Gravity | แรงโน้มถ่วง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Gravitation | ความโน้มถ่วง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Gravitation | ความโน้มถ่วง [TU Subject Heading] |
Gravity | แรงโน้มถ่วง [TU Subject Heading] |
Gravity Thickener | ถังทำข้นแรงโน้มถ่วง [สิ่งแวดล้อม] |
Gravitational Potential | ศักย์โน้มถ่วง, Example: งาน (work) ต่อจำนวนของน้ำบริสุทธิ์ ที่ต้องใช้ในการเคลื่อนย้ายน้ำในดิน จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งที่มีความสูงแตกต่างกัน ดังสมการ Yz = r g z เมือ Yz คือ ศักย์โน้มถ่วง z คือ ระดับความสูงที่แตกต่างกัน r คือ ความหนาแน่นของน้ำ g คือ แรงโน้มถ่วง [สิ่งแวดล้อม] |
Energy, Gravitational Potential | พลังงานศักย์ที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลก [การแพทย์] |
gravity arch dam | gravity arch dam, เขื่อนแรงโน้มถ่วงโค้ง [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
gravity weir | gravity weir, ฝายแรงโน้มถ่วง [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
chromatography | โครมาโทกราฟี, กระบวนการวิเคราะห์หรือแยกสาร โดยอาศัยความแตกต่างจากการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารต่าง ๆ ที่ผสมรวมกันอยู่ โดยให้สารผ่านหรือไหลซึมไปในตัวกลางที่เหมาะสมด้วยแรงโน้มถ่วงหรือความดัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
free fall | การตกแบบเสรี, การตกของวัตถุในแนวดิ่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกโดยไม่มีแรงอื่นมากระทำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
gravitation | ความโน้มถ่วง, ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทำต่อวัตถุและวัตถุนั้นอยู่ในสนามโน้มถ่วงของโลก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
universal gravitation constant | ค่าคงตัวโน้มถ่วงสากล, ค่าคงตัวของแรงดึงดูดระหว่างมวล เป็นค่าเดียวกันเสมอไม่ว่าวัตถุที่ดึงดูดกันจะเป็นวัตถุใดๆ ก็ตามในเอกภพซึ่งมีค่าเท่ากับ 6.67 x 10-11 นิวตัน เมตร2 กิโลกรัม-2 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
weight | น้ำหนัก, แรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทำต่อวัตถุ น้ำหนักเป็นปริมาณเวกเตอร์ น้ำหนักของวัตถุหาได้จากผลคูณระหว่างมวลกับความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วง ณ ตำแหน่งของวัตถุ น้ำหนักมีหน่วยเป็นนิวตัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
gravitational potential energy | พลังงานศักย์โน้มถ่วง, พลังงานศักย์ของวัตถุเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
hydro energy | พลังน้ำ, พลังงานที่สะสมอยู่ในน้ำในรูปของพลังงานศักย์โน้มถ่วง เช่น พลังน้ำในเขื่อนกักเก็บน้ำ เมื่อน้ำไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ พลังงานศักย์จะเปลี่ยนเป็นพลังงานจลน์ ซึ่งจะใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ เช่น หมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้า หรือมีโทษ เช่น ทำความเสียหายให้แก่บ้านเรือน พืช [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
gravitational force | แรงโน้มถ่วง, แรงดึงดูด เนื่องจากมวล เช่น แรงดึงดูดระหว่างโลกกับวัตถุ แรงดึงดูดระหว่างโลกกับมวลทั้งสองและระยะทางระหว่างมวล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
centre of gravity (cg) | ศูนย์ถ่วง, จุดเสมือนที่แรงโน้มถ่วงกระทำต่อมวลทั้งหมดของวัตถุ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
tropic movement | ทรอปิกมูฟเมนต์, การเคลื่อนไหวของพืชทีเกิดจากการเจริญเติบโตอย่างมีทิศทางโดยทิศทางของการเคลื่อนไหวถูกกำหนดโดยทิศทางของปัจจัยภายนอกที่มากระตุ้น เช่น การตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของโลก(gravitropism) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
erosion | การกร่อน, กระบวนการทางธรรมชาติที่เศษหิน ดิน ถูกพัดพาไปจากเดิมเนื่องจากแรงน้ำแรงลม แรงโน้มถ่วงโลก และธารน้ำแข็ง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
soil erosion | การกร่อนของดิน, การพังทลายของดิน, กระบวนการทางธรรมชาติที่ทำให้เปลือกโลกสึกกร่อนโดยที่ดินชั้นบนถูกพัดพาไปจากที่เดิมเนื่องจากกระแสลม น้ำและแรงโน้มถ่วงของโลก การทำลายป่าเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดการสึกกร่อนและพัดพาของดิน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
escape velocity | ความเร็วหลุดพ้น, ความเร็วต่ำสุดของวัตถุที่สามารถหลุดพ้นจากแรงโน้มถ่วงของโลก หรือดวงจันทร์ หรือดาวเคราะห์อื่น ๆ เช่น ยานอวกาศจะต้องมีความเร็วอย่างน้อย 11, 200 เมตรต่อวินาที จึงจะเคลื่อนที่หลุดพ้นออกจากสนามความโน้มถ่วงบริเวณผิวโลกได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
field | เขตข้อมูล, สนาม, คอมพิวเตอร์: หน่วยย่อยที่สุดที่ข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทนข้อมูลใดๆ ที่ต้องการเก็บในฐานข้อมูล ฟิสิกส์: ปริมาณที่ทำให้เกิดแรงกระทำต่อวัตถุ สนามมีสามชนิด ได้แก่ สนามโน้มถ่วง สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก สนามโน้มถ่วงทำให้เกิดแรงโน้มถ่วงกระทำต่อมวลของวัตถ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
gravitational acceleration | ความเร่งโน้มถ่วง, ความเร่งในการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี ความเร่งโน้มถ่วงเป็นปริมาณเวกเตอร์ ความเร่งโน้มถ่วงบริเวณผิวโลกมีค่าประมาณ 9.8 เมตรต่อวินาที2 (ดู free fall ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
gravitational field | สนามโน้มถ่วง, ดู field ประกอบ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
projectile motion | การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์, การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวเส้นโค้งพาราโบลา ประกอบด้วยการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งและแนวระดับที่เป็นอิสระต่อกัน การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเป็นการเคลื่อนที่ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลกเพียงแรงเดียว หรือการตกแบบเสรี ซึ่งมีความเร่งคงตัวมีค่าเท่ากับความเร่งโน้มถ่วง ส่วนการเค [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Gravitation | ความโน้มถ่วง [การแพทย์] |
Gravitational Acceleration | แรงโน้มถ่วง [การแพทย์] |
acceleration of gravity | ความเร่งโน้มถ่วง [ดาราศาสตร์] |