มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ปลากระดี่ | [Pla-Kra-Di] (n) Gourami (อินโดนีเซีย: Sepat, อีสาน: กระเดิด) เป็นสกุลปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในสกุล Trichogaster ในวงศ์ย่อย Luciocephalinae ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae มีรูปร่างโดยทั่วไป คือ แบนข้างคล้ายใบไม้ หัวมีขนาดเล็ก ปลายปากค่อนข้างแหลม ปากมีขนาดเล็ก มีครีบอกคู่แรกเป็นเส้นยาวใหญ่เห็นได้ชัด ซึ่งเรียกว่า "ตะเกียบ" เป็นอวัยวะช่วยในการสัมผัส มีก้านครีบแขนง 2-4 ก้าน ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 3-9 ก้าน และก้านครีบแขนง 7-11 ครีบ ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยว 9-14 ก้าน และมีก้านครีบแขนง 25-40 ก้าน ครีบท้องและครีบก้นต่อยาวเป็นแถวเดียวกัน โดยที่ไม่มีเส้นข้างลำตัว ปลายครีบหางไม่เว้ามากนัก[ 1 ] เป็นปลาที่มีการแพร่กระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยพบได้แทบทุกประเภทของแหล่งน้ำจืด มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 15 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มที่ พบทั้งสิ้น 4 ชนิด ได้แก่ ปลากระดี่มุก (Trichogaster leerii) ปลากระดี่นาง (Trichogaster microlepis) ปลาสลิด (Trichogaster pectoralis) ปลากระดี่หม้อ (Trichogaster trichopterus) Image: |
|
| แหล่งน้ำ | (n) water resource | แหล่งน้ำ | (n) water source, See also: source of water, Example: อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษจัดเป็นอุตสาหกรรมชนิดหนึ่งที่สร้างมลภาวะต่อแหล่งน้ำได้รุนแรงที่สุด | วิศวกรรมแหล่งน้ำ | (n) water resources engineering, Thai Definition: สาขาวิชาหนึ่งของวิศวกรรมศาสตร์ |
| กังหันน้ำชัยพัฒนา | น. ชื่อเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอยแบบหนึ่ง เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียชนิดหนึ่ง มีลักษณะการทำงานคล้ายกังหันวิดน้ำขึ้นเหนือผิวน้ำเพื่อเติมอากาศหรือออกซิเจนในแหล่งน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึ้นแล้วทรงมอบหมายมูลนิธิชัยพัฒนา ศึกษาวิจัยเพื่อทำต้นแบบพร้อมสนับสนุนงบประมาณให้กรมชลประทานสร้าง นำไปใช้งานตามแหล่งน้ำเสียทั่วประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ ๓๑๒๗ และองค์กรนักประดิษฐ์โลกจากประเทศเบลเยียมได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลในฐานะที่ทรงสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม. | ก้าง ๒ | น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Channa orientalis (Schneider) ในวงศ์ Channidae คล้ายปลาช่อนซึ่งเป็นปลาสกุลเดียวกัน แต่ตัวเล็กกว่า เว้นแต่ปลาก้างนั้นเกล็ดข้างตัวมีราว ๔๑-๔๕ เกล็ด ขอบครีบต่าง ๆ เป็นสีส้ม มักพบหลบอยู่ตามแหล่งน้ำตื้นที่มีใบไม้จมอยู่ ขนาดยาวได้ถึง ๒๐ เซนติเมตร, ขี้ก้าง ก็เรียก. | กินเปี้ยว | น. ชื่อนกกระเต็นชนิด Halcyon chloris (Boddaert) ในวงศ์ Alcedinidae ปากแบนข้างสีดำปลายแหลม ขากรรไกรบนสีดำ ขากรรไกรล่างสีเทาอมชมพู ลำตัวด้านบนสีน้ำเงินแกมเขียว คอและท้องสีขาว หากินตามป่าชายเลน แต่อาจพบได้ในแหล่งน้ำจืดทั่วไป กินปูเปี้ยว ปลา และสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด. | จับมือ | ก. ทักทายตามธรรมเนียมตะวันตกโดยบุคคล ๒ คน ประสานมือขวาของกันและกันแล้วเขย่า, เรียกอาการที่ครูสอนโดยจับมือผู้เริ่มเรียนให้ทำตามในการสอนบางวิชาเช่น ฟ้อนรำ ดนตรี หรืองานฝีมือบางอย่าง เช่น จับมือรำ จับมือตีระนาด, โดยปริยายหมายถึงร่วมมือกัน เช่น ชาวบ้านจับมือกันพัฒนาแหล่งน้ำ. | ช้อนหอย ๒ | น. ชื่อนกขนาดใหญ่หลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Threskiornithidae ปากยาวโค้ง ปลายแหลม หากินในนํ้าตื้นตามแหล่งน้ำจืด กินปลา ปู และสัตว์นํ้าเล็ก ๆ ในประเทศไทยมี ๔ ชนิด คือ ช้อนหอยขาวหรือกุลาขาว [ Threskiornis melanocephalus (Latham) ] ช้อนหอยดำ [ Pseudibis davisoni (Hume) ] ช้อนหอยใหญ่ [ P. gigantea (Oustalet) ] และช้อนหอยดำเหลือบ [ Plegadis falcinellus (Linn.) ], กุลา หรือ ค้อนหอย ก็เรียก. | น้ำเงิน ๓ | น. ชื่อปลาน้ำจืดไม่มีเกล็ดพวกปลาเนื้ออ่อน ชนิด Phalacronotus apogon (Bleeker) หรือ Micronema apogon (Bleeker) ในวงศ์ Siluridae ปากเชิดขึ้น หนวดที่ขากรรไกรบนยาวไม่ถึงขอบแผ่นปิดเหงือกคล้ายปลาแดง แต่ไม่มีหนวดที่ขากรรไกรล่าง หรือมีเป็นเพียงตุ่มขนาดเล็กมาก และมีกลุ่มฟันที่กระดูกฐานจมูกเรียงเป็นแถบรูปโค้ง ลำตัวมีสีเงินคล้ายตะกั่ว ไม่มีครีบหลัง ครีบก้นมักมีขอบสีดำคล้ำ อาศัยอยู่ตามแม่น้ำ ลำคลอง หรือแหล่งน้ำนิ่งขนาดใหญ่ที่มีความเป็นธรรมชาติ กินสัตว์อื่น ขนาดยาวได้ถึง ๗๗ เซนติเมตร, เนื้ออ่อน นาง หรือ ชะโอน ก็เรียก. | ปลาแดง | น. ชื่อปลานํ้าจืดไม่มีเกล็ด พวกปลาเนื้ออ่อน ชนิด Phalacronotus bleekeri (Günther)หรือ Micronema bleekeri (Günther) ปากเชิดขึ้น มีหนวด ๒ คู่ หนวดที่ขากรรไกรบนยาวไม่ถึงขอบแผ่นปิดเหงือก หนวดที่ขากรรไกรล่างสั้นมากคล้ายปลาน้ำเงิน แต่มีกลุ่มฟันที่กระดูกฐานจมูกเรียงเป็นแถบมีมุมแหลมคล้ายหัวลูกศร ลำตัวมีสีเงินอมแดงหรือชมพู ไม่มีครีบหลัง ครีบก้นใสไม่มีสี อาศัยอยู่ตามแม่น้ำลำคลองหรือแหล่งน้ำนิ่งขนาดใหญ่ที่มีความเป็นธรรมชาติ กินสัตว์อื่น, เนื้ออ่อน นาง ชะโอน หรือ เกด ก็เรียก. | เป็ดหงส์ | น. ชื่อนกเป็ดนํ้าขนาดใหญ่ชนิด Sarkidiornis melanotos (Pennant) วงศ์ย่อย Anatinae ในวงศ์ Anatidae หัว คอ อก และท้องสีขาวประดำ ปีกสีเขียวเป็นมัน ตัวผู้ในช่วงฤดูผสมพันธุ์มีหงอนอยู่เหนือขากรรไกรบน ตัวเมียขนาดเล็กกว่าตัวผู้และสีหม่นกว่า อาศัยอยู่ทั้งในแหล่งน้ำทั่วไป และลำธารในป่า ทำรังตามโพรงไม้. | ผิดน้ำ | อาการที่ปลาหายใจไม่สะดวกเมื่อปล่อยลงไปในแหล่งน้ำที่แปลกไป ในคำว่า ปลาผิดน้ำ. | พญาปากกว้าง | น. ชื่อนกขนาดเล็กหลายชนิด ในวงศ์ Eurylaimidae ปากใหญ่รูปสามเหลี่ยม อ้าปากได้กว้าง สีของปากฉูดฉาด สะท้อนแสง หัวโต ลำตัวอ้วนป้อม อาศัยอยู่ในป่าทึบ ทำรังด้วยใบไม้และใยแมงมุมเป็นรูปกระเปาะแขวนตามกิ่งไม้ใกล้แหล่งน้ำ กินแมลง สัตว์ขนาดเล็ก และผลไม้ เช่น พญาปากกว้างสีดำ [ Corydon sumatranus (Raffles) ] พญาปากกว้างท้องแดง [ Cymbirhynchus macrorhynchos (Gmelin) ] พญาปากกว้างหางยาว [ Psarisomus dalhousiae (Jameson) ]. | แมงแงว | น. ชื่อสัตว์น้ำขาปล้องหลายชนิด หลายสกุล ในวงศ์ Streptocephalidae ขนาดยาว ๑.๘ เซนติเมตร ลักษณะทั่วไปคล้ายไรน้ำเค็ม ลำตัวใส มีถุงไข่ที่ท้อง ๑ ถุง ไข่จม กินสาหร่าย พบตามแหล่งน้ำจืดโดยเฉพาะในช่วงต้นฤดูฝนเขตภูเขาในจังหวัดขอนแก่น หนองบัวลำภู หนองคาย นำมาใช้ปรุงอาหาร เช่น แกงอ่อมหรือห่อหมก ตามธรรมชาติเป็นอาหารของสัตว์น้ำ ที่พบบ่อย เช่น ชนิด Streptocephalus sirindhornae Sanoamuang, Murugan, Weekers & Dumont. ซึ่งมีหางสีแดงเข้ม, แมงหางแดง แมงอ่อนช้อย หรือ ไรน้ำจืด ก็เรียก. | ยาง ๑ | น. ชื่อนกขนาดกลางหลายชนิด ในวงศ์ Ardeidae ปากยาวแหลมตรง ส่วนใหญ่ตัวสีขาว บางชนิดสีดำ นํ้าตาล หรือเขียว ขายาว นิ้วกลางที่หันไปทางด้านหน้ามีเล็บหยักคล้ายซี่หวี ทำรังแบบง่าย ๆ ด้วยกิ่งไม้บนต้นไม้ พุ่มไม้ หรือตามซอกหิน หากินตามชายนํ้า โดยส่วนใหญ่เป็นแหล่งน้ำจืด บางชนิดหากินตามชายทะเล กินปลา แมลง และสัตว์นํ้าขนาดเล็ก เช่น ยางควาย [ Bubulcus ibis (Linn.) ] ยางเขียว [ Butorides striatus (Linn.) ] ยางไฟหัวดำ [ Ixobrychus sinensis (Gmelin) ] ยางเปีย [ Egretta garzetta (Linn.) ], กระยาง ก็เรียก. | ไรน้ำ | น. ชื่อสัตว์น้ำขาปล้องหลายชนิดหลายวงศ์ ในอันดับ cladocera รูปร่างแตกต่างกันไป โดยทั่วไปลำตัวกลมคล้ายไข่ ขนาดยาว ๐.๔-๑.๘ มิลลิเมตร มีแผ่นเปลือกคลุมประกบซ้ายขวา ท้ายสุดของส่วนท้องเป็นหนามแหลมยื่นและแยกเป็น ๒ แฉก ปากเล็ก กินสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก พบตามแหล่งน้ำจืดทั่วไป เช่น ไรแดง [ Moina macrocopa (Straus) ] ในวงศ์ Daphnidae ไรน้ำกร่อย (Diaphanosomaspp.) ในวงศ์ Sididae, ลูกไร ก็เรียก. | สร้อย ๒ | (ส้อย) น. ชื่อปลานํ้าจืดหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Cyprinidae มีพฤติกรรมรวมกันเป็นฝูงในลำน้ำใหญ่ในฤดูนํ้า และว่ายทวนนํ้าขึ้นไปหากินหรือสืบพันธุ์ในแหล่งน้ำที่ไหลเอ่อนองหรือท่วมขังในตอนกลางและปลายฤดูน้ำหลาก ส่วนใหญ่ลำตัวสีขาวเงินและมีจุดคลํ้าหรือจุดดำบนเกล็ดจนเห็นเป็นเส้นสายหลายแถบพาดตามยาวอยู่ข้างตัว, กระสร้อย ก็เรียก. | สวาย ๒ | (สะหฺวาย) น. ชื่อปลานํ้าจืดขนาดใหญ่ชนิด Pangasius hypophthalmusSauvage ในวงศ์ Schilbeidae ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย ไม่มีเกล็ด มีหนวดสั้น ๆ ๒ คู่ ลักษณะคล้ายปลาเทโพแต่ไม่มีจุดสีดำบนลำตัวเหนือครีบอกหลังแผ่นปิดเหงือก อาศัยอยู่ตามแหล่งน้ำจืดทั่วไป ขนาดยาวได้ถึง ๑.๖ เมตร. | สามเหลี่ยม ๒ | น. ชื่องูพิษขนาดกลางชนิด Bungarus fasciatus (Linn.) ในวงศ์ Elapidae ยาวประมาณ ๑.๓ เมตร มีลายเป็นปล้องสีดำสลับเหลือง หลังเป็นสันแหลมทำให้ลำตัวมีลักษณะคล้ายรูปสามเหลี่ยม ปลายหางทู่ พบตามที่ลุ่มใกล้แหล่งน้ำทุกภาคของประเทศไทย ออกหากินในเวลากลางคืน กินกบ เขียด และงูขนาดเล็ก มีพิษรุนแรงมาก, ก้านปล้อง ตามธาร หรือ ทับธาร ก็เรียก. | สายรุ้ง | น. ชื่องูน้ำขนาดกลางหลายชนิด ในวงศ์ Colubridae ยาว ๕๐-๑๑๕ เซนติเมตร เช่น สายรุ้งธรรมดา [ Enhydris enhydris (Schneider) ] ด้านข้างลำตัวมีเส้นสีชมพูอมเทาสลับม่วงตามความยาวลำตัวสะท้อนแสงคล้ายสายรุ้ง ลำตัวกลมป้อม แยกจากส่วนหางซึ่งเรียวเล็กกว่าลำตัวเห็นได้ชัด มักหากินตามแหล่งน้ำ กินปลาและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก มีพิษอ่อน ชนิดอื่น เช่น สายรุ้งลาย [ E. jagorii (Peters) ] สายรุ้งดำ [ E. smithii (Boulenger) ]. | หิ่งห้อย | น. ชื่อแมลงพวกด้วงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Lampyridae ลำตัวเป็นรูปทรงกระบอก ด้านปลายของส่วนท้องมีปล้องทำแสง ๒ ปล้องในเพศผู้ และ ๑ ปล้องในเพศเมีย โดยแสงเกิดจากสารลูซิเฟอรินทำปฏิกิริยากับออกซิเจน ความถี่และช่วงของแสงนั้นแตกต่างกันแล้วแต่ชนิด บางชนิดตัวเมียไม่มีปีก ที่พบมากตามแหล่งน้ำจืด เช่น ชนิด Luciola aquatilis Thaneharoen ที่พบตามป่าชายเลน เช่น ชนิด Pteroptyx malaccae (Gorham), ทิ้งถ่วง แมลงแสง หรือ แมลงไฟ ก็เรียก. | เหนี่ยง | (เหฺนี่ยง) น. ชื่อด้วงปีกแข็งชนิด Hydrophilus bilineatus Macleay ในวงศ์ Hydrophilidae ลำตัวรูปไข่ แบนเล็กน้อย ตัวยาวประมาณ ๓.๕ เซนติเมตร สีดำตลอดตัว มีหนามแหลมที่ด้านล่างของอกยื่นยาวไปถึงส่วนท้อง อาศัยหากินและเติบโตอยู่ตามแหล่งน้ำจืด, โดยปริยายใช้เรียกผู้ที่มีผิวดำคล้ำโดยธรรมชาติหรือเพราะถูกแดดถูกลมมาก ว่า ตัวดำเป็นเหนี่ยง. | ออก ๒ | น. ชื่อเหยี่ยวขนาดใหญ่ชนิด Haliaeetus leucogaster (Gmelin) ในวงศ์ Accipitridae หัวและด้านล่างของลำตัวสีขาว ปีกสีเทา ทำรังแบบง่าย ๆ ด้วยกิ่งไม้บนชะง่อนหินหรือหน้าผา หากินใกล้แหล่งน้ำ กินปลาและงูทะเล. | อีลุ้ม ๑ | น. ชื่อนกขนาดกลางชนิด Gallicrex cinerea (Gmelin) ในวงศ์ Rallidae ขาค่อนข้างยาว นิ้วยาว ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้สีน้ำตาลอมดำ กะบังหน้าผากสีแดง ตัวเมียสีนํ้าตาล ไม่มีกะบัง นอกฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้และตัวเมียมีสีขนคล้ายกันเป็นสีน้ำตาล อาศัยและหากินตามทุ่งนาและแหล่งน้ำทุกภาค ทำรังตามซุ้มกอหญ้า กินพืชและสัตว์น้ำขนาดเล็ก ๆ. |
| Thematic Mapper | ระบบแยกข้อมูลภาพจากดาวเทียมเป็นภาพหลายช่วงคลื่น, ระบบแยกข้อมูลภาพจากดาวเทียมเป็นภาพหลายช่วงคลื่น เพื่อแยกแยะลักษณะต่างๆบนพื้นดิน โดยทั่วไปจะใช้ ๗ ช่วงคลื่น และทำให้สามารถจำแนกชนิดของวัตถุบนพื้นดินได้งาน เช่น ดิน พืชพรรณ ความแข็งแรงของพืช ชนิดของพืชพรรณ ปริมาณของมวลชีวภาพ (biomass) จำแนกแหล่งน้ำ บอกความชื้นของดิน แยกระหว่างเมฆกับหิมะ แสดงแหล่งพลังงานความร้อน และจำแนกชนิดของหิน [Assistive Technology] | Artificial satellites in water resources development | ดาวเทียมในการพัฒนาแหล่งน้ำ [TU Subject Heading] | Industrial water supply | แหล่งน้ำทางการอุตสาหกรรม [TU Subject Heading] | Integrated water development | การพัฒนาแหล่งน้ำแบบบูรณาการ [TU Subject Heading] | Views on water resources development | ทัศนะเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งน้ำ [TU Subject Heading] | Water resources development | การพัฒนาแหล่งน้ำ [TU Subject Heading] | Water-supply | แหล่งน้ำ [TU Subject Heading] | Water-supply engineering | วิศวกรรมแหล่งน้ำ [TU Subject Heading] | Water-supply, Agricultural | แหล่งน้ำทางการเกษตร [TU Subject Heading] | Water-supply, Rural | แหล่งน้ำชนบท [TU Subject Heading] | Flowing Water | แหล่งน้ำไหล, Example: ลักษณะของระบบนิเวศน้ำจืดที่มีพื้นผิวค่อนข้าง แคบ มีทิศทาง การเคลื่อนไหวของน้ำอย่างเด่นชัด และเป็นระบบนิเวศที่มีการ แลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างน้ำกับอากาศได้เป็นอย่างดี บริเวณแหล่งน้ำไหล จึงมักไม่ขาดแคลนออกซิเจน และการรักษาสภาพสมดุลจะดำเนินไปได้ ดีกว่าแหล่งน้ำนิ่ง มักจะมีการติดต่อกับแหล่งน้ำอื่น เช่น ทะเล (Sea) สภาพแวดล้อมของแหล่งน้ำไหลมีความแตกต่างกัน 2 แบบ คือ Rapid Zone และ Pool Zone [สิ่งแวดล้อม] | Standing Water | แหล่งน้ำนิ่ง, Example: สระน้ำ หนอง (คือ แหล่งน้ำอยู่ตามป่า และทุ่ง) บึง (คือ แอ่งน้ำขนาดใหญ่ มีน้ำขังตลอดปี) และทะเลสาบ (คือ ห้วงน้ำใหญ่คล้ายบึง แต่โตกว่า) เป็นลักษณะของระบบนิเวศน้ำจืดที่มีพื้นผิวหน้ากว้าง ซึ่งส่วนใหญ่เป็น แหล่งน้ำที่แยกออกจากแหล่งน้ำอื่น แต่หลายแห่งอาจรับน้ำจากแม่น้ำ ลำคลองเป็นครั้งคราว เป้นระบบนิเวศที่มีโอกาสเสียสมดุลได้ง่ายหากได้รับของเสียลงไปในระบบ แต่อย่างไรก็ตาม พืชน้ำ (Aquatic Plants) ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำนิ่งจะเป็นกลไกการปรับสมดุลโดยการนำแร่ธาตุของเสีย นั้นไปใช้เพื่อการเจริญเติบโต ขณะเดียวกันก็ให้ออกซิเจนที่ได้รับจากกระบวนการสังเคราะห์แสง ซึ่งจะช่วยทำให้แหล่งน้ำนิ่งมีสภาพแวดล้อมดีขึ้น สามารถแบ่งขอบเขตของแหล่งน้ำนิ่งตามหลักนิเวศวิทยาได้ 3 เขต คือ Littoral Zone, Limnetic Zone และ Profundal Zone [สิ่งแวดล้อม] | Surface Water Source | แหล่งน้ำผิวดิน, Example: แม่น้ำ ลำคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อ่างเก็บน้ำ และแหล่งน้ำสาธารณะอื่นๆ ที่อยู่ภายในผืนแผ่นดิน ซึ่งหมายความรวมถึงแหล่งน้ำสาธารณะที่อยู่ภายในผืนแผ่นดินบนเกาะด้วย แต่ไม่รวมถึงน้ำบาดาล และในกรณีที่แหล่งน้ำนั้นอยู่ติดกับทะเล ให้หมายความถึงแหล่งน้ำที่อยู่ภายในปากแม่น้ำหรือปากทะเลสาบ [สิ่งแวดล้อม] | Receiving Water | แหล่งน้ำรองรับ, Example: แหล่งน้ำตามธรรมชาติ ทะเลสาบหรือมหาสมุทร ที่ใช้รองรับน้ำเสีย ทั้งที่ผ่านการบำบัดแล้วและยังไม่ได้รับการบำบัด [สิ่งแวดล้อม] | Public Water Resourse | แหล่งน้ำสาธารณะ, Example: รวมถึงท่อระบายน้ำสาธารณะด้วย [สิ่งแวดล้อม] | wetlands | พื้นที่ชุ่มน้ำ หมายถึง พื้นที่ลุ่ม พื้นที่ราบลุ่ม พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ พื้นที่ฉ่ำน้ำ มีน้ำท่วม มีน้ำขัง พื้นที่พรุ พื้นที่แหล่งน้ำ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยอาจเป็นแหล่งน้ำนิ่งและน้ำไหล ทั้งที่เป็นน้ำจืด น้ำกร่อยและน้ำเค็ม รวมไปถึงพื้นที่ชายทะเล และพื้นที่ของทะเล ในบริเวณซึ่งเมื่อน้ำลดลงต่ำสุดมีความลึกของระดับน้ำไม่เกิน 6 เมตร ซึ่งภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน้ำ ประเทศต่าง ๆ สามารถที่จะกำหนดให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญ ระหว่างประเทศ เช่น ประเทศไทยได้ประกาศให้บริเวณเขตพรุควนขี้เสียน และบริเวณเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อย เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำ นอกจากนี้ พื้นที่ชุ่มน้ำบางแห่งอาจอยู่ตามพรมแดนระหว่างประเทศด้วย [การทูต] | irrigation | การชลประทาน, การพัฒนาแหล่งน้ำ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการเกษตร เช่น การสร้างเขื่อนฝาย คูคลองส่งน้ำ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| แหล่งน้ำ | [laeng nām] (n, exp) EN: water source ; source of water FR: source (d'eau) [ f ] | แหล่งน้ำ | [laeng nām] (n, exp) EN: water resource FR: ressource en eau [ f ] |
| stonefly | (n, name) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: plecoptera | reserve | (n) แหล่งหรือสิ่งที่มีสำรองอยู่ เช่น oil reserve แหล่งน้ำมันสำรอง, gas reserve แหล่งก๊าซธรรมชาติสำรอง, coal reserve แหล่งถ่านหินสำรอง |
| causeway | (n) ถนนหรือทางที่ข้ามแหล่งน้ำ | crossing | (n) การเดินทางข้ามแหล่งน้ำ | dowse | (vi) ใช้ไม้กระทุ้งหาแหล่งน้ำ, See also: สำรวจแหล่งน้ำ / เกลือแร่, Syn. prospect | lagoon | (n) ทะเลสาบ (มักจะเชื่อมกับแหล่งน้ำที่ใหญ่กว่า), See also: บึงขนาดใหญ่, Syn. laguna | oil field | (n) แหล่งน้ำมัน | palisades | (n) หน้าผา (ที่เป็นแนวตามแหล่งน้ำ), See also: แนวผาสูงชัน | riverhead | (n) ต้นน้ำ, See also: แหล่งน้ำ | springhead | (n) ต้นน้ำ, See also: แหล่งน้ำ, Syn. fountainhead | tongue | (n) แหลม (แผ่นดิน), See also: แผ่นดินที่ยื่นไปในแหล่งน้ำ | water | (n) แหล่งน้ำเช่น แม่น้ำ ลำธาร ทะเลสาบ ทะเล | water witch | (n) ผู้ใช้ไม้คลำหาแหล่งน้ำใต้ดินได้, Syn. dowser, water diviner, water finder | waterfinder | (n) ผู้ที่สามารถใช้ด้ามไม้คลำหาแหล่งน้ำใต้ดินได้, Syn. dowser, water diviner, water witch | waterthrush | (n) นกชนิดหนึ่งที่ชอบอาศัยบริเวณแหล่งน้ำ | wellhouse | (n) แหล่งน้ำ, See also: ตาน้ำ | wellspring | (n) ต้นน้ำ, See also: ตาน้ำ, แหล่งน้ำ, Syn. fountainhead |
| divining rod | n. ไม้กายสิทธิ์'ที่ผู้เลื่อมใสใช้คลำหาทองคำ สายแร่ แหล่งน้ำและอื่น ๆ, Syn. dowsing rod | fountainhead | n. น้ำพุ, แหล่งน้ำ, แหล่งสำคัญ | headspring | n. ต้นน้ำ, แหล่งน้ำ, แหล่งกำเนิด, Syn. fountainhead, source | water | (วอ'เทอะ) n. น้ำ, น้ำแร่, แหล่งน้ำ, See also: waters น้ำแม่น้ำหรือทะเลสาบ, บริเวณทะเล vt. ทำให้ชื้น, ทำให้เปียก, พรมด้วยน้ำ, ทำให้เจือจาง, ผสมน้ำ, ทำให้แวววาว, ทำให้เป็นลายคลื่น vi. หลั่งน้ำ, ดื่มน้ำ, adj. เกี่ยวกับน้ำ -Phr. above water พ้นลำบาก waterer | water witch | n. ผู้ที่สามารถใช้ด้ามไม้คลำหาแหล่งน้ำได้, ชื่อนกเป็ดน้ำชนิดหนึ่ง | water witching | n. การหาแหล่งน้ำใต้ดินด้วยด้ามไม้, See also: water withcer n. | watercourse | (วอ'เทอะคอร์ส) n. ทางน้ำ, สายน้ำ, ลำธาร, แหล่งน้ำไหลเฉพาะฤดู | wellhead | (เวล'เฮดฺ) n. แหล่ง, แหล่งน้ำบ่อ, แหล่งแร่, Syn. fountainhead, wellhouse | wellhouse | (เวล'เฮาซฺ) n. แหล่ง, แหล่งน้ำบ่อ, ตาน้ำ | wellspring | (เวล'สพริง) n. ต้มน้ำ, ตาน้ำ, แหล่งน้ำ, แหล่งที่อุดมสมบูรณ์, Syn. fount, well |
| oasis | (n) โอเอซิส, แหล่งน้ำกลางทะเลทราย | water | (n) น้ำ, น่านน้ำ, แหล่งน้ำ, น้ำเพชร, ชนิด, ชิ้น, ของเหลว |
| mayfly | (n, name, uniq) ชีปะขาว หรือชีผะขาวก็เรียก ชีผ้าขาวก็เรียก หรือเมย์ฟลายส์ (mayflies) ชื่อวิทยาศาสตร์ เอพฮีมีรอบเทอรา (Ephemeroptera) ตัวขนาดเล็กถึงกลาง ปีกบางมีเส้นมากมาย ปีกคู่แรกใหญ่กว่าคู่หลัง ตัวเมียวางไข่ในน้ำ ตัวอ่อนรูปร่างเรียวยาวอาศัยในน้ำนาน 1-2 ปี ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นแมลงโตเต็มวัย มีปีก ชอบเล่นไฟ มันมีอายุเพียง 1-2 วันเท่านั้น ไม่กินอาหาร ผสมพันธุ์แล้วตาย ฤดูกาลวางไข่อยู่ในราวกลางเดือนเมษายน พบใกล้แหล่งน้ำ บ่อน้ำ ลำธาร ตัวแก่เต็มที่จะลอกคราบออกพร้อมบินขึ้นจากผิวน้ำไปยังแสงสว่าง เป็นการบินขึ้นมาดูโลกครั้งแรกและครั้งสุดท้ายในชีวิต | Stoneflies | (n) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: Stonefly, Plecoptera, Stonefly, Syn. Plecoptera |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |