ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: โขง, -โขง- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ โขง | (n) Mekong, Syn. แม่น้ำโขง, Example: ไปเที่ยวครั้งนี้ผมจะพาพวกคุณข้ามโขงไปฝั่งโน้นด้วย, Count Unit: สาย, Thai Definition: ชื่อแม่น้ำที่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของไทย | โขง | (adj) rancid, See also: stinking, foul-smelling, Syn. โขลง, Example: เธอได้กลิ่นโขงเหมือนอย่างที่ฉันได้กลิ่นอยู่ตอนนี้ไหม, Thai Definition: ที่มีกลิ่นเหม็นอย่างเนื้อเน่าที่ค้างหลายวัน | โขง | (n) Mekong River, Syn. แม่น้ำโขง, Example: ไปเที่ยวครั้งนี้ผมจะพาพวกคุณข้ามโขงไปฝั่งโน้นด้วย, Thai Definition: ชื่อแม่น้ำที่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของไทย | ตะโขง | (n) gavial, See also: gharial, large horned crocodile, Tomistoma schlegelii, Syn. จระเข้ปากกระทุงเหว, Example: ตะโขงอยู่ในน้ำกร่อยมีอยู่เฉพาะภาคใต้, Thai Definition: ชื่อจระเข้ ในวงศ์ Crocodylidae มีขนาดใหญ่มาก ขนาดยาวได้ถึง 4.5 เมตร ตัวสีน้ำตาลแดงมีลายน้ำตาลเข้ม ปากเรียวยาวคล้ายปากปลาเข็ม หางแบนใหญ่ใช้ว่ายน้ำ ชอบอาศัยตามป่าเลนชายน้ำกร่อย |
|
| โขง | ว. มีกลิ่นเหม็นอย่างเนื้อเน่าที่ค้างหลายวัน, โขลง ก็ว่า. | ตะโขง | น. ชื่อจระเข้ชนิด Tomistoma schlegelii Müller ในวงศ์ Crocodylidae ขนาดใหญ่กว่าจระเข้ทั่วไป ปากเล็กเรียวยาวคล้ายปากปลากระทุงเหวแต่งอนขึ้นด้านบนเล็กน้อย ตัวสีนํ้าตาลแดงมีลายสีนํ้าตาลเข้ม หางแบนใหญ่ใช้ว่ายนํ้า อาศัยตามป่าเลนชายนํ้ากร่อย ในประเทศไทยพบเฉพาะทางภาคใต้เท่านั้น, จระเข้ปากกระทุงเหว ก็เรียก. | ขง | น. กรุง, บางทีเขียนเป็น โขง. | โขลง ๒ | (โขฺลง) ว. มีกลิ่นเหม็นอย่างเนื้อเน่าที่ค้างหลายวัน, โขง ก็ว่า. | จระเข้ | (จอระ-) น. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน มีหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Crocodylidae ปากและหัวยาว ปลายปากนูนสูงขึ้นเป็นช่องเปิดของรูหายใจ เรียกว่า ก้อนขี้หมา ลำตัวกลมยาว หนังเป็นเกล็ดแข็งทั้งตัว หางแบนยาวทางข้างใช้โบกว่ายนํ้า มักหากินในนํ้า อาศัยบริเวณป่าริมน้ำ ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ จระเข้บึง จระเข้นํ้าจืด หรือจระเข้สยาม ( Crocodylus siamensisSchneider) จระเข้นํ้าเค็ม อ้ายเคี่ยม หรืออ้ายทองหลาง ( C. porosus Schneider) และจระเข้ปากกระทุงเหวหรือตะโขง [ Tomistoma schlegelii (S. Müller) ], ตะเข้ หรือ อ้ายเข้ ก็เรียก, อีสานเรียก แข้, ปักษ์ใต้เรียก เข้ | จระเข้ปากกระทุงเหว | ดู ตะโขง. | ดอน | เรียกเกาะในแม่นํ้า ว่า ดอน เช่น ดอนโขง | เทพา | น. ชื่อปลานํ้าจืดขนาดใหญ่ชนิด Pangasius sanitwongsei H.M. Smith ในวงศ์ Pangasiidae ไม่มีเกล็ด ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย รูปร่างคล้ายปลาสวาย เว้นแต่มีปลายก้านครีบอันแรกของครีบหลัง ครีบอก และครีบท้องยื่นยาวเป็นเส้น ทั้งยังมีจุดสีขาวเด่นอยู่บนลำตัวเหนือครีบอก พบอาศัยอยู่ในเขตแม่นํ้าเจ้าพระยาและแม่นํ้าโขง เมื่อโตเต็มที่มีขนาดยาวกว่า ๓ เมตร. | เทโพ | น. ชื่อปลานํ้าจืดขนาดใหญ่ชนิด Pangasius larnaudii Bocourt ในวงศ์ Pangasiidae ไม่มีเกล็ด ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย รูปร่างคล้ายปลาสวาย แต่มีจุดสีดำเด่นอยู่บนลำตัวเหนือครีบอก และพื้นลำตัวสีเรียบไม่มีลายพาดตามยาว พบชุกชุมตามแม่นํ้าในเขตภาคกลางและลุ่มแม่นํ้าโขง ขนาดยาวได้ถึง ๑.๓ เมตร. | นวลจันทร์ ๑ | น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Cirrhinus microlepis Sauvage ในวงศ์ Cyprinidae ลำตัวยาวเรียว แบนข้างเล็กน้อย ตาเล็ก ปากเล็กอยู่ตํ่าที่ปลายหัว ไม่มีหนวด เกล็ดเล็ก เฉพาะในแนวเส้นข้างตัวมีประมาณ ๖๐ เกล็ด ลำตัวด้านหลังสีนํ้าตาลเทา ข้างท้องสีขาว ปลายครีบหลังและครีบท้องสีชมพู อาศัยตามลำนํ้าในเขตที่ลุ่มภาคกลางไปจนถึงแม่นํ้าโขง ขนาดยาวได้ถึง ๖๕ เซนติเมตร, นวลจันทร์น้ำจืด ก็เรียก, อีสานเรียก โพง, เขมรเรียก พรวน. | บึก | น. ชื่อปลานํ้าจืดขนาดใหญ่ชนิด Pangasianodon gigas Chevey ในวงศ์ Pangasiidae ไม่มีเกล็ด ตัวยาว แบนข้างเล็กน้อย ท้องกลม มีหนวดสั้นมากข้างละ ๑ เส้นที่มุมปาก ไม่มีฟัน ครีบหลังตอนที่ ๒ เป็นแผ่นเนื้อขนาดเล็ก ลำตัวด้านหลังสีเทาอมนํ้าตาลแดง ด้านท้องสีขาว มีในลำแม่นํ้าโขง ขนาดยาวได้ถึง ๓ เมตร. | ม้า ๓ | น. ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Boesemania microlepis (Bleeker) ในวงศ์ Sciaenidae ลำตัวกว้างมากในแนวอกและท้อง แล้วเรียวเล็กลงมากที่คอดหาง ก้านครีบแข็งก้านที่ ๒ ของครีบก้นใหญ่มาก ครีบหางมีปลายแหลม ครีบท้องมีปลายเป็นเส้นสั้น ๆ เกล็ดในแนวเส้นข้างตัวเด่นชัดเจนและเรียงต่อเลยไปจนสุดปลายของครีบหาง ลำตัวและหัวมีสีเงินหรือเทาอ่อน ด้านหลังมีลายสีเทาเอียงอยู่ตามแถวของเกล็ด พบทุกลุ่มนํ้า ขนาดยาวได้ถึง ๙๐ เซนติเมตร, เขตลุ่มแม่นํ้าโขงเรียก กวาง เขตลุ่มแม่นํ้าบางปะกงเรียก หางกิ่ว. | ระแด | น. คนชาติข่าพวกหนึ่ง ในตระกูลชวา–มลายู อยู่ทางฝั่งซ้ายแม่นํ้าโขง. | โลมา ๒ | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับ Cetacea อันดับย่อย Odontoceti มีหลายชนิด หลายวงศ์ ลำตัวใหญ่ บางชนิดปลายจะงอยปากยื่นแหลม บางชนิดหัวกลมมน มีฟัน หางแบนเพื่อช่วยในการพุ้ยน้ำ มักมีครีบหลัง ๑ ครีบ หายใจด้วยปอด อาศัยอยู่ในทะเล เช่น โลมาขาวเทา [ Sotalia plumbea (Cuvier) ] ในวงศ์ Stenidae โลมาหัวขวด (Delphinus delphis Linn.) โลมาอิระวดี [ Orcaella brevirostris (Gray) ] อาศัยอยู่ได้ในน้ำจืด เช่น ทะเลสาบในจังหวัดพัทลุง และแม่น้ำโขง ทั้ง ๒ ชนิดอยู่ในวงศ์ Delphinidae โลมาหัวบาตร [ Neophocaena phocaenoides (Cuvier) ] ในวงศ์ Phocaenidae, ปลาโลมา ก็เรียก. | สถานี | ฐานส่งกำลังบำรุงของกองทัพเรือที่ประจำอยู่บนบก มีฐานใหญ่ ๆ ๓ แห่ง เรียกว่า สถานีทหารเรือ คือ สถานีทหารเรือกรุงเทพ สถานีทหารเรือสงขลา สถานีทหารเรือพังงา, ฐานส่งกำลังบำรุงหน่วยย่อยสำหรับการปฏิบัติการตามลำแม่น้ำโขง เรียกว่า สถานีเรือ เช่น สถานีเรืออำเภอเชียงคาน สถานีเรืออำเภอโขงเจียม สถานีเรืออำเภอธาตุพนม | เสือตอ | น. ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Datnioides pulcher (Bleeker) และ D. undecimradiatusRoberts & Kottelat ในวงศ์ Lobotidae ลำตัวกว้าง แบนข้าง แนวสันหลังโค้งมากกว่าแนวสันท้อง หัวแหลม ปากกว้างพอประมาณเชิดขึ้นเล็กน้อย จะงอยปากอยู่ต่ำกว่าระดับตา เกล็ดเล็กเป็นแบบเกล็ดหนาม ส่วนท้ายของครีบหลัง ครีบก้นและครีบหางมีขอบกลม ปลายครีบท้องยื่นยาวเป็นเส้นสั้น ๆ พื้นลำตัวและครีบมีสีเทาจนถึงเหลืองและชมพูหม่น หรือน้ำตาลหม่นหรือคล้ำ ที่สำคัญคือมีแถบใหญ่สีดำหรือน้ำตาลเข้มพาดขวางอยู่บนหัว ลำตัว และคอดหาง รวม ๖ แถบ สำหรับชนิดแรกที่เคยพบในลุ่มน้ำภาคกลางและแม่น้ำโขง มีประวัติทางพฤติกรรมว่ามักหลบอยู่ตามตอไม้จมน้ำ ปัจจุบันปลาในธรรมชาติแทบไม่มีให้พบกันอีก ส่วนอีกชนิดหนึ่งพบเฉพาะในแม่น้ำโขง ทั้ง ๒ ชนิดคล้ายกันมากและมีขนาดยาวได้ถึง ๔๐ เซนติเมตร, ลาด หรือ เสือ ก็เรียก. |
| Mekong Committee | คณะกรรมการแม่น้ำโขง [TU Subject Heading] | Mekong River | แม่น้ำโขง [TU Subject Heading] | Mekong River Region | ภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง [TU Subject Heading] | Mekong River Watershed | ลุ่มน้ำโขง [TU Subject Heading] | Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] | Agreement on Commercial Navigation on Lancang-Mekong River | ความตกลงว่าด้วยการเดินเรือพาณิชย์ในแม่น้ำโขงตอนบน " ระหว่างไทย ลาว พม่า และจีน (มณฑลยูนนาน) ได้ลงนามเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2543 และมีผลบังคับใช้ในเดือนเมษายน 2544 " [การทูต] | ASEAN-Mekong Basin Development Cooperation | ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาอาเซียน-ลุ่มน้ำโขง เป็นกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ และจีน เพื่อพัฒนาลุ่มน้ำโขง [การทูต] | Agency for Coordinating Mekong Tourism Activities | ศูนย์ประสานงานโครงการด้านการท่องเที่ยวของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง [การทูต] | Coordinated Mekong Ministerial Initiative against Trafficking | การประชุมระดับรัฐมนตรีของประเทศไทยในอนุภูมิภาค แม่น้ำโขง เพื่อต่อต้านการค้ามนุษย์ [การทูต] | Ganga-Suwanabhumi-Mekong Cooperation | ความร่วมมือลุ่มน้ำคงคา-สุวรรณภูมิ-ลุ่มน้ำโขง ประกอบด้วย ไทย-ลาว-พม่า-เวียดนาม-กัมพูชา และอินเดีย เป็นกรอบความร่วมมือที่เสนอในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับ รัฐมนตรีต่างประเทศประเทศคู่เจรจา ครั้งที่ 33 เมื่อ 28 กรกฎาคม 2543 โดยมีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2543 [การทูต] | Greater Mekong Subregion Economic Cooperation | กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง หรือ กรอบความร่วมมือหกเหลี่ยมเศรษฐกิจ " ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน (มณฑล ยูนนาน) มีธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) เป็นกลไกประสานความร่วมมือ โดยริเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 ประกอบด้วยความร่วมมือ 8 สาขา ได้แก่ คมนาคมขนส่ง พลังงาน สื่อสาร โทรคมนาคม พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ท่องเที่ยว สิ่งแวดล้อม และการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ การค้า และการลงทุน " [การทูต] | Mekong - Ganga Cooperation | ความร่วมมือแม่นำโขง - คงคา ริเริ่มขึ้นเมื่อกรกฎาคม พ.ศ.2543 ที่กรุงเทพฯ มีสมาชิก 6 ประเทศ คือกัมพูชา อินเดีย ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจและสร้างความเชื่อมโยง ระหว่างประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงกับประเทศในลุ่มแม่น้ำคงคาในด้านการ ท่องเที่ยว การศึกษาวัฒนธรรม และคมนาคมขนส่งโดยอาศัยปัจจัยทางเศรษฐกิจที่เกื้อกูลกันและความสัมพันธ์ที่ ดีระหว่างกัน และเป็นยุทธศาสตร์เชื่อมโยง GMS (จีน) ไปสู่อินเดีย [การทูต] | Mekong Institute | สถาบันความร่วมมือเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจลุ่มน้ำโขง [การทูต] | Mekong River Commission | คณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง [การทูต] | Subregional Environmental Monitoring Information System | ศูนย์ข้อมูลติดตามด้านสิ่งแวดล้อมในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง [การทูต] | thalweg | ร่องน้ำลึก " ร่องทางเดินของน้ำในท้องน้ำของแม่น้ำซึ่งเป็นส่วนที่ลึกที่สุดของแม่น้ำสาย หนึ่ง ๆ เป็นลักษณะทางธรรมชาติ ซึ่งรัฐที่เกี่ยวข้องอาจพิจารณานำมาใช้เป็นเส้นเขตแดนระหว่างประเทศได้ เช่น ร่องน้ำลึกเป็นเส้น เขตแดนในแม่น้ำโขงระหว่างไทยกับลาว " [การทูต] | Lower Mekong Basin Development Program | โครงการพัฒนาลุ่มน้ำโขงตอนใต้ [การแพทย์] |
| | เหล้าแม่โขง | [lao Maēkhōng] (n, exp) EN: Mekhong whiskey FR: Mékhong [ m ] | แม่โขง | [Maē Khōng] (tm) EN: Mae Khong | แม่น้ำโขง | [Maēnām Khōng] (n, prop) EN: Mekong ; Mekong River FR: Mékong [ m ] | นกเด้าลมแม่น้ำโขง | [nok daolom maēnam Khōng] (n, exp) EN: Mekong Wagtail FR: Bergeronnette du Mékong [ f ] ; Bergeronnette de Veasna [ f ] |
| | mekong | (แม่โขง) n. แม่น้ำแม่โขง |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |