พ.ศ. เรียงเป็นลำดับไปจนสิ้นปี เมื่อศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดีหรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีออกจากสารบบความหรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีชั่วคราว ศาลจะให้หมายเลขคดีใหม่เรียกว่าคดีหมายเลขแดง ควบคู่ไปกับคดีหมายเลขดำที่ให้ไว้เดิม เช่น คดีหมายเลขดำที่ ๑/๒๕๕๐ คดีหมายเลขแดงที่ ๑/๒๕๕๑ หรือกล่าวโดยสรุป คดีดำ หมายถึง คดีที่ศาลยังมิได้ตัดสินหรือจำหน่ายคดี ส่วนคดีแดง คือ คดีที่ศาลได้ตัดสินหรือจำหน่ายคดีแล้ว.
คดีแดงน. คดีหมายเลขแดง ซึ่งหมายถึง คดีที่ศาลได้มีคำพิพากษาหรือคำวินิจฉัยชี้ขาดคดี หรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีออกจากสารบบความ หรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีชั่วคราวแล้ว โดยเริ่มตั้งแต่เลข ๑ ทับเลขปี พ.ศ. เป็นลำดับไปจนสิ้นปี เรียกย่อ ๆ ว่า “คดีแดง” เช่น คดีหมายเลขแดงที่ ๑/๒๕๕๐ หรือคดีแดงที่ ๑/๒๕๕๐. (ดู คดีดำ ประกอบ).
ความเห็นน. ข้อวินิจฉัยหรือความเชื่อที่แสดงออกตามที่เห็น รู้ หรือ คิด เช่น ฉันมีความเห็นว่านักมวยไทยจะเป็นฝ่ายชนะ ผมมีความเห็นว่าเขาเป็นคนน่าเชื่อถือ.
คำพิพากษาน. คำวินิจฉัยชี้ขาดของศาลในประเด็นแห่งคดีที่ฟ้องต่อศาล.
คำสั่งทางปกครองน. การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ.
เครือดินน. ไม้เถาตามที่กล่าวไว้ในไตรภูมิวินิจฉัยว่ามีสัณฐานประดุจดังผักบุ้งและแพงพวย.
ง้วน ๑น. เรียกโอชะของบางสิ่ง เช่น ง้วนดิน คือ โอชะของดิน ที่กล่าวไว้ในคัมภีร์ไตรภูมิโลกวินิจฉัยว่ามีรสหวาน, ง้วนผึ้ง คือ ละอองดอกไม้ที่ผึ้งนำมาสะสมไว้ที่รัง มีสีเหลือง มีรสมัน หอมหวาน.
(จอ) พยัญชนะตัวที่ ๘ เรียกว่า จอ จาน เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น กิจ วินิจฉัย ตำรวจ.
ชี้ขาดก. สั่งเด็ดขาด, วินิจฉัยเด็ดขาด.
ฎีกาการคัดค้านคำพิพากษาหรือคำสั่งศาลชั้นต้นหรือศาลอุทธรณ์ เพื่อเสนอให้ศาลฎีกาพิจารณาพิพากษาหรือวินิจฉัยชี้ขาด
ดะโต๊ะยุติธรรมน. ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม.
ดุลพินิจ(ดุนละ-, ดุน-) น. การวินิจฉัยที่เห็นสมควร, ดุลยพินิจ ก็ใช้.
ดุลยพินิจน. การวินิจฉัยที่เห็นสมควร, ดุลพินิจ ก็ใช้.
ตุ๊กตาตัวอย่างที่สมมุติขึ้นมาประกอบคำอธิบายหรือวินิจฉัยเป็นต้น เช่น ตั้งตุ๊กตามาดู.
ไต่สวนก. สอบสวนข้อเท็จจริงเพื่อวินิจฉัยว่าถูกต้องหรือไม่.
ที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกาน. การประชุมของผู้พิพากษาศาลฎีกาและผู้พิพากษาอาวุโสในศาลฎีกาทุกคนเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่มีกฎหมายกำหนด เช่น การวินิจฉัยปัญหาในคดีตามที่ประธานศาลฎีกาเห็นสมควร หรือการเลือกองค์คณะผู้พิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง.
พยานหลักฐานน. ในทางแพ่งหมายถึง สิ่งที่จะนำมาใช้ในการวินิจฉัยข้อเท็จจริง ในทางอาญาหมายถึง สิ่งที่จะพิสูจน์ได้ว่าจำเลยหรือผู้ต้องหามีความผิดหรือบริสุทธิ์.
พระที่นั่งน. อาคารที่ประทับของพระมหากษัตริย์ซึ่งตามปรกติอยู่ในพระราชวัง เช่น พระที่นั่งบรมพิมาน พระที่นั่งอัมพรสถาน, อาคารที่เสด็จออกมหาสมาคม เช่น พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระที่นั่งอนันตสมาคม พระที่นั่งวโรภาษพิมาน, ที่ประทับซ้อนบนพระแท่นราชบัลลังก์ภายใต้นพปฎลเศวตฉัตร เช่น พระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์, ยานที่ประทับในการเสด็จพระราชดำเนินโดยขบวนแห่ทางบก เช่น พระที่นั่งพุดตานทอง พระที่นั่งราเชนทรยาน
มติข้อวินิจฉัยญัตติที่เสนอต่อที่ประชุม.
ศาลรัฐธรรมนูญน. ศาลที่มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ.
ศาสนจักร(สาสะนะจัก, สาดสะนะจัก) น. อำนาจปกครองทางศาสนา เช่น ไตรภูมิโลกวินิจฉัยเป็นวรรณกรรมฝ่ายศาสนจักร, ถ้าเป็นฝ่ายพระพุทธศาสนา เรียกว่า พุทธจักร, ถ้าเป็นฝ่ายคริสต์ศาสนา เรียกว่า คริสตจักร, คู่กับ อาณาจักร ซึ่งหมายความว่า อำนาจปกครองทางบ้านเมือง.
สืบเสาะและพินิจน. การค้นหาและรวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคลและนำมาวิเคราะห์วินิจฉัยตามหลักวิชาการทางสังคมสงเคราะห์ แพทย์ จิตวิทยา กฎหมาย และหลักวิชาการอื่นที่เกี่ยวข้องกับบุคคลและครอบครัวของบุคคลนั้น.
หลักเกณฑ์น. หลักที่กำหนดไว้เพื่อใช้วินิจฉัยและปฏิบัติตาม.
อนิยต(อะนิยด) น. ชื่ออาบัติที่ไม่แน่นอนว่าจะเป็นอาบัติปาราชิก สังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย์ ซึ่งพระวินัยธรจะต้องวินิจฉัย.
อุทธรณ์ยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งหรือคำวินิจฉัยของพนักงานเจ้าหน้าที่

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
pathological diagnosisการวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
puncture, exploratoryการเจาะวินิจฉัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pharmacodiagnosisการวินิจฉัยโรคด้วยยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
physiognosisการวินิจฉัยโรคจากโฉมหน้าและสีหน้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
physical diagnosisกายวินิจฉัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
laboratory diagnosisการวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
radiodiagnosisรังสีวินิจฉัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
radiodiagnosticsรังสีวินิจฉัยศิลป์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
radiological diagnosisการวินิจฉัยทางรังสีวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
roentgen diagnosisการวินิจฉัยด้วยรังสีเรินต์เกน [ มีความหมายเหมือนกับ diagnosis, X-ray ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ratio decidendi (L.)เหตุผลในการวินิจฉัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
rulingคำวินิจฉัยชี้ขาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
sound judicial discretionดุลยพินิจวินิจฉัยของศาลที่ถูกต้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
stigma (เอก.); stigmata (พหู.)๑. จุดเด่นช่วยวินิจฉัย๒. แต้ม, ดวง๓. ยอดเกสรตัวเมีย๔. จุดรับแสง [ มีความหมายเหมือนกับ eyespot ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
stigmata (พหู.); stigma (เอก.)๑. จุดเด่นช่วยวินิจฉัย๒. แต้ม, ดวง๓. ยอดเกสรตัวเมีย๔. จุดรับแสง [ มีความหมายเหมือนกับ eyespot ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
serum diagnosis; serodiagnosisการวินิจฉัยโดยตรวจซีรัม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
syllabusบทย่อคำวินิจฉัยของศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
serodiagnosis; diagnosis, serumการวินิจฉัยโดยตรวจซีรัม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
adjudicationคำวินิจฉัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
administrative adjudicationการวินิจฉัยสั่งการในทางปกครอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
abiding convictionคำวินิจฉัยชี้ขาดว่ากระทำความผิดอาญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
awardคำวินิจฉัยของอนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
arthroscopy, diagnosticการส่องกล้องในข้อเพื่อวินิจฉัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
arbitramentคำวินิจฉัยชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
judgment๑. คำพิพากษา, คำตัดสิน, คำวินิจฉัย๒. พินิศจัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
judge๑. วินิจฉัย๒. ผู้พิพากษา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
judicial decisionคำวินิจฉัยของศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
biological diagnosisชีวภาพวินิจฉัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
concentrationการรวมอำนาจวินิจฉัยสั่งการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
collusive actionคดีที่สมมุติข้อเท็จจริง (เพื่อให้ศาลวินิจฉัยข้อกฎหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
clinical diagnosisการวินิจฉัยทางคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
compiler diagnosticsข้อวินิจฉัยโดยตัวแปลโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
cytodiagnosisการวินิจฉัยโรคจากเซลล์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
chose jugée (Fr.)คดีที่ตัดสินเสร็จเด็ดขาดแล้ว, ปัญหาที่วินิจฉัยเด็ดขาดแล้ว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
X-ray diagnosisการวินิจฉัยด้วยรังสีเอกซ์ [ มีความหมายเหมือนกับ diagnosis, roentgen ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
differential diagnosisการวินิจฉัยแยกโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
decisionคำวินิจฉัย, การวินิจฉัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
decisionคำวินิจฉัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
decision, judicialคำวินิจฉัยของศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
decision-makingการวินิจฉัยสั่งการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
distinguishing a caseการชี้ข้อแตกต่างในการวินิจฉัยคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
diagnostic castชิ้นหล่อวินิจฉัย [ มีความหมายเหมือนกับ study cast และ study model ] [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
diagnostic checkการตรวจสอบวินิจฉัย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
diagnostic programโปรแกรมวินิจฉัย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
diagnostic routineรูทีนวินิจฉัย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
diagnostic testการทดสอบวินิจฉัย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
diagnosticianผู้เชี่ยวชาญการวินิจฉัยโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
diagnosticsวิชาการวินิจฉัยโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
diagnoseวินิจฉัย(โรค) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
diagnosisการวินิจฉัย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Diagnosisการวินิจฉัยโรค [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Diagnostic imagingการดูภาพทางรังสีวินิจฉัย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Diagnostic reagents and test kitsชุดตรวจวินิจฉัยโรคสำเร็จรูป [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
พระบรมราชวินิจฉัยคำตัดสิน [ศัพท์พระราชพิธี]
Cytodiagnosisการวินิจฉัยจากเซลล์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Electrodiagnosisการวินิจฉัยด้วยไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Preimplantation genetic diagnosisการวินิจฉัยทางพันธุกรรมก่อนการฝังตัว [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Diagnosis, Laboratoryการวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Diagnostic exposureการรับรังสีจากการวินิจฉัยโรค, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ อันเป็นขั้นตอนหนึ่งในการวินิจฉัยโรค หรือตรวจหาความบกพร่องของอวัยวะ [นิวเคลียร์]
Single Photon Emission Computed Tomographyสเป็กต์, เทคนิคการถ่ายภาพด้วยวิธีกราดวิเคราะห์ โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีเข้าไปในกระแสเลือด ใช้มากในการศึกษาสารส่งผ่านประสาท (neurotransmitter) แต่ก็สามารถใช้ตรวจวินิจฉัยระบบอวัยวะใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับเภสัชภัณฑ์รังสีที่ใช้ซึ่งมีครึ่งชีวิตยาวกว่าที่ใช้กับเพ็ต จึงไม่จำเป็นต้องมีไซโคลทรอนอยู่ด้วยกัน อย่างไรก็ตาม สเป็กต์มีความละเอียดในการวิเคราะห์ต่ำกว่าเพ็ตมาก, Example: [นิวเคลียร์]
Single Photon ECTสเป็กต์, เทคนิคการถ่ายภาพด้วยวิธีกราดวิเคราะห์ โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีเข้าไปในกระแสเลือด ใช้มากในการศึกษาสารส่งผ่านประสาท (neurotransmitter) แต่ก็สามารถใช้ตรวจวินิจฉัยระบบอวัยวะใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับเภสัชภัณฑ์รังสีที่ใช้ซึ่งมีครึ่งชีวิตยาวกว่าที่ใช้กับเพ็ต จึงไม่จำเป็นต้องมีไซโคลทรอนอยู่ด้วยกัน อย่างไรก็ตาม สเป็กต์มีความละเอียดในการวิเคราะห์ต่ำกว่าเพ็ตมาก [นิวเคลียร์]
Radiopharmaceuticsสารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์]
Radiopharmaceuticalsสารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์]
Radionuclide imagingการถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์, เทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โดยให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วย และถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีในอวัยวะที่ต้องการ ตรวจด้วยเครื่องตรวจและสร้างภาพ เช่น Gamma camera หรือ Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) หรือ Positron Emission Tomography (PET) เพื่อแสดงขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยวิธีอื่น <br>ศัพท์ที่ใช้ทางการแพทย์และมีความหมายคล้ายกัน ได้แก่คำว่า radionuclide organ imaging, nuclear scanning</br>, Example: [นิวเคลียร์]
Diagnostic programโปรแกรมวินิจฉัย, Example: โปรแกรมที่ทดสอบคอมพิวเตอร์และช่วยให้เราค้นหาปัญหาที่ทำให้ระบบทำงานไม่ได้ตามที่ควร [คอมพิวเตอร์]
Positron Emission Tomographyเพ็ต, เทคนิคการถ่ายภาพการทำงานของอวัยวะด้วยวิธีกราดวิเคราะห์โพซิตรอนที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีที่มีครึ่งชีวิตสั้นมากซึ่งผลิตจากไซโคลทรอนเข้าไปในกระแสเลือด เช่น การตรวจการทำงานของสมอง จะใช้กลูโคสซึ่งฝังตรึงด้วยสารกัมมันตรังสี ฟลูออร์-18 เพื่อแสดงการทำงานของสมองส่วนต่างๆ เป็นภาพสามมิติที่มีสีสันแตกต่างกัน ข้อดีของเทคนิคนี้ คือ สามารถแสดงผลได้รวดเร็วในเวลาน้อยกว่า 1 นาที นอกจากนี้ยังสามารถใช้วินิจฉัยด้านอื่นๆ ได้ด้วย เช่น โรคหัวใจร่วมหลอดเลือด เนื้องอก และด้านลิ่มเลือดหรือโรคลมต่างๆ [นิวเคลียร์]
Medical exposureการได้รับรังสีจากการแพทย์, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ ซึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งของการวินิจฉัยโรคหรือการบำบัดโรคของผู้นั้น [นิวเคลียร์]
AIDS serodiagnosisการวินิจฉัยกลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมโดยตรวจซีรั่ม [TU Subject Heading]
Cytodiagnosisเซลล์วินิจฉัย [TU Subject Heading]
Cytological techniquesเทคนิคการวินิจฉัยทางเซลล์ [TU Subject Heading]
Diagnosisการวินิจฉัย [TU Subject Heading]
Diagnosis, Differentialการวินิจฉัยแยกโรค [TU Subject Heading]
Diagnosis, Surgicalศัลยศาสตร์วินิจฉัย [TU Subject Heading]
Diagnostic imagingการบันทึกภาพเพื่อวินิจฉัยโรค [TU Subject Heading]
Diagnostic techniques and proceduresการวินิจฉัยโรค [TU Subject Heading]
Diagnostic techniques, Neurologicalการวินิจฉัยโรคประสาท [TU Subject Heading]
Diagnostic useการใช้วินิจฉัย [TU Subject Heading]
Electrodiagnosisการวินิจฉัยด้วยไฟฟ้า [TU Subject Heading]
Histological Techniquesเทคนิคการวินิจฉัยทางจุลกายวิภาค [TU Subject Heading]
Laboratory techniques and proceduresการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ [TU Subject Heading]
Nursing diagnosisการวินิจฉัยทางการพยาบาล [TU Subject Heading]
Prenatal diagnosisการวินิจฉัยก่อนคลอด [TU Subject Heading]
Serodiagnosisการวินิจฉัยโรคทางเซรุ่ม [TU Subject Heading]
Ultrasonography ; Ultrasonic imagingการวินิจฉัยด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง [TU Subject Heading]
Ultrasonography, Prenatalการวินิจฉัยก่อนคลอดด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง [TU Subject Heading]
Horizonชั้นดิน, ชั้นดินวินิจฉัย, Example: 1) ชั้นดิน คือ ชั้นดินที่แบ่งเป็นชั้น ๆ ขนาน หรือเกือบขนานไปกับผิวหน้าดิน แต่ละชั้นมีลักษณะแตกต่างกัน เนื่องจากสมบัติทางกายภาพ ชีวภาพ และลักษณะอื่น ๆ เช่น สี โครงสร้าง เนื้อดิน การยึดตัวและความเป็นกรดเป็นด่างของดิน ซึ่งสามารถสังเกตได้ในสนาม การเรีย [สิ่งแวดล้อม]
Accessionการภาคยานุวัติ คือการที่รัฐหนึ่งเข้าไปเป็นภาคีสนธิสัญญา ซึ่งรัฐอื่น ๆ ได้วินิจฉัยตกลงก่อนแล้วและสนธิสัญญานั้นได้มีผลใช้บังคับก่อนแล้วด้วย บางที่ใช้คำ ?accession? ซึ่งตรงกับคำในภาษาฝรั่งเศสว่า ?adhésion? รัฐจะเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาไม่ได้ นอกจากว่าในสนธิสัญญานั้นมีบทบัญญัติยอมให้รัฐอื่นเข้ามาเป็นภาคีด้วยได้ เช่น มาตรา 4 ของกฎบัตรแห่งสหประชาชาติบัญญัติไว้ว่า?(1) สมาชิกภาพในสหประชาชาติ เปิดรับบรรดารัฐอื่นๆ ทั้งหลายที่ยอมรับพันธกรณีที่ระบุไว้ในกฎบัตรปัจจุบันและองค์การสหประชาชาติ พิจารณาวินิจฉัยแล้วว่า รัฐนั้น ๆ สามารถและเต็มใจที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีเหล่านั้น??(2) การรับรัฐใดๆ ดังกล่าวเข้าเป็นสมาชิกในสหประชาชาติจะเป็นผลสำเร็จก็ต่อเมื่อสมัชชาสหประชา ชาติได้ลงมติรับรองตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง? คือ เอกสิทธิ์ทางการทูตในการที่จะได้มีถิ่นพำนัก [การทูต]
Conciliationการไกล่เกลี่ย คือ กระบวนการของการส่งเรื่องกรณีพิพาทไปให้คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริง แล้วเสนอรายงาน ซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะในอันที่จะระงับกรณีพิพาทนั้น อย่างไรก็ดี ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการนี้ไม่มีผลบังคับแก่คู่พิพาทแต่อย่างใด ไม่เหมือนกับคำวินิจฉัยในการตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) [การทูต]
Consular office Declared ?Non grata?เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต]
Good Offices และ Mediationวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยฉันมิตร คำว่า Good Offices หมายถึง การช่วยเป็นสื่อกลาง ส่วน Mediation หมายถึง การไกล่เกลี่ยศัพท์ทั้งสองนี้หมายถึงวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยฉันมิตร กล่าวคือ ในกรณีข้อพิพาทซึ่งการเจรจากันทางการทูตไม่สามารถตกลงกันได้ง่าย ๆ ดังนั้น รัฐที่สามอาจยื่นมือเข้าช่วยเป็นสื่อกลาง หน้าที่ในการนี้มิใช่ออกความเห็นหรือวินิจฉัยชี้ขาดว่าใครถูกใครผิดในกรณี ข้อพิพาท หากเป็นแต่เพียงแสวงหาลู่ทางที่จะระงับข้อพิพาทจะต้องมีให้น้อยที่สุดเท่า ที่จะทำได้ และถือว่าเป็นกาดรกระทำฉันมิตร (Friendly act) คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธข้อเสนอได้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดทางการ เมือง หรือคู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจขอร้องให้ช่วยเป็นสื่อกลาง หรือให้ช่วยไกล่เกลี่ย ตามธรรมดาการช่วยเป็นสื่อกลางนั้นเป็นเพียงการเข้าช่วยงานพื้นฐาน หรือให้มีการเริ่มต้นการเจรจาเท่านั้น ส่วนงานเจรจาที่จะกระทำโดยตรงกว่าจะมีลักษณะเป็นการไกล่เกลี่ย แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีการคำนึงกันนักถึงความแตกต่างจริงๆ ระหว่างวิธีทั้งสอง คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธไม่ยอมรับการไกล่เกลี่ยไม่ว่าเวลาใดก็ได้ จะเห็นได้ว่า การช่วยเป็นสื่อกลางกับการไกล่เกลี่ยนั้นแตกต่างกัน คือ ในกรณีการช่วยเป็นสื่อกลาง ฝ่ายที่สามจะกระทำแต่เพียงช่วยให้มีการหันหน้าเข้าเจรจากันระหว่างคู่พิพาท ส่วนในกรณีการไกล่เกลี่ย ฝ่ายที่สามพยายามจัดให้มีการเจรจากันจริง ๆ ตามมูลฐานข้อเสนอของตน ฝ่ายที่เสนอช่วยเป็นสื่อกลางหรือช่วยไกล่เกลี่ยนั้น อาจจะมาจากประเทศที่สาม หรือจากองค์การระหว่างประเทศ หรือจากบุคคลธรรมดาคนหนึ่งก็ได้ [การทูต]
International Court of Justiceศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต]
Palestine Questionปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต]
Persona non grataเป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต]
Sanctionsการบังคับตามกฎระหว่างประเทศ หมายถึงการที่หลาย ๆ ชาติได้ลงมติใช้มาตรการบังคับหรือจูงใจพร้อม ๆกันเพื่อบังคับให้ชาติหนึ่งที่ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ทำการยับยั้ง (Desist) หรือยินยอมให้มีการชี้ขาดตัดสิน (Adjudication) หรือกล่าวอย่างสั้น ๆ แซ็งชั่นก็คือ หนทางที่บังคับพันธกรณีทางกฎหมายให้เป็นไปตามกฎหมายเรื่องแซ็งชั่นนี้ กฎบัตรสหประชาชาติได้กล่าวไว้ในบทที่ 7 ข้อ 41 และ 42 มีข้อความดังนี้ ?ข้อ 41 คณะมนตรีความมั่นคงอาจวินิจฉัยว่า จะต้องใช้มาตรการอันใดอันไม่มีการใช้กำลังอาวุธ เพื่อยังผลให้เกิดแก่คำวินิจฉัยของคณะมนตรี และอาจเรียกร้องให้สมาชิกแห่งสหประชาชาติใช้มาตรการเช่นว่านั้น มาตรการเหล่านี้อาจรวมถึงการตัดสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และการคมนาคมทางรถไฟ ทางทะเล ทางอากาศ ทางไปรษณีย์โทรเลข ทางวิทยุ และวิถีทางคมนาคมอย่างอื่นโดยสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน และการตัดความสัมพันธ์ทางการทูต ข้อ 42 หากคณะมนตรีความมั่นคงพิจารณาเห็นว่ามาตรการที่บัญญัติไว้ในข้อ 41 น่าจะไม่เพียงพอ หรือได้พิสูจน์แล้วว่าไม่เพียงพอ คณะมนตรีก็อาจดำเนินการใช้กำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้ หรือสถาปนากลับคืนมาซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การดำเนินการเช่นว่านี้ อาจรวมถึงการแสดงแสนยานุภาพ การปิดล้อม และการปฏิบัติอย่างอื่นโดยกำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินของบรรดาสมาชิกแห่งสหประชาชาติ [การทูต]
Security Council of the United Nationsคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต]
United Nations Security Councilคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ " ประกอบด้วยสมาชิกสหประชาชาติ 15 ประเทศ แบ่งออกเป็นสมาชิกถาวร 5 ประเทศ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา (กำหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ) และสมาชิกไม่ถาวรที่มาจากการเลือกตั้งจากสมัชชาฯ อีก 10 ประเทศ มีกำหนดคราวละ 2 ปี คณะมนตรีความมั่นคงฯ ทำหน้าที่หลักในการธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ โดยกระทำในนามของสมาชิกสหประชาชาติทั้งหมด และสมาชิกสหประชาชาติมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามคำวินิจ- ฉัยของคณะมนตรีความมั่นคงฯ " [การทูต]
Voting Procedure in the United Nationsวิธีการลงคะแนนเสียงในที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ในเรื่องนี้ สมาชิกแต่ละประเทศมีคะแนนเสียง 1 คะแนน ข้อมติของสมัชชาในปัญหาสำคัญ (Important Questions) จะกระทำโดยถือคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 ของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียง ที่เรียกว่าปัญหาสำคัญนั้นได้แก่ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การเลือกตั้งสมาชิกไม่ประจำของคณะมนตรีความมั่นคง การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีเศรษฐกิจและการสังคม การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีภาวะทรัสตี การรับสมาชิกใหม่ของสหประชาชาติ การงดใช้สิทธิและเอกสิทธิแห่งสมาชิกภาพ การขับไล่สมาชิก ปัญหาการดำเนินงานของระบบภาวะทรัสตี และปัญหางบประมาณ คำวินิจฉัยปัญหาอื่น ๆ รวมทั้งการกำหนดประเภทแห่งปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 เพิ่มเติมนั้น จัดกระทำโดยอาศัยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียงอนึ่ง ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งจักต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด (Absolute majority) ในที่ประชุมของสมัชชาและในที่ประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงด้วย นอกจากนี้สมาชิกสหประชาชาติที่ค้างชำระค่าบำรุงแก่องค์การ ย่อมไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงในสมัชชา ถ้าหากจำนวนเงินที่ค้างชำระเท่าหรือมากกว่าจำนวนเงินค่าบำรุงที่ถึงกำหนด ชำระสำหรับ 2 ปีเต็มที่ล่วงมา อย่างไรก็ตาม สมัชชาอาจอนุญาตให้สมาชิกเช่นว่านั้นลงคะแนนเสียงก็ได้ ถ้าทำให้เป็นที่พอใจได้ว่า การไม่ชำระนั้น เนื่องมาจากภาวะอันอยู่นอกเหนืออำนาจควบคุมของสมาชิกนั้น [การทูต]
radionuclide imagingการถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์, เป็นเทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โดยให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วย และถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีในอวัยวะที่ต้องการตรวจ ด้วยเครื่องตรวจและสร้างภาพ เช่น Gamma camera หรือ Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) หรือ Positron Emission Tomography (PET) เพื่อแสดงขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยวิธีอื่น ศัพท์ที่ใช้ทางการแพทย์และมีความหมายคล้ายกัน ได้แก่ คำว่า Radionuclide organ imaging nuclear scanning [พลังงาน]
radiopharmaceutics , radiopharmaceuticalsสารเภสัชรังสี เภสัชภัณฑ์รังสี, หมายถึง ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบ หรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากล สารเภสัชรังสี ใช้ในการตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีกับผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าว จะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดง "พยาธิสภาพ" ตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ [พลังงาน]
Single Photon Emission Computed Tomographyเป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะภายในร่างกายที่ต้องการตรวจ โดยการให้สารเภสัชรังสีแก่คนไข้ แล้วทำการตรวจวัดรังสีแกมมาที่แผ่ออกมาจากสารเภสัชรังสีนั้น ด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า "กล้องถ่ายแกมมา (gamma camera)" ซึ่งมีทั้งแบบที่หมุนได้ และแบบอยู่กับที่รอบตัวคนไข้ จากนั้นคอมพิวเตอร์จะแปลข้อมูลที่ได้ออกมาให้เห็นเป็นภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี โดยสร้างภาพตัดเนื้อเยื่อของอวัยวะนั้น ทำให้สามารถบอกความผิดปกติของอวัยวะได้ โดยดูการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี แม้มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยก็สามารถตรวจวัดได้ เทคนิคSPECT สามารถตรวจอวัยวะหรือระบบอวัยวะใดๆ ก็ได้ ขึ้นอยู่กับสารเภสัชรังสีที่ให้ เป็นวิธีที่ใช้ในการบอกตำแหน่งของความผิดปกติ ทั้งทางกายภาพและทางสรีรวิทยาในเนื้อเยื่อที่มีชีวิต ซึ่งเป็นข้อดีทางเทคนิคนี้ จึงนำไปใช้ในการวินิจฉัยโรคหัวใจ โรคลมบ้าหมู และโรคมะเร็ง ข้อได้เปรียบของเทคนิคนี้ ต่อ PET คือ ไม่ต้องใช้เครื่องไซโคลตรอนในการผลิตไอโซโทปรังสี [พลังงาน]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
การตรวจวินิจฉัย[kān trūat winitchai] (n) EN: diagnosis  FR: diagnostic [ m ]
การวินิจฉัย[kān winitchai] (n) EN: diagnosis
การวินิจฉัยปัญหา[kān winitchai panhā] (n, exp) EN: problem diagnosis
การวินิจฉัยโรค[kān winitchai rōk] (n, exp) EN: diagnosis
คำวินิจฉัย[khamwinitchai] (n) EN: decision ; judgement ; verdict ; ruling ; finding ; adjudication
คำวินิจฉัยของผู้เชี่ยวชาญ[khamwinitchai khøng phūchīochān] (n, exp) EN: expert's report ; expert opinion ; professional opinion  FR: rapport d'expert [ m ]
ข้อวินิจฉัย[khøwinitchai] (n) EN: decision ; judgment
ผลการวินิจฉัยข้อเท็จจริง[phon kān winitchai khøthetjing] (n, exp) EN: finding
วินิจฉัย[winitchai] (v) EN: judge ; make a final decision ; decide ; come to a conclusion ; adjudicate ; diagnose ; contemplate ; consider  FR: juger ; décider
วินิจฉัยโรค[winitchai rōk] (v, exp) EN: diagnose  FR: diagnostiquer (une maladie)

English-Thai: Longdo Dictionary
theses(n) |พหูพจน์ของ thesis| วิทยานิพนธ์, ข้อสรุป, ข้อวินิจฉัย เช่น Finding model theses or dissertations can help you gauge how much (or how little) you have to do. A good model can also serve as an inspiration for you.

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
adjudicate(vt) วินิจฉัย, See also: พิจารณา, ตัดสิน
adjudicate(vi) วินิจฉัย, See also: พิจารณา, ตัดสิน, Syn. judge, adjudge
debate(n) การพิจารณา, See also: การใช้ดุลยพินิจ, การไตร่ตรอง, การใคร่ครวญ, การวินิจฉัย, Syn. cogitation, consideration, deliberation, meditation, reflection
diagnose(vt) วินิจฉัยโรค
diagnosis(n) การวินิจฉัยโรค, See also: การหาสาเหตุ, Syn. prognosis, pathology, analysis, determination
diagnostic(adj) ซึ่งใช้ในการวินิจฉัยโรค, See also: ซึ่งใช้ในการหาสาเหตุ, Syn. demonstrative, distinquishing
discriminate(vi) แยกแยะ, See also: วินิจฉัย, เห็นความแตกต่าง, Syn. recognize, identify
endoscope(n) เครื่องมือแพทย์ที่มีลักษณะเป็นท่อยาวใช้สอดเข้าไปในร่างกายเพื่อวินิจฉัยโรคหรือผ่าตัด
estimation(n) การประเมิน, See also: การวินิจฉัย, การอนุมาน, Syn. assessment, evaluation, judgement
inference(n) การอนุมาน, See also: ข้อวินิจฉัย, ข้อสรุป, Syn. implication, sequence, reasoning, Ant. fact
know best(phrv) คิดดีที่สุด, See also: วินิจฉัยได้ดีที่สุด, ตัดสินใจได้ดีที่สุด, รู้ดีที่สุด
misdiagnose(vt) วินิจฉัยผิดพลาด
misdiagnosis(n) การวินิจฉัยผิด
opinion(n) ข้อวินิจฉัย, See also: คำวินิจฉัย
predicable(adj) ยืนยันได้ว่า, See also: สรุปได้ว่า, วินิจฉัยได้ว่า
predicable(n) สิ่งที่ยืนยันได้, See also: สิ่งที่วินิจฉัยไว้
prejudge(vt) ตัดสินก่อน, See also: วินิจฉัยก่อนล่วงหน้า, Syn. presuppose, forejudge, presume
ruling(n) คำวินิจฉัย, See also: คำตัดสิน, การชี้ขาด, Syn. decision, judgment
separate(vt) บอกความแตกต่าง, See also: แยกแยะ, วินิจฉัย, Syn. distribute, classify
sift(vt) วินิจฉัย, See also: ตรวจอย่างละเอียด, กลั่นกรอง, คัดเลือก, Syn. investigate, scrutinize, Ant. disregard
thesis(n) ข้อวินิจฉัย, See also: ข้อสมมุติ, ข้อสรุป, Syn. contention, proposal
well-judged(adj) ซึ่งมีวินิจฉัยดี, See also: ซึ่งตัดสินใจได้ถูกต้อง
workup(n) การตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์อย่างครบถ้วน

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
assert(อะเซิร์ทฺ') vt. ยืนยัน, ถือ (สิทธิ์) , อ้าง, แสดงสิทธิ์, วินิจฉัย, พิทักษ์, รักษา. -asserter, assertor n. -assertory adj. (declare)
assertion(อะเซิร์ท'เชิน) n. การกล่าวยืนยัน, การอ้าง, การถือสิทธิ์, การวินิจฉัย, การพิทักษ์, การรักษา, ข้อเสนอ, ข้อวินิจฉัย, Syn. statement
atomic cocktailปริมาณสารกัมมันตภาพรังสีที่ใช้ในการรักษาหรือวินิจฉัยมะเร็ง
diagnose(ได'อักโนส) v. วินิจฉัย, ตรวจโรค, วิเคราะห์., See also: diagnosable adj. ดูdiagnose, Syn. analyze
diagnosis(ไดแอกโน'ซิส) n. การวินิจฉัย, การตรวจโรค,
diagnostic(ไดแอกนอส'ทิค) adj. เกี่ยวกับการวินิจฉัย
diagnostic programชุดคำสั่งวินิจฉัยหมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือส่วนประกอบใด ๆ ของเครื่อง หรือวินิจฉัยข้อผิดพลาดของการลงรหัส
discriminate(ดิสคริม'มะเนท) vi. แยกแยะ, แบ่งแยก, เลือกที่รักมักที่ชัง, วินิจฉัย., Syn. distinguish
discrimination(ดิสคริมมะเน'เชิน) n. การแยกแยะ, การแบ่งแยก, การเลือกที่รักมักที่ชัง, การวินิจฉัย., Syn. perception, bias, Ant. equity, impartiality
distinguish(ดิสทิง'กวิช) vt. ทำให้แตกต่าง, จำแนก, รู้ถึงข้อแตกต่าง, วินิจฉัย, ทำให้เด่น, กระทำตัวดีเป็นพิเศษ vi. แสดงความแตกต่าง, จำแนก, See also: distinguishable adj. ดูdistinguish distinguisher n. ดูdistinguish distinguishingly n., adv. ดูdistinguish dis
estimate(เอส'ทิเมท) v., n. (การ) ประมาณ, ประเมิน, กะ, ตีราคา, คำนวณ, คิด, วินิจฉัย, ความคิดเห็น, ค่าที่ประเมิน, ราคาที่ประเมิน., See also: estimator n. ดูestimate, Syn. evaluate
estimation(เอสทิเม'เชิน) n. การประมาณ, การประเมิน, การวินิจฉัย, ความคิดเห็น, ความนับถือ, ความเคารพ, Syn. estimate
exploration(เอคซฺพละเร'เชิน) n. การสำรวจค้น, การสำรวจ, การตรวจ, การวินิจฉัย, สอบสวน
explore(เอคซฺพลอร์') (explored, exploring, explores } v. สำรวจตรวจค้น, สำรวจ, ตรวจ, วินิจฉัย
explorer(เอคซฺพลอ'เรอะ) n. ผู้สำรวจ, นักสำรวจ, ผู้สำรวจตรวจค้น, ผู้วินิจฉัย, ผู้สอบสวน, เครื่องตรวจ
finding(ไฟ'ดิง) n. การค้นหา, การตรวจสอบ, การค้นพบ, สิ่งที่ค้นพบ, คำพิพากษา, คำวินิจฉัย, See also: findings n., pl. เครื่องมือช่าง, เครื่องมือเครื่องใช้เล็ก ๆ น้อย, Syn. result, answer, verdict
ill-judged(อิล'จัดจฺดฺ') adj. ไม่รอบคอบ, ไม่ฉลาด, ซึ่งวินิจฉัยผิดพลาด, Syn. injudicious
indeterminable(อินดิเทอ' มินนะเบิล) adj. หาค่าไม่ได้, กำหนดไม่ได้, วินิจฉัยไม่ได้, ตกลงใจไม่ได้, See also: indeterminableness n. indeterminably adv.
inference(อิน'เฟเรินซฺ) n. การอนุมาน, การสรุป, สิ่งที่ส่อให้เห็น, ข้อสรุป, ข้อวินิจฉัย, Syn. conclusion, deduction
inscrutable(อินสครู'ทะเบิล) adj. ไม่สามารถจะวินิจฉัยได้, ไม่สามารถหยั่งรู้ได้, ยากที่จะเข้าใจได้, ลึกลับ, ลับลมคมใน., See also: inscrutability, inscrutableness n. inscrutably adv, Syn. mysterious, hidden
judge(จัดจฺ) { judged, judging, judges } n. ผู้พิพากษา, ตุลาการ, ผู้ตัดสิน v. พิพากษา, ตัด, สิน, ชี้ขาด, วินิจฉัย, เดา, ประมาณ, ปกครอง., See also: judgeable adj. ดูjudge judger n. ดูjudge judgeship n. ดูjudge
judgement(จัดจฺ'เมินทฺ) n. การพิจารณา, การพิจารณาอรรถคดี, การตัดสิน, การลงความเห็น, ความเห็น, คำวินิจฉัย, การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก (หรือ Last judg (e) ment), Syn. consideration, ruling, opinion, wisdom
judgment(จัดจฺ'เมินทฺ) n. การพิจารณา, การพิจารณาอรรถคดี, การตัดสิน, การลงความเห็น, ความเห็น, คำวินิจฉัย, การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก (หรือ Last judg (e) ment), Syn. consideration, ruling, opinion, wisdom
know(โน) { knew, known, knowing, knows } vt. รู้, รู้ดี, รู้จัก, รู้ว่า, ทราบ, เข้าใจ, จำได้, ตระหนักดี, วินิจฉัย, ออก, มองออก, ชำนาญ, สังวาส. vi. รู้, รู้จัก, รู้ดี. -Id. (know the ropes เข้าใจ, คุ้นเคยกับ) n. -Phr. (in theknow รู้เรื่องภายใน), Syn. un
miscalculate(มิสแคล'คิวเลท) vt., vi. คำนวณผิด, วินิจฉัยผิด., See also: miscalculation n. misculculator n., Syn. err, mistake
miscast(มิสคาสทฺ') vt. วินิจฉัยผิด, คาดการณ์ไม่ดี
place(เพลส) n. สถานที่, บริเวณ, จุดหมาย, ที่, ที่พัก, เขต, ฐานะ, ตำแหน่ง, สภาพ, สถานการณ์, เทศะ, หน้าที่, การงาน, ที่ตั้ง, โอกาสที่เหมาะ. -Phr. (give place to ให้ความสำคัญ, ถูกแทนที่โดย) -Phr. (go places ประสบความสำเร็จ) -Phr. (take place เกิดขึ้น) vt. จัด, วาง, กะ, คาดคะเน, บรรจุ, ใส่, เอาไว้, ฝาก, มอบ, แต่งตั้ง, วินิจฉัย, ปรับเสียง, วางลูก, ส่งกระสุน vi. อยู่ในอันดับ
predicable(เพรด'ดะคะเบิล) adj. ยืนยันได้ว่า, สรุปได้ว่า, วินิจฉัยได้ว่า. n. สิ่งที่ยืนยันได้, สิ่งที่วินิจฉัย, See also: predicability n.
predicate(เพรด'คะเคท) vt. ยืนยัน, วินิจฉัยสรุป, กล่าว. vi. ยืนยัน. adj. ซึ่งยืนยัน, ซึ่งสรุป., See also: predication n. predicative adj.
prejudge(พรีจัดจฺ') vt. ตัดสินก่อน, วินิจฉัยก่อนล่วงหน้า., See also: prejudger n. prejudgment n. prejudgement n.
preparation(เพรพพะเร'เชิน) n. การเตรียม, การเตรียมการ, วิธีการเตรียมการ, สิ่งที่เตรียม, ตัวอย่างสำหรับตรวจ วินิจฉัยหรืออื่น ๆ , (พระคัมภีร์ไบเบิล) วันก่อนวันSabbath, the Preparation บทสวดมนต์น้ำในพิธีศาสนาหรือ Mass (ดู)
profile(โพร'ไฟล์) n. รูปภายนอก, รูปโครงร่าง, รูปเส้นรอบนอก, รูปหน้าเสี้ยว, รูปด้านข้าง, โครงร่าง, ภาพเงา, การวินิจฉัยขบวนการ, ประวัติบุคคลโดยย่อ vt. วาดรูปดังกล่าว, บรร-ยายประวัติบุคคลโดยย่อ, วาดโครงร่าง, วาดภาพเงา., See also: profilist n. คำที่มีความหมายเหมือน
pronounce(พระเนาซฺ') vt. ออกเสียง, อ่าน, แถลง, ประกาศ, กล่าว, วินิจฉัย, ตัดสิน (คดี) , ออกเสียง, แถลง, ประกาศ, See also: pronounceable adj. pronouncer n., Syn. enunciate
proposition(พรอพพะซิซ'เชิน) n. การสอน, ข้อเสนอ, แผน, โครงการ, หัวข้อ, ข้อวินิจฉัย, ญัตติ, เรื่องราว, ปัญหา, จุดประสงค์, ข้อเสนอเพื่อร่วมประเวณีที่ไม่ถูกกฎหมาย. vt. เสนอ, เสนอข้อเรียกร้อง, See also: propositional adj.
research(รีเซิร์ชฺ', รี'เซิร์ชฺ) n. การวิจัย, การค้นคว้า, การวินิจฉัย, การสืบเสาะ, การสำรวจ vi., vt. วิจัย, ค้นคว้า, See also: researchable adj. researcher n. researchist n., Syn. scrutiny, study, inquire, investigation
ruling(รู'ลิง) n. การวินิจฉัย, การชี้ขาด, การลากเส้นด้วยไม้บรรทัด adj. ปกครอง, ครอบงำ, ควบคุม, แพร่หลาย, มีอยู่ทั่วไป, Syn. decision, governing
separate(เซพ'พะเรท) vt., vi., adj. แยกออก, แยก, แยกกัน, แบ่งสรร, แยกแยะ, วินิจฉัย, สกัด, กระจายออก, ไม่ต่อเนื่อง, เด่นชัด, ชัดเจน, กระจาย, โดดเดี่ยว, อิสระ, เฉพาะบุคคล, เอกเทศ, เดียวดาย, (วิญญาณ) หลุดออกจากกาย n. สิ่งที่แยกออก, ลูกหลาน., See also: separateness n.
size(ไซซ) n.ขนาด vt. แบ่งแยกตามขนาด, ประเมินตามขนาด size up ประเมิน ประมาณ วินิจฉัยได้มาตรฐาน ได้ขนาด, Syn. magnitude, immensity, rank
thesis(ธี'ซิส) n. วิทยานิพนธ์, ข้อวินิจฉัย, ข้อสมมุติ, ข้อสรุป, บทความวิจัย, บทความ pl. theses
well-judged(เวล'จัดจฺทฺ) adj. วินิจฉัยได้ดี, ตัดสินใจได้ถูกต้อง, เหมาะสม

English-Thai: Nontri Dictionary
diagnose(vt) พิจารณา, วินิจฉัย, วิเคราะห์, ตรวจโรค
diagnosis(n) การพิจารณา, การวินิจฉัย, การวิเคราะห์, การตรวจโรค
discern(vt) สังเกตเห็น, มองเห็น, มองออก, รู้, วินิจฉัยออก
discernible(adj) ซึ่งมองออก, ซึ่งมองเห็นได้, ซึ่งสังเกตเห็น, ซึ่งวินิจฉัยออก
estimation(n) การประมาณ, การประเมิน, การตีราคา, ความคิดเห็น, การวินิจฉัย
exploration(n) การสำรวจ, การตรวจค้น, การสอบสวน, การวินิจฉัย
explore(vt) สำรวจ, ตรวจค้น, ตรวจ, วินิจฉัย, วิเคราะห์
identification(n) การชันสูตร, การวินิจฉัย, การชี้ตัว, การแยกแยะ
indefinable(adj) ไม่แน่นอน, ไม่มีกำหนด, คลุมเครือ, วินิจฉัยไม่ได้
infer(vt) ลงความเห็น, วินิจฉัย, สรุป, อนุมาน, แสดง
inference(n) การลงความเห็น, การวินิจฉัย, การสรุป, การอนุมาน, การแสดง
miscalculation(n) การคำนวณผิด, การคาดผิด, การกะผิด, การวินิจฉัยผิด
misconstrue(vt) เข้าใจผิด, ตีความผิด, แปลความผิด, วินิจฉัยผิด
misjudge(vt) พิจารณาผิด, ตัดสินใจผิด, วินิจฉัยผิด
predicate(vt) กล่าว, ยืนยันว่าเป็นจริง, วินิจฉัย, สรุป
prejudge(vt) ตัดสินใจล่วงหน้า, วินิจฉัยล่วงหน้า
pronounce(vt) ประกาศ, แถลง, อ่าน, กล่าว, วินิจฉัย, ตัดสินคดี
pronouncement(n) การประกาศ, การกล่าว, คำวินิจฉัย, คำแถลง, ความคิดเห็น
proposition(n) ข้อเสนอ, ทฤษฎีบท, โจทย์, เรื่อง, ปัญหา, ญัตติ, ข้อวินิจฉัย
research(n) การวิจัย, การค้นคว้า, การสำรวจ, การวินิจฉัย
thesis(n) วิทยานิพนธ์, ข้อสมมุติ, เรื่องแต่ง, ข้อวินิจฉัย, บทความ

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Hepatobiliary scintigraphy (HIDA)เทคนิคการวินิจฉัยที่ภาพสองมิติของเนื้อเยื่อภายในร่างกายมีการผลิตผ่านการตรวจสอบของรังสีที่ออกมาจากสารกัมมันตรังสีที่ได้รับการจัดการในร่างกาย ที่เกี่ยวข้องกับ, ตั้งอยู่ในหรือใกล้, ผลิตใน, หรือส่งผลกระทบต่อตับและน้ำดี, ท่อน้ำดี, และถุงน้ำดี
self-diagnostic(n, adj) อัตตาวินิจฉัย

Japanese-Thai: Longdo Dictionary
診断[しんだん, shindan] ตรวจโรค, วินิจฉัยโรค, Syn. 診察

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
準備[じゅんび, junbi] (n) (เพรพพะเร'เชิน) n. การเตรียม, การเตรียมการ, วิธีการเตรียมการ, สิ่งที่เตรียม, ตัวอย่างสำหรับตรวจ วินิจฉัยหรืออื่น ๆ , (พระคัมภีร์ไบเบิล) วันก่อนวันSabbath, the Preparation บทสวดมนต์น้ำในพิธีศาสนาหรือ Mass (ดู)

Japanese-Thai-English: Saikam Dictionary
診る[みる, miru] TH: วินิจฉัย(โรค)  EN: to examine

German-Thai: Longdo Dictionary
krankschreiben(vi) |schrieb krank, hat krankgeschrieben| (แพทย์) วินิจฉัยว่าป่วย (ทำให้สามารถลางานได้)

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top