ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ไมตรี, -ไมตรี- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ไมตรี | (n) friendship, See also: friendliness, goodwill, Syn. ความเป็นเพื่อน, ความเป็นมิตร, Ant. อริ, ความเป็นศัตรู | ไมตรี | (n) friendship, See also: amicability, goodwill, good terms, friendly relation, friendliness, Syn. ความเป็นเพื่อน, ความเป็นมิตร, ไมตรีจิต, Example: คนในชนบทจะมีน้ำใจไมตรีหรือมีความเอื้ออารีเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แม้แต่กับคนแปลกหน้าที่ไม่รู้จักกัน | ตัดไมตรี | (v) break off relations, See also: cut off relations, sever relations, Syn. ตัดสัมพันธ์, Example: เจ้าเมืองยอมตัดไมตรี ไม่ยกราชธิดาให้เป็นมเหสี, Thai Definition: ไม่รับความหวังดีหรือไม่ยุ่งเกี่ยวอีกต่อไป | ผูกไมตรี | (v) befriend, See also: make friends, form / make an alliance, Syn. ผูกสัมพันธ์, Example: เธอเห็นเขาเริ่มจะรวยก็รีบผูกไมตรีอย่างออกนอกหน้าทีเดียว, Thai Definition: ติดต่อหรือสร้างความสัมพันธ์ต่อกันหรือเป็นเพื่อนกัน เป็นต้น | ไมตรีจิต | (n) goodwill, See also: sympathy, unity, harmony, concord, alliance, accord, agreement, Syn. ความหวังดี, ความปราถนาดี, Example: เขามีไมตรีจิตกับคนทุกคน | พันธไมตรี | (n) alliance, Syn. สัมพันธไมตรี, Example: การประชุมครั้งนี้เป็นการสานพันธไมตรีของสองประเทศให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น, Thai Definition: ข้อผูกมัดในฐานะที่เป็นมิตรกัน | สันถวไมตรี | (n) friendship, See also: good will, Syn. ไมตรีจิตร, มิตรภาพ, Example: ประเทศไทยกับจีนมีสันถวไมตรีต่อกันมาช้านาน ยากที่จะตัดขาดจากกัน, Thai Definition: ความเป็นมิตรสนิทสนมกัน | พระราชไมตรี | (n) friendly relations, See also: diplomatic relations, Example: เจ้าฟ้าชายชาร์ลส์มีพระราชไมตรีตอบรับคำเชิญของกระทรวงการต่างประเทศของไทย, Thai Definition: ความเป็นเพื่อน, ความหวังดีต่อกัน, Notes: (ราชา) | สัมพันธไมตรี | (n) friendship, See also: friendly relations, Syn. ความสัมพันธ์, มิตรภาพ, มิตรสัมพันธ์, Example: นายกรัฐมนตรีได้เดินทางไปเปิดสร้างสัมพันธไมตรีกับจีน, Thai Definition: ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันฉันมิตร | ทูตสันถวไมตรี | (n) goodwill ambassador, Example: เรากำลังจะส่งทูตสันถวไมตรีไปยังเวียดนามใต้, Count Unit: คน, Thai Definition: ทูตที่ทำหน้าที่เชื่อมสัมพันธไมตรี |
|
| ไมตรี | (-ตฺรี) น. ความเป็นเพื่อน, ความหวังดีต่อกัน. | สันถวไมตรี | น. ความเป็นมิตรสนิทสนมกัน เช่น ต้อนรับด้วยสันถวไมตรี ทูตสันถวไมตรี. | สัมพันธไมตรี | น. ความเกี่ยวข้องผูกพันกันฉันมิตร เช่น ประเทศไทยมีสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบ้าน. | กล่าวเกลี้ยง | ก. พูดเพราะ เช่น กล่าวเกลี้ยงไมตรีชวนชัก (เสือโค). | ก้อง ๒ | ก. อ่อนน้อมเจริญพระราชไมตรี เช่น พระเจ้ากรุงไทยแต่งขุนนางไปก้องกรุงปักกิ่ง (ประกาศ ร. ๔). | ขวัญ | สิ่งของที่ให้แก่เจ้าของขวัญเมื่อเสร็จพิธีทำขวัญแล้ว หรือสิ่งของที่ให้กันในเวลาอื่นเป็นการถนอมขวัญหรือเพื่ออัธยาศัยไมตรี เรียกว่า ของขวัญ | ของขวัญ | สิ่งของที่ให้กันในเวลาอื่นเป็นการถนอมขวัญหรือเพื่ออัธยาศัยไมตรี เช่น ของขวัญปีใหม่ ของขวัญวันเกิด. | ของเลื่อน | น. สำรับคาวหวานที่เจ้าภาพในงานทำบุญนำไปให้ผู้ที่นับถือด้วยไมตรีจิต. | จิ้มก้อง | ก. เจริญทางพระราชไมตรีเฉพาะกับประเทศจีน โดยนำพระราชสาส์นและเครื่องราชบรรณาการไปถวายจักรพรรดิตามเวลาที่กำหนด ปรกติ ๓ ปี ต่อครั้ง เช่น แต่งทูตออกไปจิ้มก้อง (พงศ. ร. ๓), (ปาก) โดยปริยายหมายถึงนำสิ่งของเป็นต้นไปกำนัลเพื่อเอาใจ. | เจริญ | (จะเริน) ก. เติบโต, งอกงาม, ทำให้งอกงาม, เช่น เจริญทางพระราชไมตรี เจริญสัมพันธไมตรี, มากขึ้น | เชื่อม ๒ | ก. ทำให้ต่อติดเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น เชื่อมเหล็ก, ทำให้ประสานกัน เช่น เชื่อมสัมพันธไมตรี. | ตัดรอน | ก. ตัดไมตรี, ตัดความสัมพันธ์. | ตาเจ้าชู้ | น. ตาที่แสดงอาการกรุ้มกริ่มเป็นเชิงทอดไมตรีในทางชู้สาว. | ตาเฟื้องตาสลึง | น. ตาที่แสดงอาการว่าชอบพอรักใคร่ เป็นการทอดไมตรีในทางชู้สาว, ตาเล็กตาน้อย ก็ว่า. | ตาเล็กตาน้อย | น. ตาที่แสดงอาการว่าชอบพอรักใคร่ เป็นการทอดไมตรีในทางชู้สาว, ตาเฟื้องตาสลึง ก็ว่า. | ทอดสนิท | ก. ผูกไมตรี, สร้างความสัมพันธ์, เช่น ซื้อของมาฝากบ่อย ๆ เพื่อทอดสนิทให้เขารัก. | ทัก ๑ | ก. กล่าวเป็นเชิงเตือน, พูดโอภาปราศรัยด้วยอัธยาศัยไมตรีเมื่อพบหน้ากัน, กล่าวหรือออกเสียงให้ระวังหรือสังเกตว่าจะเป็นภัยตามลัทธิที่ถือกัน เช่น จิ้งจกทัก. | ทูต | น. ผู้นำข้อความไปแจ้งทั้ง ๒ ฝ่าย, ผู้รับใช้ไปเจรจาแทน, ผู้สื่อสาร, ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้แทนไปยังต่างประเทศ เพื่อเจรจาหรือเจริญสัมพันธไมตรีเป็นทางราชการ. | บรรณาการ | (บันนากาน) น. สิ่งที่ส่งไปให้ด้วยความเคารพนับถือหรือด้วยไมตรี. (ป. ปณฺณาการ; ส. ปรฺณาการ), ในบทประพันธ์ใช้ว่า บรรณา ก็มี. | ปรองดอง | (ปฺรอง-) ก. ออมชอม, ประนีประนอม, ยอมกัน, ไม่แก่งแย่งกัน, ตกลงกันด้วยความไกล่เกลี่ย, ตกลงกันด้วยไมตรีจิต. | ปราศรัย | (ปฺราไส) น. การพูดด้วยไมตรีจิต, การแสดงอัชฌาสัยในระหว่างผู้ใหญ่ต่อผู้น้อยหรือผู้ที่เสมอกัน | ปราศรัย | (ปฺราไส) ก. พูดด้วยไมตรีจิต, พูดแสดงอัชฌาสัยระหว่างผู้ใหญ่ต่อผู้น้อยหรือผู้ที่เสมอกัน | ปลูก | (ปฺลูก) ก. เอาต้นไม้หรือเมล็ด หน่อ หัว เป็นต้น ใส่ลงในดินหรือสิ่งอื่นเพื่อให้งอกหรือให้เจริญเติบโต, ทำให้เจริญเติบโต, ทำให้งอกงาม เช่น ปลูกไมตรี | เมินเสียเถอะ, เมินเสียเถิด | คำกล่าวอย่างตัดเยื่อใยไมตรี ไม่ให้มีความหวังอยู่เลย. | รักษ์, รักษา | ก. ระวัง เช่น รักษาสุขภาพ, ดูแล เช่น รักษาทรัพย์สมบัติ, ป้องกัน เช่น รักษาบ้านเมือง, สงวนไว้ เช่น รักษาความสะอาด รักษาไมตรี | ราชสาส์น | (ราดชะสาน) น. จดหมายของพระมหากษัตริย์ที่มีถึงประมุขต่างประเทศ เช่นใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรี แสดงความยินดีหรือความเสียใจ เรียกว่า พระราช-สาส์น. | สมณสาสน์ | (-สาด) น. จดหมายของสมเด็จพระสังฆราชหรือประมุขของประเทศซึ่งเป็นนักบวชที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ. | สมาน ๒ | เชื่อม, ผูกพัน, เช่น สมานไมตรี. | สลัด ๓ | (สะหฺลัด) ก. ทำให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ติดอยู่ให้หลุดไปโดยวิธีสะบัด ซัด หรือกระพือ เป็นต้น เช่น สลัดรองเท้าให้หลุดจากเท้า เม่นสลัดขน เขาสลัดมีดสั้นไปที่คู่ต่อสู้, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สลัดรัก สลัดไมตรี. | สองตาก็ไม่แล, สองตาก็ไม่อยากแล | คำที่แสดงอาการว่าไม่แยแสหรือตัดรอนไม่เป็นมิตรไมตรีกันอีกต่อไป. | สายสัมพันธ์ | น. ความผูกพันกันมาช้านาน, ความเกี่ยวข้องเป็นมิตรไมตรีกันมานาน, เช่น ไทยกับจีนมีสายสัมพันธ์อันดีมาหลายร้อยปีแล้ว. | สาสน, สาสน-, สาสน์, สาส์น | จดหมายของประมุขของประเทศหรือประมุขสงฆ์ที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ, ถ้าเป็นจดหมายของพระมหากษัตริย์ เรียกว่า พระราชสาส์น, ถ้าเป็นจดหมายของประธานาธิบดี เรียกว่า อักษรสาส์น, เขียนเป็น อักษรสาสน หรือ อักษรสาสน์ ก็ได้, ถ้าเป็นจดหมายของสมเด็จพระสังฆราช เรียกว่า สมณสาสน์, ถ้าเป็นจดหมายของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า เรียกว่า พระสมณสาสน์. | สิ้นชาติ | โดยปริยายหมายความว่า ตัดความสัมพันธ์, ตัดไมตรี, เช่น สิ้นชาติขาดกันจนวันตาย. | เสริมสร้าง | ก. เพิ่มพูนให้ดีหรือมั่นคงยิ่งขึ้น เช่น เสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ เสริมสร้างสัมพันธไมตรีอันดี. | อักษรสาส์น | (อักสอนระสาด, อักสอนสาด) น. จดหมายของประธานาธิบดีหรือประมุขของประเทศซึ่งมีชื่อเป็นอย่างอื่นที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ, เขียนเป็น อักษรสาสน (อ่านว่า อักสอนสาน) ก็ได้. |
| rapprochement (Fr.) | การกระชับความสัมพันธ์, การฟื้นสัมพันธไมตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | alliance | ความเป็นพันธมิตร, พันธไมตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | alliance | ๑. พันธไมตรี, ความเป็นพันธมิตร (ก. ระหว่างประเทศ)๒. ความเกี่ยวดอง (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Alliance, Holy | พันธไมตรีอันศักดิ์สิทธิ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | comity | ๑. ไมตรีจิตระหว่างประเทศ๒. การรับรองการใช้อำนาจอธิปไตย (ของประเทศอื่น) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | comity of nations | หลักอัธยาศัยไมตรีระหว่างชาติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | courtesy | อัธยาศัยไมตรี, มารยาท [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Holy Alliance | พันธไมตรีอันศักดิ์สิทธิ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| amity | สันถวไมตรี [การทูต] | Diplomatic Expressions | ถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น [การทูต] | Diplomatist หรือ Diplomat | ใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต] | Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articles | การยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต] | Goodwill Representative | ผู้แทนสันถวไมตรี " หมายถึง การแต่งตั้งบุคคลที่มีพื้นฐานความรู้ ความประพฤติ และ บุคลิกที่เหมาะสมในการเป็นผู้แทนของประเทศ ให้ไปเยือนต่างประเทศ เพื่ออัธยาศัยไมตรี หรือผูกมิตรกับอีกประเทศหนึ่ง โดยสามารถปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้แทนของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ " [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Reciprocity of Rank of Envoys | หมายถึง การถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกันในเรื่องตำแหน่งของทูต กล่าวคือ ประเทศทั้งหลายถือธรรมเนียมปฏิบัติในการแลกเปลี่ยนทูตที่มีตำแหน่งเท่าเทียม กัน ดังนั้น หากประเทศหนึ่งส่งทูตไปประจำอีกประเทศหนึ่ง ในตำแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม ประเทศนั้นก็คาดว่าประเทศผู้รับย่อมจะให้ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน โดยส่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มของตนไปประจำที่ประเทศผู้ส่งด้วย พึงสังเกตว่าการถ้อยทีถ้อยปฏิบัติกันเช่นนี้มิใช่เป็นระเบียบข้อบังคับของ กฏหมายระหว่างประเทศ หากเป็นการแสดงไมตรีจิตมิตรภาพต่อกันระหว่างประเทศทั้งหลายมากกว่า [การทูต] | Treaty of Amity and Cooperation | สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาที่จัดทำขึ้นโดยอาเซียนเมี่อปี พ.ศ. 2519 เพื่อกำหนด หลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค โดยมีหลักการที่สำคัญได้แก่ การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติ การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งมีมาตราเกี่ยวกับแนวทางยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยอาศัยกลไกคณะอัครมนตรี (High Council) ปัจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ เป็นภาคีสนธิสัญญาฯ " [การทูต] | visa | การตรวจลงตรา " การประทับตราหรือข้อความในหนังสือเดินทาง หรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางของคนต่างด้าวโดยเจ้าพนักงานของรัฐ เพื่อแสดงว่า ผู้เดินทางได้รับอนุญาตให้เข้ามาพำนัก เดินทางผ่าน และเดินทางออกจากราชอาณาจักร - courtesy visa การตรวจลงตราประเภทอัธยาศัยไมตรี การตรวจลงตราประเภทนี้จำกัดเฉพาะคนต่างด้าวที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร เป็นการชั่วคราว ซึ่ง (1) ปฏิบัติหน้าที่เพื่อการอื่นนอกเหนือจากการเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ทางการทูต กงสุล หรือราชการ (สำหรับผู้ที่ถือหนังสือเดินทางทูต หนังสือเดินทางราชการ หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติที่เทียบเท่าหนังสือเดินทางทูต หรือหนังสือ เดินทางราชการ) และ (2) เข้ามาในฐานะเป็นพระราชอาคันตุกะ ราชอาคันตุกะ แขกของรัฐบาล หรือหน่วยของรัฐ (สำหรับผู้ที่ถือหนังสือเดินทางธรรมดา) - diplomatic visa การตรวจลงตราประเภททูต - immigrant visa การตรวจลงตราประเภทคนเข้ามามีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร - non-immigrant visa การตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว - non-quota immigrant visa การตรวจลงตราประเภทคนเข้าเมืองนอกกำหนดจำนวนคนต่างด้าว ซึ่งเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรเป็นรายปี การตรวจลงตราประเภทนี้จะอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรได้ 1 ปี - official visa การตรวจลงตราประเภทราชการ - re-entry visa การตรวจลงตราประเภทให้กลับเข้ามาในราชอาณาจักรได้อีก - tourist visa การตรวจลงตราประเภทนักท่องเที่ยว - transit visa การตรวจลงตราประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร - visa on arrival การตรวจลงตรา ณ ช่องทางอนุญาตของด่านตรวจคนเข้าเมือง " [การทูต] | visit | การเยือน " - State Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในระดับประมุขของรัฐ หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญของต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ ที่มีสถานะเป็นกษัตริย์หรือประธานาธิบดี โดยเป็นการเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของรัฐผู้รับ รัฐผู้รับจะจัดพิธีการต้อนรับอย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Official Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของ รัฐบาล หมายถึง การเยือนเป็นทางการของประมุขของรัฐ มกุฎราชกุมาร หัวหน้ารัฐบาล หรือหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่ง เทียบเท่า โดยเป็นแขกรับเชิญของรัฐบาล และจัดพิธีการรับรองต่าง ๆ อย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Visit as Guest of the Royal Thai Government การเยือนในฐานะแขกของรัฐบาล หมายถึง การเยือนของประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาลและหัวหน้า องค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าซึ่งไม่ได้เดินทางมาเยือนอย่าง เป็นทางการหรือเพื่อเจรจาทำงาน รวมทั้งการเสด็จฯ เยือนของพระราชวงศ์ รองประธานาธิบดีและบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งเทียบเท่า ซึ่งรัฐบาลไทยปรารถนาที่จะแสดงไมตรีจิตโดยเชิญให้มาเยือนประเทศไทยในฐานะแขก ของรัฐบาล และจัดการต้อนรับให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเยือนในแต่ละกรณี - Working Visit การเยือนเพื่อเจรจาทำงาน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล และหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ เจรจาในปัญหาหรือประเด็นใดเป็นการเฉพาะในระยะเวลาอันสั้น - Visit as Guest of Their Majesties the King and Queen of Thailand การเยือนในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วนพระองค์ หมายถึง การเสด็จเยือนของพระราชวงศ์ต่างประเทศ หรือการเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วน พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ - Private Visit การเยือนส่วนตัวหรือแวะผ่าน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ พระราชวงศ์ หัวหน้ารัฐบาล หรือผู้นำองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่า และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเยือนเป็นการส่วนตัวหรือการแวะผ่านประเทศในระยะเวลา อันสั้น รัฐผู้รับจะจัดการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้ตามความเหมาะสม " [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
| "'make an agreement with me by a present. | "จงทำสัญญาไมตรี กับเราด้วยของกำนัล Wuthering Heights (1992) | Greetings from The Humungus! | ฮิวมังกัส ส่งไมตรีให้พวกเจ้า! The Road Warrior (1981) | You have a cozy relationship with a known drug trafficker. | คุณมีไมตรีสัมพันธ์กับนักค้ายาซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี Brokedown Palace (1999) | A friendship with Saruman is not lightly thrown aside. | มีใครบ้างที่กล้าปฎิเสธไมตรีของซารูเเมน The Lord of the Rings: The Fellowship of the Ring (2001) | We have not had dealings with the Dwarves since the Dark Days. | พวกเราไม่ได้มีสัมพันธไมตรีกับเหล่าคนแคระตั้งแต่ยุคมืดมาแล้ว The Lord of the Rings: The Fellowship of the Ring (2001) | Especially when we've been so hospitable. | ขนาดพวกเรา มีไมตรีจิตให้ขนาดนี้ The Dreamers (2003) | Indeed, he has no improper pride. He is perfectly amiable. | จริงๆ แล้ว เขาไม่มีความหยิ่งยโสที่ไม่เหมาะสมเลย เขาเป็นคนที่มีไมตรีจิตที่สมบูรณ์แบบ Episode #1.6 (1995) | A gesture, they said, of goodwill. | เพื่อแสดงไมตรีจิต V for Vendetta (2005) | It's like the 2002 Worldcup, a warm opening. | นี่เหมือนกับ Worldcup ตอนปี 2002 เลย , \ Nเป็นการเปิดไมตรี Episode #1.3 (2006) | Peace treaty? | เชื่อมสัมพันธไมตรี? Episode #1.41 (2006) | Mother, brother Dae-So is trying to send me as a peace treaty. | เสด็จแม่, เสด็จพี่พยายามที่จะส่งให้ข้าไปเป็นทูตเจริญสัมพันธไมตรีกับฮั่น Episode #1.41 (2006) | Prime Minister, did you suggest that I go as a peace treaty? | ท่านเสนาบดี, ท่านแนะนำให้ข้าไปเป็นทูตเจริญสัมพันธไมตรีงั้นเหรอ? Episode #1.41 (2006) | Prince Dae-So is going to send Ju-Mong to the Hans as a peace treaty. | องค์ชายแดโซจะส่งจูมงเพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีกับฮั่น Episode #1.41 (2006) | Is it true that you are sending Ju-Mong to the Hans as a peace treaty? | จริงเหรอที่เจ้าจะส่งจูมงไปฮั่นเพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรี Episode #1.41 (2006) | I would regard it as a mark of extreme favour if you would stoop to honour me with this next dance. | ผมยินดีที่ได้ไมตรีจิตอันล้นเหลือนี้ Becoming Jane (2007) | You must be selfish, all of you are too kind-hearted. | คุณควรที่จะห็นแก่ตัวเองบ้าง พวกคุณทั้งหมดเป็นคนมีไมตรีจิตที่ดีมากๆ Beethoven Virus (2008) | Seems like Yuri is meeting them first hand to reconcile. | ดูเหมือนว่าก่อนหน้านั้นกษัตริย์ยูริ ได้เดินทางไปสมานไมตรีกับพวกเขาด้วย The Kingdom of the Winds (2008) | You reject my hospitality, refuse to wait in your cell, and now, you're going to insult me? | ท่านปฏิเสธไมตรีจิตจากข้า ปฏิเสธที่จะรออยู่ในคุก และตอนนี้ The Gungan General (2009) | I wanna thank you for your hospitality. | ผมอยากจะขอบคุณสำหรับไมตรีจิต Scratches (2009) | So I figured, if I found a few lapse in the security, pointed them out as a gesture of good faith, she might change her mind? | ผมเลยตัดสินใจ ถ้าผมจะแหกระบบความปลอดภัย พวกเขา Oazvia \ n การเป็นส่วยของสันถวไมตรี เธออาจจะเปลี่ยนใจก็ได้ Prison Break: The Final Break (2009) | You are jeopardizing my cheerios' role as goodwill ambassadors. | นายกำลังทำลายทีมเชียร์ ซึ่งเป็นตัวแทนความเป็นมิตรไมตรี Throwdown (2009) | I was providing you with an alternative. | ไมตรีจิตที่ฉันไม่เคยได้รับ ในสถานการณ์เดียวกัน The Cornhusker Vortex (2009) | Your kindness, your companionship. | ความเตตาของฝ่าบาท, ความมีไมตรีจิตของฝ่าบาท Beauty and the Beast (2009) | On his agenda are diplomatic meetings and a performance of Beethoven tomorrow night by The LA City Symphony. | เพื่อเจริญสัมพันธไมตรีทางการทูต และจะเข้าชมผลงานของบีโทเฟ่นในคืนพรุ่งนี้ โดยวง The LA City Symphony Chuck Versus the Tooth (2010) | Ohio was stifling, and we couldn't wait to get out of the place. | ตักไมตรีกับโอไฮโอ้แล้ว เรารอไม่ได้ ที่จะออกไปจากที่นี่ แม่เคยบอกแล้ว Furt (2010) | International relationships are often built on compromise. | สัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ เกิดจากการประนีประนอมกันทั้งนั้น Spider and the Fly (2010) | Not my relationships. | แต่ไม่ใช่สัมพันธไมตรีของผม Spider and the Fly (2010) | You've thrown your lot in with them. You're not a Viking. | เจ้ามีไมตรีให้มังกร เจ้าไม่ใช่ไวกิ้ง How to Train Your Dragon (2010) | Yesterday I flew in to accept the Order of Friendship from the Russian Prime Minister. | เมื่อวานนี้ผมบินมาที่นี่ เพื่อรับเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งไมตรี จากนายกรัฐมนตรีของรัสเซีย Mission: Impossible - Ghost Protocol (2011) | If they already have a rapport... | ถ้าเขามีไมตรีกันแล้ว Corazon (2011) | Alex is like a brand ambassador. | อเล็กซ์เป็นฑูตไมตรีประจำยี่ห้อโฆษณา The Next Seduction (2011) | Trouble with another ambassador? | แต่ผมต้องกลับไปที่ทำงาน มีปัญหากับฑูตไมตรีคนอื่นเหรอ? The Next Seduction (2011) | Peace and goodwill towards all mammals | ความสงบและไมตรีจิต ส่งไปถึงพี่น้องทุกตัว Ice Age: A Mammoth Christmas (2011) | I really thought this was going to be the beginning of a friendly cooperation between business associates, but if it's competition that you want, then I suggest you watch your back. | ชั้นคิดว่านี่จะเป็น ก้าวเริ่มต้นของสัมพันธไมตรี ระหว่างธุรกิจและสังคม Chuck Versus the Bearded Bandit (2011) | It's almost decided. Please help me prepare for the party. | การเชื่อมสัมพันธไมตรีครั้งนี้ คงจะช่วยให้ผมทำงานในธุรกิจนี้ได้ดี Episode #1.7 (2011) | Well, I appreciate the olive branch, but I think it sends the wrong message. | ผมขอบคุณกับการผูกไมตรี แต่ผมคิดว่ามันส่งข้อความผิด It Girl, Interrupted (2012) | I should have known our daring rescue of Elizabeth wouldn't buy lasting goodwill with the suit. | ฉันควรจะได้รู้หรือเนี่ยว่าความกล้าหาญในการช่วยเอลิซาเบ็ธของเรา ไม่อาจจะซื้อมิตรไมตรีอันยาวนานคืนจากคุณสูทได้ Upper West Side Story (2012) | She was a Goodwill Ambassador in Africa. | เธอเป็นฑูตสันธวไมตรีอัฟริกา Turn This Mother Out (2012) | Now go. Find your love. | ที่จะรู้ถ้ามีใครกำลังยื่นไมตรีให้ ไปเลย ไปหาความรักของเจ้า Dreamy (2012) | I appreciate your goodwill, Lord An. | ขอบใจในไมตรีของท่าน The Four (2012) | Well, hospitality isn't exactly our main concern. | จริงๆแล้วความมีไมตรีจิต ไม่ใฃ่เรื่องหลักที่เรากังวลหรอก Run (2012) | Let's hope Mr. Jane remains so amiable when he wakes up in the morning with a pounding headache and time to think. | มาหวังให้มิสเตอร์เจน จดจำไมตรีจิตของเขาได้ ตอนตื่นมาพรุ่งนี้เช้า พร้อมกับอาการปวดหัวอย่างหนัก และมีเวลาให้คิด Red Dawn (2012) | Thank you for the fine hospitality you have shown my country's distinguished president. | ขอบคุณสำหรับมิตรไมตรีอันดีงาม ที่ทุกท่านได้มอบให้กับปธน.ของเรา Masquerade (2012) | Your marriage should have served to form an alliance with another kingdom and you choose to marry a serving girl. | การอภิเษกสมรสควรจะมีขึ้นเพื่อสานสัมพันธไมตรี ระหว่างอาณาจักร แต่เจ้ากลับเลือกที่จะแต่งกับสาวใช้ The Death Song of Uther Pendragon (2012) | I want him building a rapport with its most powerful member. | ฉันต้องการให้เขาสร้างไมตรีจิต กับสมาชิกผู้ทรงอิทธิพลมากที่สุดของทีม Revelations (2012) | You want a bouquet? | คุณต้องการไมตรี? Natural Born Wesen (2013) | Don't be pleasant with me. I know why you're here. | อย่าทำเป็นมีมิตรไมตรีกับข้าเลย ข้ารู้สาเหตุที่เจ้ามาที่นี่ดี III. (2014) | I can see a small allowance being made for goodwill. | ข้ามองเห็นว่าเบี้ยชดเชย ความเสียหายเล็กน้อยทำให้เกิดผลดี สำหรับมิตรไมตรี III. (2014) | Well, fdr, he sailed the great white fleet all over the world, early 1900's, called it the "goodwill tour." | ปธน.รูสเวลท์เคยส่งกองเรือรบที่ยิ่งใหญ่ ไปทั่วโลกตั้งแต่ก่อนปี 1900 เขาเรียกมันว่า "การเยี่ยมเยือนด้วยไมตรี 11:00 a.m.-12:00 p.m. (2014) | I earned a little goodwill from Director Fury when I got hit right before the battle of New York. | ผมได้รับไมตรีเล็กน้อย จากผู้การฟิวรี่ ตอนที่ผมถูกยิงก่อนศึก ในนิวยอร์คจะเกิดขึ้น 0-8-4 (2013) |
| ด้วยไมตรีจิต | [dūay maitrījit] (adj) EN: hospitable | เจริญทางพระราชไมตรี | [jaroēn thāng phrarātchamaitrī] (v, exp) EN: cultivate friendly relations | การต้อนรับด้วยไมตรีจิต | [kān tønrap dūay maitrījit] (n, exp) EN: hospitality | ไมตรี | [maitrī] (n) EN: friendship ; amicability ; goodwill ; good terms ; friendly relation ; friendliness FR: amitié [ f ] ; relation amicale [ f ] | ไมตรีจิต | [maitrījit] (n) EN: goodwill ; sympathy ; unity ; harmony ; concord ; alliance ; accord ; agreement ; hospitality | มิตรไมตรี | [mitmaitrī] (n) EN: hospitality | พระราชไมตรี | [phrarātchamaitrī] (n) EN: friendly relations; diplomatic relations FR: relation amicale [ f ] | ผูกไมตรี | [phūkmaitrī] (v, exp) EN: befriend ; make friends ; form an alliance ; make an alliance | สัมพันธไมตรี | [samphanthamaitrī] (n) EN: friendly relations ; friendship FR: relation amicale [ f ] | สันถวไมตรี | [santhawamaitrī] (n) EN: goodwill ; friendly relations ; friendship | ตัดไมตรี | [tat maitrī] (v, exp) EN: break off a friendship ; sever friendly relations ; become estranged FR: se brouiller | ทูตสันถวไมตรี | [thūt santhawamaitrī] (n, exp) EN: goodwill mission |
| amity | (n) มิตรภาพ, See also: สัมพันธไมตรี, ความสัมพันธ์ฉันท์มิตร, Syn. friendship | bonhomie | (n) ความมีมิตรไมตรี | friendliness | (n) ความเป็นมิตร, See also: ความมีไมตรี, ความเป็นกันเอง, ความเป็นเพื่อน, Syn. amiability, cordiality, kindliness, Ant. hostility, inimicality, unfriendliness | frigid | (adj) เย็นชา, See also: ไร้ไมตรี | goodwill | (n) ความเป็นมิตร, See also: ความหวังดี, มิตรไมตรี | hearty | (adj) ซึ่งเป็นมิตร, See also: ซึ่งมีไมตรีจิต, Syn. cordial, congenial, genial | hospitable | (adj) ที่มีความโอบอ้อมอารีย์, See also: ที่มีใจยินดี, ที่มีอัธยาศัยดี, ที่มีมิตรไมตรีจิต, Syn. cordial, friendly, welcoming, Ant. unfriendly | olive branch | (n) ท่าทางแสดงการผูกไมตรี | pleasantly | (adv) อย่างน่าคบหา, See also: อย่างมีมิตรไมตรี, Syn. gallantly | rapport | (n) ความปรองดองกัน, See also: ความสามัคคี, ความเห็นใจ, ไมตรีจิต, Syn. harmony, relationship, understanding | sever | (vi) แยกเป็นส่วนๆ, See also: แบ่งแยก, ตัดสัมพันธไมตรี | sever | (vt) แยกออก, See also: ตัดสัมพันธไมตรี, ตัดขาด, แบ่งแยก, Syn. part, split, separate | warm | (adj) ที่เป็นมิตร, See also: ที่มีไมตรีจิต, Syn. cordial, friendly, gracious | warm | (vi) มีความเป็นมิตร, See also: มีไมตรีจิต, มีความรู้สึกชอบพอ |
| amiable | (เอ' มีอะเบิล) adj. ด้วยไมตรีจิต, มีไมตรีจิต, น่ารัก, สุภาพ, อ่อนโยน. -amiableness, amiability n., Syn. kind, pleasant, agreeable, Ant. disagreeable | amicable | (แอม' มิคะเบิล) adj. เป็นมิตร, ฉันมิตร, รักใคร่กัน, มีไมตรีจิต. -amicability, amicableness n., Syn. friendly | amity | (แอม' มิที) n. มิตรภาพ, สัมพันธไมตรี, ไมตรีจิต, Syn. friendship, Ant. hostility | bonhomie | (บอน'ฮะมี) n. มิตร ไมตรี, ความร่าเริงชื่นบาน | boycott | (บอย'คอท) { boycotted, boycotting, boycotts } vt. รวมหัวต่อต้าน, พร้อมใจกันตัดสัมพันธ์ไมตรีไม่ซื้อสินค้า/ไม่ส่งสินค้าหรืออื่น, See also: boycotter n. ดูboycott | chummy | (ชัม'มี) adj. สนิทสนม, มีมิตรไมตรีจิตเป็นมิตร, เป็นเพื่อนกัน, See also: chumminess n. | comity | (คอม'มะ) n มารยาทที่มีต่อกัน, ไมตรีจิตที่มีต่อกัน | conciliate | (คันซิล'ลีเอท) { conciliated, conciliating, conciliates } vt. ไกล่เกลี่ย, ทำให้ปรองดองกัน, ผูกไมตรี, ชนะใจ, ประนีประนอม., See also: conciliation n. ดูconciliate, Syn. appease, placate | cordial | (คอร์'เดียล) adj. ด้วยความรักใคร่, ด้วยมิตรไมตรีจิต, ด้วยน้ำใสใจจริง, อบอุ่น, สนิทสนม. n. ยาบำรุงหัวใจ, เหล้าหวานหอมที่เจือปนเครื่องเทศ, ยากระตุ้น., See also: cordialness n., Syn. warm, sincere, Ant. cool, cold | couthie | (คู'ธี) adj. เอื้อเฟื้อ, กรุณา, มีไมตรีจิต | favor | (ฟะ'เวอะ) n. ความกรุณา, การกระทำที่กรุณา, ความสงเคราะห์, ความประทับใจ, ความนิยม, ความเข้าข้าง, ไมตรีจิต, บุญคุณ, การสนับสนุน, ความเห็นพ้อง, ของขวัญ, ของระลึก, เครื่องหมาย, โบ, สิทธิพิเศษ. -Phr. (in favo (u) r of สนับสนุน, เข้าข้าง) . -Phr. (in one's favo (u) r เพื่อผลประโยชน | favour | (ฟะ'เวอะ) n. ความกรุณา, การกระทำที่กรุณา, ความสงเคราะห์, ความประทับใจ, ความนิยม, ความเข้าข้าง, ไมตรีจิต, บุญคุณ, การสนับสนุน, ความเห็นพ้อง, ของขวัญ, ของระลึก, เครื่องหมาย, โบ, สิทธิพิเศษ. -Phr. (in favo (u) r of สนับสนุน, เข้าข้าง) . -Phr. (in one's favo (u) r เพื่อผลประโยชน | genial | (จี'เนียล, เจน'เยิล) adj. ใจดี, เห็นใจคนอื่น, ร่าเริง, มีมิตรไมตรีจิต, เบิกบานใจ, มีลักษณะของอัจฉริยบุรุษ, เกี่ยวกับคาง, See also: genialness n., Syn. cordial, lively | geniality | (จีนีแอล'ลิที) n. ความใจดี, ความเห็นอกเห็นใจคนอื่น, ความร่าเริงเบิกบานใจ, ความมีมิตรไมตรีจิต, Syn. cheerfulness, kindliness -A.cheerlessness | good will | ไมตรีจิต, ความนิยม | goodwill | ไมตรีจิต, ความนิยม | heartily | (ฮาร์ท'ทิลี) adv. อย่างจริงใจ, อย่างแท้จริง, ด้วยมิตรไมตรีจิต, อย่างยิ่ง, โดยสิ้นเชิง, อย่างเอร็ดอร่อย, Syn. cordially, sincerely | hearty | (ฮาร์ท'ที) adj. อบอุ่นใจ, มีมิตรไมตรีจิต, ร่าเริง, จริงใจ, แท้จริง, เต็มใจ, กระตือรือร้น, แข็งแรง, รุนแรง, มากมาย, อุดมสมบูรณ์. n. คนกล้า, คนดี, สหาย., See also: heartily adv. heartiness n., Syn. genial, cordial, Ant. cool, weak, mild | hospitable | (ฮอส'พิทะเบิล) adj. มีมิตรไมตรีจิต, มีอัธยาศัย, ชอบต้อนรับแขก, ตอนรับขับสู่, เมตตากรุณา, ต้อนรับความคิดใหม่ ๆ, See also: hospitably adv., Syn. cordial, receptive | hospitality | (ฮอสพิแทล'ลิที) n. ความมีมิตรไมตรีจิต, ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่, Syn. welcome, conviviality, cordiality | inhospitable | (อินฮอส'พิทะเบิล) adj. ไม่ต้อนรับ, ไม่มีไมตรีจิต, ไม่อารี, ไม่เอื้ออำนวย, ไม่เหมาะสำหรับอยู่อาศัย., See also: inhospitableness n. inhospitably adv. | inhospitality | (อินฮอสพิแทล'ลิที) n. การขาดไมตรีจิต, การไม่ต้อนรับ | kindhearted | (ไคดฺ'ฮาร์ท'ทิด) adj. กรุณา, ใจดี, ปรานี, หวังดี, มีไมตรีจิต, See also: kindheartedness n., Syn. gracious | lamb | (แลมบ์) ลูกแกะ, เนื้อลูกแกะ, บุคคลทีมีมิตรไมตรีจิต, คนใจดี, คนที่ถูกโกงได้ง่าย vt. คลอดลูกแกะ -Phr. (the Lamb พระเยซูคริสต์) | matey | (เม'ที) adj. มีมิตรจิต, มีไมตรี, ฉันไมตรี, ฉันกันเอง, เข้าสังคมได้, รู้จักมักคุ้นได้ | neighborly | (เน'เบอลี) adj. เป็นเพื่อน, มีมิตรไมตรีจิต., See also: neighborliness n. neighbourliness n. | neighbourly | (เน'เบอลี) adj. เป็นเพื่อน, มีมิตรไมตรีจิต., See also: neighborliness n. neighbourliness n. | nice | (ไนสฺ) adj.ดี, อ่อนโยน, งาม, สวย, ซึ่งทำให้เพลินหรือเบิกบานใจ, มีมิตรไมตรี, กรุณา, ประณีต, ละเอียดละออ, พิถีพิถัน, แน่นอน., See also: nicely adv., Syn. fine | pleasant | (เพลส'เซินทฺ) adj. สบายใจ, พอใจ, ให้ความพอใจ, ถูกใจ, สุภาพ, เรียบร้อย, ร่าเริง, มีมิตรไมตรีจิต., See also: pleasantness n., Syn. pleasing | rapport | (แรโพ', ระพอร์') n. สายสัมพันธ์, ความสามัคคี, ความเห็นอกเห็นใจ, ไมตรีจิต | rapprochement | (ระพรอชมาน') n. การสร้างสายสัมพันธ์, การสร้างไมตรีจิต | regard | (รีการ์ด') vt. พิจารณา, ถือว่า, เห็นว่า, จ้องมอง, เอาใจใส่, นับถือ, เคารพ vi. สนใจ, จ้องมอง n. การอ้างอิง, ความสัมพันธ์, ความคิด, ความสนใจ, การมอง, การจ้องมอง, ความนับถือ, ความเคารพ, ไมตรีจิต, See also: regards n. ความเคารพนับถือ regardable adj. | severance | (เซฟ'เวอเรินซฺ) n. การแยกออก, การตัดขาด, การตัดสัมพันธไมตรี, การถูกแยกออกจากกัน, การแตกแยก, การแบ่งออกเป็นส่วน ๆ , ความไม่เหมือนกัน, Syn. separation | sociability | (โซชะบิล'ลิที) n. การชอบสังคม, การชอบวิสาสะ, การชอบอยู่เป็นหมู่, การแสดงมิตรไมตรีจิต | sociable | (โซ'ชะเบิล) adj. ชอบสังคม, ชอบวิสาสะ, ชอบอยู่เป็นหมู่, มีมิตรไมตรีจิต, See also: socialness n. sociably adv., Syn. outgoing | sodality | (โซแคล'ลิที) n. สัมพันธไมตรี, มิตรไมตรีจิต, ความเป็นน้ำหนึ่งอันเดียวกัน, ความเป็นเพื่อน, สมาคม, สังคม, สมาคมฆราวาส เพื่อส่งเสริมวัตถุประสงค์ทางศาสนา | warm | (วอร์ม) adj. vt. vi. (ทำให้) (กลายเป็น) อบอุ่น, อุ่น, มีมิตรไมตรี, มีชีวิตชีวา, คึกคัก, สด, มีอารมณ์รัก, เห็นอกเห็นใจ -Phr. (warm up อุ่นเครื่องก่อนแข่ง), See also: warmer n. warmish adj. warmly adv. warmness n., Syn. luk | warm-hearted | (วอร์ม'ฮาร์ทิด) adj. อบอุ่นใจ, มีมิตรไมตรี, ใจดี, กระตือรือร้น, See also: warm-heartedness n. warm-heartedness n., Syn. affectionate, kind | washed-up | (วอช ดฺ'อัพ) adj. ล้มเหลวสิ้นเชิง, ล้างสะอาดหมดจด, ตัดไมตรี, Syn. through |
| amity | (n) มิตรภาพ, สัมพันธภาพ, สัมพันธไมตรี, สันติภาพ | civility | (n) ความเป็นพลเมืองดี, ความสุภาพ, ความมีมารยาท, ความมีอัธยาศัยไมตรี | comity | (n) ไมตรีจิต, ความสุภาพ, มารยาท | companionship | (n) มิตรภาพ, ไมตรีจิต, สัมพันธไมตรี | conciliatory | (adj) ซึ่งประนีประนอมกัน, ซึ่งผูกไมตรี | cordial | (adj) เต็มใจ, จริงใจ, ด้วยน้ำใสใจจริง, ด้วยมิตรไมตรีจิต, ฉันมิตร | cordiality | (n) มิตรภาพ, ความจริงใจ, ไมตรีจิต, น้ำใสใจจริง | friendliness | (n) มิตรภาพ, ไมตรีจิต, มิตรไมตรี, มิตรจิตมิตรใจ | friendship | (n) มิตรภาพ, มิตรไมตรีจิต, ความสัมพันธ์ฉันเพื่อน | genial | (adj) ร่าเริง, เบิกบาน, ใจดี, มีมิตรไมตรีจิต | goodwill | (n) ไมตรีจิต, น้ำใจ, ความปรารถนาดี, ความนิยม | inhospitable | (adj) ไม่ผาสุก, ไม่ต้อนรับ, ไม่มีไมตรีจิต | inhospitality | (n) ความไม่ผาสุก, การไม่ต้อนรับ, ความไม่ยินดี, ความไม่มีไมตรีจิต | neighbourly | (adj) ฉันเพื่อนบ้าน, มีมิตรไมตรีจิต | rapport | (n) ความสามัคคี, ความปรองดอง, สายสัมพันธ์, ไมตรีจิต | sever | (vi, vt) แยก, ตัด, แบ่งแยก, ตัดไมตรี, ตัดขาด | severance | (n) การตัดขาด, การแยกจากกัน, ความแตกแยก, การตัดไมตรี | sodality | (n) ความเป็นเพื่อนกัน, ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน, มิตรไมตรีจิต |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |