กิโล, กิโล- | น. เครื่องชั่ง เช่น กิโลนี้ไม่เที่ยง | ตจปัญจก-กรรมฐาน | (ตะจะปันจะกะกำมะถาน) น. กรรมฐานอันบัณฑิตกำหนดด้วยอาการมีหนังเป็นลำดับที่ ๕ เป็นอารมณ์ คือ กรรมฐานที่ท่านสอนให้พิจารณาส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้แก่ ๑. ผม ๒. ขน ๓. เล็บ ๔. ฟัน และ ๕. หนัง ให้เห็นว่าเป็นของไม่เที่ยง. | ไตรลักษณ์ | (-ลัก) น. ลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไป ๓ ประการ คือ ความไม่เที่ยง ความเป็นทุกข์ ความมิใช่ตัวตนที่แท้จริง. | เที่ยง | ว. ตรง เช่น นาฬิกาเดินเที่ยง, แน่นอน เช่น สังขารไม่เที่ยง คือ ไม่แน่นอน | ธรรมฐิติ | น. “การตั้งอยู่แห่งความจริงแท้”, การดำรงอยู่แห่งความจริงแท้คือ สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ สิ่งทั้งปวงเป็นอนัตตา. | ธรรมธาตุ | น. “การทรงอยู่แห่งความจริงแท้”, การดำรงอยู่แห่งความจริงแท้ คือ สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ สิ่งทั้งปวงเป็นอนัตตา. | ธรรมนิยาม | น.“การกำหนดแน่นอนแห่งความจริงแท้”, การดำรงอยู่แห่งความจริงแท้ คือ สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ สิ่งทั้งปวงเป็นอนัตตา. | ธรรมสถิติ | น. “การตั้งอยู่แห่งความจริงแท้”, การดำรงอยู่แห่งความจริงแท้ คือ สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ สิ่งทั้งปวงเป็นอนัตตา. | ลำเอียง | ก. เข้ากับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ไม่วางตัวเป็นกลาง, ไม่เที่ยงธรรม. | ลืมตน | ลืมนึกถึงความจริงประการหนึ่งของโลกที่ว่าสิ่งทั้งหลายเป็นของไม่เที่ยงอาจแปรเปลี่ยนได้ เช่น เหลิงอำนาจจนลืมตน. | วิปัสสนา | (วิปัดสะนา) น. ความเห็นแจ้ง, การฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความเห็นแจ้งในสังขารทั้งหลายว่าเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา. | สังขาร, สังขาร- | (-ขาน, -ขาระ-, -ขานระ-) น. ร่างกาย, ตัวตน, สิ่งที่ประกอบและปรุงแต่งขึ้นเป็นร่างกายและจิตใจรวมกัน, เช่น สังขารร่วงโรย สังขารไม่เที่ยง | หนอ | (หฺนอ) อ. คำออกเสียงแสดงความรำพึง เช่น ชีวิตนี้ไม่เที่ยงหนอ น่าอนาถจริงหนอ. | อธรรม | (อะทำ) ว. ไม่เป็นธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ยุติธรรม. | อนิจ, อนิจ- | (อะนิด, อะนิดจะ-) ว. ไม่ยั่งยืน, ไม่เที่ยง, ชั่วคราว, ไม่แน่นอน. | อนิจจัง ๑ | (อะนิด-) ว. ไม่เที่ยง, ไม่แน่นอน, เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ. | อสุภกรรมฐาน | (-กำมะถาน) น. กรรมฐานที่ยึดเอาซากศพเป็นอารมณ์ เพื่อพิจารณาให้เห็นความไม่งามความไม่เที่ยงแท้ของสังขาร. | อาธรรม, อาธรรม์, อาธรรมิก, อาธรรมึก | (-ทำ, -ทัน, -ทันมิก, -ทันมึก) ว. ชั่ว, ไม่เป็นธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ยุติธรรม. | เอนเอียง | ว. โน้มเอียง, ไม่เที่ยงตรง, เอียงเอน ก็ว่า. | เอียงเอน | ว. โน้มเอียง, ไม่เที่ยงตรง, เอนเอียง ก็ว่า. |
|
| | | loose | (adj) ไม่เที่ยงตรง, See also: ไม่แน่นอน, ไม่ถูกต้อง, Syn. vague, general, indefinite, imprecise | partial | (adj) ซึ่งไม่ยุติธรรม, See also: ซึ่งมีอคติ, ซึ่งไม่เที่ยงธรรม | partiality | (n) ความอยุติธรรม, See also: ความลำเอียง, ความไม่เที่ยงธรรม, Syn. favourable bias | relativism | (n) ความเชื่อว่าความจริงไม่เที่ยงแท้เสมอ | tenuity | (n) ความไม่เที่ยง, See also: ความไม่แน่นอน | unjust | (adj) ไม่ยุติธรรม, See also: อธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่เป็นธรรม, Syn. unfair, Ant. fair |
| inaccuracy | (อินแอค' คิวระซี) n. ความไม่แม่นยำ, ความไม่ละเอียด, ความไม่เที่ยง, ความไม่แน่นอน, Syn. errore, fault, mistake | inaccurate | (อินแอค' คิวเรท) adj. ไม่แม่นยำ, ไม่ละเอียด, ไม่เที่ยง, ไม่แน่นอน., See also: inaccurately adv. inaccurateness n., Syn. inexact, imprecise, faulty | unjust | (อัน'จัสทฺ) adj. ไม่ยุติธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ซื่อสัตย์, ไม่ชอบธรรม., See also: unjustly adv. | unrighteous | (อันไร'เชิส) adj. ไม่ถูกต้อง, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ยุติธรรม, ร้าย, บาปหนา., See also: unrighteousness n., Syn. incorrect | unsteady | (อันสเทด'ดี) adj., vt. (ทำให้) ไม่มั่นคง, เปลี่ยนแปลงง่าย, ไม่เที่ยง., See also: unsteadily adv. unsteadiness n., Syn. unstable |
| inaccuracy | (n) ความไม่แน่นอน, ความไม่เที่ยง, ความไม่แม่นยำ | inaccurate | (adj) ไม่แน่นอน, ไม่เที่ยง, ไม่แม่นยำ | unjust | (adj) ไม่ยุติธรรม, ไม่เที่ยงธรรม | unstable | (adj) ไม่แน่นอน, ไม่เที่ยง, ไม่มั่นคง, ไม่สม่ำเสมอ | unsteady | (adj) ไม่แน่นอน, ไม่เที่ยง, ไม่มั่นคง, ไม่คงที่, ไร้เสถียรภาพ |
| ungenau | (adj, adv) ไม่เที่ยงตรง, ไม่แน่นอน |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |