Absorber | สารดูดกลืน, วัสดุใดๆ ที่สามารถดูดกลืนหรือลดความเข้มของ<em>รังสีชนิดก่อไอออน</em> ตัวอย่างของสารดูดกลืน<em>นิวตรอน</em> เช่น แฮฟเนียม หรือ แคดเมียม ใช้เป็นแท่งควบคุมใน<em>เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์</em> สารดูดกลืนรังสีแกมมา เช่น คอนกรีตและเหล็ก ใช้เป็นวัสดุกำบังรังสีในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แผ่นกระดาษหรือแผ่นโลหะบางสามารถดูดกลืนหรือลดความเข้มของรังสีแอลฟาได้ [นิวเคลียร์] |
Alpha particle | อนุภาคแอลฟา, อนุภาคที่มีประจุบวก ประกอบด้วย<em>โปรตอน</em> 2 อนุภาค และ<em>นิวตรอน</em> 2 อนุภาค ซึ่งเหมือนกับนิวเคลียสของฮีเลียม-4 มีความสามารถในการทะลุทะลวงต่ำ ผ่านอากาศได้เพียง 2-3 เซนติเมตร และไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นกระดาษหรือผิวหนังได้ อนุภาคแอลฟาเกิดจาก<em>การสลาย</em>ของสารกัมมันตรังสีบางชนิด เช่น ยูเรเนียม และทอเรียม [นิวเคลียร์] |
Alpha ray | รังสีแอลฟา, กระแสของ<em>อนุภาคแอลฟา</em> หรืออาจใช้เรียกแทนอนุภาคแอลฟาได้ <br>(ดู Alpha particle ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Boron Neutron Capture Therapy | บีเอ็นซีที, รังสีรักษาโดยการจับยึดนิวตรอน, การรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งบางชนิด โดยการฉีดสารประกอบโบรอนเสถียรให้ไปสะสมในเซลล์มะเร็ง แล้วฉายรังสีนิวตรอนไปที่บริเวณนั้น อะตอมโบรอนจะจับยึดนิวตรอนไว้กลายเป็นโบรอนกัมมันตรังสี ซึ่งจะสลายพร้อมกับปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมาทำลายเซลล์มะเร็งนั้น (ดู neutron capture ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Cosmic radiation | รังสีคอสมิก, รังสีจากอวกาศซึ่งเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลก มีองค์ประกอบโดยประมาณ ได้แก่ โปรตอนร้อยละ 87 รังสีแอลฟาร้อยละ 11 รังสีอนุภาคหนักที่มีเลขเชิงอะตอมระหว่าง 4 ถึง 26 ร้อยละ 1 และ อิเล็กตรอนร้อยละ 1 [นิวเคลียร์] |
Decay, radioactive | การสลาย(กัมมันตรังสี), การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิวไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์] |
Disintegration, radioactive | การสลายกัมมันตรังสี, การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิวไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์] |
Elementary particles | อนุภาคมูลฐาน, อนุภาคชั้นสามัญที่สุดของสสารและรังสี ส่วนใหญ่มีอายุสั้นและไม่ปรากฏในภาวะปกติ (ยกเว้น อิเล็กตรอน นิวตรอน โปรตอน และนิวทริโน) เดิมหมายถึงอนุภาคใดๆ ที่ไม่สามารถแบ่งย่อยต่อไปได้ หรืออนุภาคที่เป็นองค์ประกอบของอะตอม ปัจจุบันหมายถึงอนุภาคโปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน มีซอน มิวออน แบรีออน และปฏิยานุภาคของอนุภาคเหล่านี้ รวมทั้งโฟตอน แต่ไม่รวมอนุภาคแอลฟาหรือดิวเทอรอน [นิวเคลียร์] |
Radionuclide | นิวไคลด์กัมมันตรังสี, นิวไคลด์ที่ไม่เสถียร มีการสลายเพื่อลดระดับพลังงานโดยการปลดปล่อยรังสี เช่น แอลฟา บีตา แกมมา ออกมา นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่ปรากฏอยู่ในธรรมชาติ และที่มาจากการผลิตของมนุษย์มีมากกว่า 1, 300 ชนิด ตัวอย่างนิวไคลด์กัมตรังสีที่มีในธรรมชาติ เช่น $ _{ 92 }^{ 235 } $U $ _{ 92 }^{ 238 } $U $ _{ 19 }^{ 40 } $K และที่มนุษย์ผลิตขึ้นเช่น $ _{ 27 }^{ 60 } $Co $ _{ 43 }^{ 99 } $Tc $ _{ 95 }^{ 241 } $AM [นิวเคลียร์] |
Radioactive decay | การสลายกัมมันตรังสี, การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิ วไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์] |
Radiation, nuclear | รังสีนิวเคลียร์, การแผ่รังสีของนิวเคลียส, รังสีในรูปของอนุภาคหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แผ่ออกมาจากนิวเคลียสของนิวไคลด์กัมมันตรังสี เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา <br>(ดู radiation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
radiation | รังสี, การแผ่รังสี, พลังงานที่แผ่จากต้นกำเนิดรังสีผ่านอากาศหรือสสาร ในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น ความร้อน แสงสว่าง คลื่นวิทยุ รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือเป็นกระแสของอนุภาคที่เคลื่อนที่เร็ว เช่น รังสีคอสมิก รังสีแอลฟา รังสีบีตา อนุภาคนิวตรอน อนุภาคโปรตอน [นิวเคลียร์] |
Nuclear radiation | รังสีนิวเคลียร์, การแผ่รังสีของนิวเคลียส, รังสีในรูปของอนุภาคหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แผ่ออกมาจากนิวเคลียสของนิวไคลด์กัมมันตรังสี เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา <br>(ดู radiation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Ionizing radiation | รังสีชนิดก่อไอออน, รังสีหรืออนุภาคใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนได้ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในตัวกลางที่ผ่านไป เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ อนุภาคนิวตรอน อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูง โปรตอนที่มีความเร็วสูง รังสีเหล่านี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต <br>(ดู beta particle ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Alpha fetoproteins | แอลฟา ฟีโตโปรตีน [TU Subject Heading] |
Alpha-galactosidase | แอลฟา-กาแลคโตซิเดส [TU Subject Heading] |
Alpha-thalassemia | แอลฟา-ธาลัสซีเมีย [TU Subject Heading] |
radioactive nuclide | นิวไคลด์กัมมันตรังสี, นิวไคลด์ที่ไม่เสถียร มีการสลายเพื่อลดระดับพลังงานโดยการปลดปล่อยรังสี เช่น แอลฟา บีตา แกมมา ออกมา นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่ปรากฏอยู่ในธรรมชาติ และที่มาจากการผลิตของมนุษย์มีมากกว่า 1, 300 ชนิด ตัวอย่างนิวไคลด์กัมตรังสีที่มีในธรรมชาติ เช่น $ _{ 92 }^{ 235 } $U $ _{ 92 }^{ 238 } $U $ _{ 19 }^{ 40 } $K และที่มนุษย์ผลิตขึ้นเช่น $ _{ 27 }^{ 60 } $Co $ _{ 43 }^{ 99 } $Tc $ _{ 95 }^{ 241 } $AM [นิวเคลียร์] |
Alpha (x- ray) | รังสีแอลฟา, Example: มีอำนาจการทะลุทะลวงน้อย กระดาษก็สามารถกั้นรังสี alpha ไว้ได้ รังสีนี้ส่งไปได้ในอากาศเป็นระยะทางเพียง 8 ซม. เท่านั้น อย่างไรก็ดี อันตรายจะมีได้ถ้าสารกัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกาย ด้วยสูดเข้าไป กลืนกิน หรือเข้าทางแผล มิใช่แต่เพียงสารไปตกค้างอยู่ในร่างกายเท่านั้น รังสีที่แผ่ออกมาจะทำลายเนื้อเยื่อภายในด้วยนิวลคาย์ที่ให้รังสี alpha คือ radium, plutonium, thonium, uranium ฯลฯ [สิ่งแวดล้อม] |
ionisingradiation | รังสีชนิดก่อไอออน, คือ พลังงานในรูปแม่เหล็กไฟฟ้า หรืออนุภาครังสีใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนได้ ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในตัวกลางที่ผ่านไป เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ อนุภาคนิวตรอน อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูง โปรตรอนที่มีความเร็วสูง รังสีชนิดนี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต [พลังงาน] |
Adrenergic Alpha Receptor Agonists | สารต่อต้านตัวรับแอลฟาแอดรีเนอร์จิก [การแพทย์] |
Adrenergic Alpha Receptor Blockaders | สารสกัดกั้นตัวรับแอลฟาแอดรีเนอร์จิก, สารสกัดกั้นหน่วยรับความรู้สึกแอลฟาอะดรีเนอร์จิก [การแพทย์] |
Alpha 1 Globulin | สารแอลฟา 1 โกลบูลิน [การแพทย์] |
Alpha Cells | แอลฟาเซลล์ [การแพทย์] |
Alpha Fetoproteins | แอลฟา ฟีโตโปรตีน, สาร [การแพทย์] |
Alpha Globulins | แอลฟ่าโกลบูลิน; แอลฟา โกลบูลิน, สาร; แอลฟาโกลบุลิน [การแพทย์] |
Alpha Macroglobulins | แอลฟา มาโครโกลบุลิน; แอลฟา มาโครโกลบูลิน, สาร [การแพทย์] |
Alpha Olefin Sulfonate | แอลฟาโอลีฟินซัลโฟเนต [การแพทย์] |
Alphabromonaphthalene | แอลฟาโบรโมแนฟทาลีน [การแพทย์] |
Alphavirus | แอลฟาไวรัส [การแพทย์] |
Fetuins | แอลฟาฟีโตโปรตีน, สาร, แอลฟาฟีโตโปรตีน [การแพทย์] |
alpha cell [ α - cell ] | แอลฟาเซลล์, กลุ่มเซลล์กลุ่มเล็ก ๆ ในไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ทำหน้าที่สร้างกลูคากอน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
alpha phylloquinone [ α - phylloquinonel ] | แอลฟาฟิลโลควิโนน, วิตามิน K เป็นวิตามินที่จำเป็นสำหรับร่างกาย ถ้าร่างกายขาดวิตามินชนิดนี้จะทำให้เลือดแข็งตัวช้าเมื่อมีบาดแผลเกิดขึ้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
alpha sulphur [ α - sulphur ] | กำมะถันแอลฟา, ดู rhombic sulphur [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
radioactivity | กัมมันตภาพรังสี, การสลายหรือการแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่องของนิวเคลียสบางชนิดโดยการปล่อยอนุภาคแอลฟา(รังสีแอลฟา) อนุภาคบีตา(รังสีบีตา) และรังสีแกมมา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
radiation | การแผ่รังสี, พลังงานการแผ่รังสี, 1. พลังงานที่เคลื่อนที่ในรูปของคลื่อนแม่เหล็กไฟฟ้าหรือโฟตอน 2. ลำอนุภาคโดยเฉพาะอนุภาคแอลฟาหรือบีตาจากสารกัมมันตรังสี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
gamma ray [ γ-ray ] | รังสีแกมมา, รังสีชนิดหนึ่งที่แผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีความยาวคลื่นสั้นมาก มีอำนาจในการผ่านทะลุสูงกว่ารังสีแอลฟาและรังสีบีตา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
cosmic rays | รังสีคอสมิก, รังสีที่มีพลังงานสูงจากนอกโลก ประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ส่วนมากเป็นโปรตอน และมีอิเล็กตรอน รังสีแอลฟาและนิวเคลียสของธาตุบางธาตุปนอยู่ด้วย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
beta ray [ β-ray ] | รังสีบีตา, รังสีชนิดหนึ่งที่แผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี ธาตุกัมมันตรังสีบางธาตุแผ่รังสีบีตาที่เป็นอิเล็กตรอน แต่ธาตุกัมมันตรังสีบางธาตุแผ่รังสีบีตาที่เป็นโพซิตรอน มีอำนาจการทะลุผ่านสูงกว่ารังสีแอลฟา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
alpha ray [ α - ray ] | รังสีแอลฟา, รังสีชนิดหนึ่งแผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี เป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าบวก คือ เป็นนิวเคลียสของ อะตอมของธาตุฮีเลียม ประกอบด้วย 2 โปรตอน และ 2 นิวตรอน มีอำนาจทะลุผ่านน้อยมาก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Glucagonoma | เนื้องอกที่เซลล์แอลฟา 2, [การแพทย์] |