ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

ท ๒

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -ท ๒-, *ท ๒*
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ท ๒ใช้ประสมกับตัว ร อ่านเป็นเสียง ซอ ในคำบางคำ เช่น ทราบ แทรก ทรง และในคำบางคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ทรัพย์ อินทรีย์ มัทรี, ที่อ่านเป็นเสียง ทร (ไม่ใช่ ซ) ก็มี เช่น ภัทรบิฐ อินทรา นิทรา อิเล็กทรอนิกส์.
ท ๒น. ผู้เป็นใหญ่ เช่น ท้าวไท.
ท ๒, บท- ๒(บด, บดทะ-) น. เท้า, รอยเท้า, เช่น จตุบท, ในบทกลอนใช้ประสมกับคำอื่น ๆ หมายความว่า เท้า คือ บทบงกช บทบงสุ์ บทมาลย์ บทรัช บทเรศ บทวเรศ บทวลัญช์ บทวาร บทศรี บทามพุช, <i>(ดูคำแปลที่คำนั้น ๆ )</i>.
บาท ๒น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๑๐๐ สตางค์ หรือ ๔ สลึง เท่ากับ ๑ บาท, อักษรย่อว่า บ.
บาท ๒เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ หมายความว่า ๓ บาท
บาท ๒ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สำหรับกำหนดนํ้าหนักเท่ากับเงิน ทอง หรือนากหนัก ๑๕ กรัม.
ประสาท ๒, ประสาท- ๒(ปฺระสาทะ-) น. ความเลื่อมใส.
สารท ๒, สารทฤดู(สาด, สาระทะรึดู) น. ฤดูใบไม้ร่วง, ในประเทศเขตอบอุ่นทางซีกโลกเหนือ ซึ่งแบ่งฤดูกาลออกเป็น ๔ ฤดู คือ ฤดูหนาว (เหมันตฤดู) ฤดูใบไม้ผลิ (วสันตฤดู) ฤดูร้อน (คิมหันตฤดู) และฤดูใบไม้ร่วง (สารทฤดู) นั้น ฤดูใบไม้ร่วงเริ่มต้นในเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน.
กระอึกก. อึกทึก, อึง, เช่น ตระคอกคึกกระอึกอึง (กลบท ๒; ม. คำหลวง จุลพน).
ขา ๒สลึง, ใช้เฉพาะราคาทองคำที่คิดเป็นราคาเงินบาท เศษที่เป็นสลึง เรียกว่า ขา เช่น ทองคำหนัก ๑ บาท เป็นราคาเงิน ๘ บาท ๒ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสองขา ถ้าเป็นราคาเงิน ๘ บาท ๓ สลึง เรียกว่า ทองเนื้อแปดสามขา.
จัตวาทัณฑีน. ชื่อโคลง ๔ ชนิดหนึ่ง ซึ่งบาท ๒ ใช้พยางค์ที่ ๔ สัมผัส เช่น <br><center><table><tr><td align = "center"><img src="picture/8599.png"></td></tr><tr><td align = "right">(ชุมนุมตำรากลอน).</td></tr></table></center>
ตีนกา ๒, ตีนครุ(-คฺรุ) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ + สําหรับบอกจํานวนเงิน ปลายเส้นดิ่งข้างบนเป็นหลักชั่ง มุมบนด้านซ้ายเป็นหลักตําลึง มุมบนด้านขวาเป็นหลักบาท มุมล่างด้านขวาเป็นหลักสลึง มุมล่างด้านซ้ายเป็นหลักเฟื้อง ปลายเส้นดิ่งข้างล่างเป็นหลักไพ เช่น อ่านว่า ๕ ชั่ง ๔ ตําลึง ๓ บาท ๒ สลึง ๑ เฟื้อง ๒ ไพ, เฉพาะ จํานวนตําลึง บาท สลึง เฟื้อง อาจเขียนย่อแต่เพียงมุมใดมุมหนึ่งที่ต้องการก็ได้ เช่น <img src="picture/14165_1.png"> = ๔ ตําลึง <img src="picture/14165_2.png"> = ๓ บาท <img src="picture/14165_3.png"> = ๒ สลึง <img src="picture/14165_4.png"> = ๑ เฟื้อง, ปัจจุบัน แพทย์แผนโบราณยังใช้เครื่องหมายตีนกาหรือตีนครุเป็นมาตราชั่งเฉพาะที่เกี่ยวกับเครื่องยาเท่านั้น. <img src="picture/14165_0.png">
ธนบัตรย่อยน. ธนบัตรที่ราคาต่ำกว่าฉบับราคาสูง เช่น ธนบัตรราคา ๕๐ บาท ๒๐ บาท เป็นธนบัตรย่อยของธนบัตรราคา ๑๐๐ บาท.
บทามพุช<i>ดู บท ๒, บท- ๒</i>.
องค-, องค์ในราชาศัพท์ใช้เป็นลักษณนามเรียกอวัยวะ สิ่งของ หรือคำพูด เป็นต้น ของกษัตริย์หรือเจ้านาย เช่น พระทนต์ ๑ องค์ (ฟัน ๑ ซี่) พระสุพรรณภาชน์ ๑ องค์ พระศรี ๑ องค์ (หมาก ๑ คำ) พระที่นั่ง ๑ องค์ พระบรมราโชวาท ๒ องค์

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top