Activation | การก่อกัมมันตภาพรังสี, กระบวนการทำให้ธาตุเกิดกัมมันตภาพรังสีโดยการระดมยิงธาตุนั้นๆ ด้วยนิวตรอน โปรตอน หรือ อนุภาคอื่นๆ ตัวอย่างการก่อกัมมันตภาพรังสี เช่น การผลิตสารไอโซโทปกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 โดยการระดมยิงธาตุเทลลูเรียมด้วยนิวตรอน [นิวเคลียร์] |
Committed dose | ปริมาณ (รังสี) ผูกพัน, ปริมาณรังสียังผลจากสารกัมมันตรังสีที่เข้าสู่ร่างกาย บางชนิดจะกระจายไปทั่วร่างกาย บางชนิดจะไปสะสมอยู่ในอวัยวะเฉพาะที่ เรียกว่า อวัยวะวิกฤติ (critical organ) เช่น ไอโอดีนจะสะสมอยู่ที่ต่อมไทรอยด์ รังสีจะมีผลต่อร่างกายจนกว่าสารกัมมันตรังสีนั้นสลายหมดไปหรือถูกขับถ่ายออกจนหมด ปกติจะคำนวณระยะเวลาการรับรังสี 50 ปีสำหรับผู้ใหญ่ และ 70 ปีสำหรับเด็ก มีหน่วยเป็น ซีเวิร์ต [นิวเคลียร์] |
Radiotherapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] |
Radiochemical purity | ความบริสุทธิ์ทางเคมีรังสี, ความบริสุทธิ์ของสารประกอบกัมมันตรังสี ซึ่งมีสารกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีที่ต้องการ โดยคำนวณจากสัดส่วนกัมมันตภาพของสารกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีที่ต้องการต่อกัมมันตภาพของสารประกอบกัมมันตรังสีทั้งหมด <br>ความบริสุทธิ์ทางเคมีรังสี ใช้เป็นค่ากำหนดคุณภาพของสารเภสัชรังสีซึ่งมีสารประกอบกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีอื่นๆ เจือปนอยู่น้อยที่สุด ตามมาตรฐานเภสัชตำรับสหรัฐอเมริกา (United States Pharmacopoeia, USP) เภสัชตำรับอังกฤษ (British Pharmacopoeia, BP) และ เภสัชตำรับยุโรป (European Pharmacopoeia, EP) เช่น ในการผลิตสารไอโอดีน-131 (<sup>131I</sup>) ตามเภสัชตำรับสหรัฐอเมริกาต้องมีอัตราส่วนของสารประกอบกัมมันตรังสีในรูปโซเดียมไอโอไดด์ (Na<sup>131</sup>I) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 และสารประกอบกัมมันตรังสีที่มีธาตุไอโอดีนอยู่ในรูปแบบทางเคมีอื่นๆ ไม่เกินร้อยละ 5</br> [นิวเคลียร์] |
Radioactivation | การก่อกัมมันตภาพรังสี, กระบวนการทำให้ธาตุเกิดกัมมันตภาพรังสีโดยการระดมยิงธาตุนั้นๆ ด้วยนิวตรอน โปรตอน หรือ อนุภาคอื่นๆ ตัวอย่างการก่อกัมมันตภาพรังสี เช่น การผลิตสารไอโซโทปกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 โดยการระดมยิงธาตุเทลลูเรียมด้วยนิวตรอน [นิวเคลียร์] |
Radiation therapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] |
Iodine | ไอโอดีน [TU Subject Heading] |
Cretinism, Endemic | ธัยรอยด์พร่องเฉพาะถิ่นในทารก, การขาดไอโอดีนในอาหาร [การแพทย์] |
Deiodination | การดึงเอาไอโอดีนออก, เนื้อเยื่อไอโอดีนแยกตัวออก, ถูกตัดไอโอดีน [การแพทย์] |
Dressing, Betadine | การทำแผลโดยใช้น้ำยาไอโอดีนชนิดใหม่ไม่ระคายเคือง [การแพทย์] |
thyroxin | ไทรอกซิน, ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไทรอยด์มีไอโอดีนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ มีหน้าที่ควบคุมเมตามอร์โฟซิสของสัตว์บางชนิด ถ้าคนขาดฮอร์โมนนี้ในวัยเด็กจะทำให้เป็นโรครีทินิซึม ในวัยผู้ใหญ่จะเป็นโรคมิกซิดีมา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
simple goiter | โรคคอพอก, โรคที่เกิดจากร่างกายขาดไอโอดีนทำให้ต่อมไทรอยด์ไม่สามารถสร้างไทรอกซินได้ และ TSH จะกระตุ้นให้ต่อมไทรอยด์มีขนาดโตขึ้นทำให้บริเวณคอโตกว่าปกติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
non-metal | อโลหะ, ธาตุที่ไม่มีสมบัติเป็นโลหะ เช่น กำมะถัน ฟอสฟอรัส ไอโอดีน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
halogen | แฮโลเจน, ธาตุในหมู่ VII ในตารางธาตุได้แก่ ฟลูออรีน คลอรีน โบรมีน ไอโอดีน และแอสตาตีน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
iodine | ไอโอดีน, ธาตุในหมู่ VII ของตารางธาตุมีเลขอะตอม 53 สัญลักษณ์ I เป็นของแข็งสีม่วงดำ และระเหิดได้ มีจุดหลอมเหลว 114°C จุดเดือด 184°C [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Glycerol, Iodinated | ไอโอดีนเนเต็ทกลีเซอรอล [การแพทย์] |
Goiter Due to Iodine Deficiency | คอพอกจากการขาดไอโอดีน [การแพทย์] |
Goitre, Iodine Deficiency | การขาดแคลนไอโอดีนในอาหารอันทำให้ต่อมธัยรอยด์โต [การแพทย์] |
Goitrogens | สารที่ขัดขวางการใช้ไอโอดีนสร้างฮอร์โมน, [การแพทย์] |
Iodination | การเติมไอโอดิน, การเติมไอโอดีน [การแพทย์] |
Iodine | สารละลายไอโอดีน, ไอโอดีน [การแพทย์] |
Iodine Deficiency | ขาดไอโอดีน [การแพทย์] |
Iodine Isotopes | ไอโอดีนไอโซโทป [การแพทย์] |
Iodine Metabolism | เมตาโบลิสมของไอโอดีน [การแพทย์] |
Iodine Number | ไอโอดีนนัมเบอร์ [การแพทย์] |
Iodine Radioisotopes | ไอโอดีนไอโซโทปรังสี, ไอโอดีนกัมมันตรังสี [การแพทย์] |
Iodine Solutions, Weak | สารละลายไอโอดีนเจือจาง [การแพทย์] |
Iodine Standard Solutions | สารละลายมาตรฐานไอโอดีน [การแพทย์] |
Iodine Tincture | ทิงเจอร์ไอโอดีน [การแพทย์] |
Iodine Uptake | การจับไอโอดีน [การแพทย์] |
Iodine Uptake, Radioactive | การจับไอโอดีนกัมมันตรังสี [การแพทย์] |
Iodine Value | ค่าไอโอดีน [การแพทย์] |
Iodine, Free | ไอโอดีนอิสระ [การแพทย์] |
Iodine, Liberated | ไอโอดีนที่ปลดปล่อยออกมา [การแพทย์] |
Iodine, Organic | ออแกนนิคไอโอดีน [การแพทย์] |
Iodine, Protein Bound | โปรตีนที่จับกับไอโอดีน, โปรตีนบาวด์ไอโอดีนในเลือด [การแพทย์] |
Iodine, Serum | ไอโอดีนในซีรั่ม [การแพทย์] |
Iodine, Urinary | ไอโอดีนในปัสสาวะ [การแพทย์] |
Iodoproteins | ไอโอดีนที่รวมกับโปรตีน [การแพทย์] |
Jod-Basedow Phenomenon | คอพอกเป็นพิษที่เกิดจากไอโอดีน [การแพทย์] |
Monodeiodination | การตัดไอโอดีนออกหนึ่งอะตอม [การแพทย์] |