ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เอนไซม์, -เอนไซม์- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ เอนไซม์ | (n) enzyme, Example: ต่อมที่อยู่ในระบบทางเดินอาหารจะทำหน้าที่หลั่งเอนไซม์ เพื่อการย่อย, Count Unit: ชนิด, Thai Definition: สารอินทรีย์ที่มีโครงสร้างซับซ้อนประเภทโปรตีน มีปรากฏอยู่ในเซลล์ที่มีชีวิตของพืชและสัตว์ ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีของกรรมวิธีต่างๆ ทางชีววิทยา, Notes: (อังกฤษ) |
|
| เอนไซม์ | น. สารอินทรีย์ที่มีโครงสร้างซับซ้อนประเภทโปรตีน มีปรากฏอยู่ในเซลล์ที่มีชีวิตของพืชและสัตว์ ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีของกรรมวิธีต่าง ๆ ทางชีววิทยา เช่น การย่อยอาหาร การหมัก. | น้ำดี | น. ของเหลวสีเขียว สร้างจากตับแล้วเก็บไว้ในถุงน้ำดี มีหน้าที่ทำให้ไขมันขนาดใหญ่แตกเป็นก้อนเล็ก ๆ เพื่อให้เอนไซม์สามารถย่อยได้ง่ายขึ้น. | มอลโทส | น. นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทไดแซ็กคาไรด์ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๖๐ °-๑๖๕ °ซ. องค์ประกอบเป็นกลูโคส ๒ โมเลกุลเชื่อมกัน เกิดขึ้นเนื่องจากเอนไซม์ไดแอสเทส ซึ่งมีในข้าวมอลต์ ทำปฏิกิริยากับแป้ง มีรสหวานน้อยกว่านํ้าตาลทราย. |
| proteolytic | ๑. -สลายโปรตีน๒. เอนไซม์ย่อยโปรตีน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | substrate | ตัวถูกเปลี่ยน (วิทยาเอนไซม์), ซับสเตรต [ มีความหมายเหมือนกับ substratum ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | substrate | ๑. ที่ซึ่งสิ่งมีชีวิตขึ้น [ มีความหมายเหมือนกับsubstratum ]๒. สารตั้งต้น [ ในปฏิกิริยาเอนไซม์ ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | substratum | ๑. ตัวถูกเปลี่ยน (วิทยาเอนไซม์) [ มีความหมายเหมือนกับ substrate ]๒. ชั้นใต้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | azymia | ภาวะไร้เอนไซม์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | antienzyme | สารต้านเอนไซม์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | amylase | เอนไซม์ย่อยแป้ง, แอมีเลส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | coenzyme | โคเอนไซม์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | ferment | ๑. หมัก๒. เอนไซม์ [ มีความหมายเหมือนกับ enzyme ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | enzyme | เอนไซม์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | enzyme activity | กิจกรรมของเอนไซม์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | enzymology | วิทยาเอนไซม์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | enzymolysis | การสลายโดยเอนไซม์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | enzyme | เอนไซม์ [ มีความหมายเหมือนกับ ferment ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Enzyme | เอนไซม์ โปรตีนที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Chemical inhibitor | สารยับยั้งเอนไซม์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Angiotensin-converting enzyme inhibitors | สารยับยั้งแอนจิโอเท็นซิน-คอนเวิร์ตติง เอนไซม์ [TU Subject Heading] | Enzyme-linked immunosorbent assay | เอนไซม์-ลิงค์ อิมมูโนซอร์เบนท์ แอสเซย์ [TU Subject Heading] | Enzymes | เอนไซม์ [TU Subject Heading] | Enzymology | เอนไซม์วิทยา [TU Subject Heading] | Immunoenzyme techniques | เทคนิคทางอิมมูโนเอนไซม์ [TU Subject Heading] | NAD (Coenzyme) | เอนเอดี (ตัวกระตุ้นเอนไซม์) [TU Subject Heading] | Proteolytic enzymes | เอนไซม์โพรทิโอลิททิค [TU Subject Heading] | Deproteinised or Deproteinized natural rubber | ยางธรรมชาติที่เตรียมโดยการกำจัดโปรตีนที่มีอยู่ในยางธรรมชาติออกไป สามารถทำได้ทั้งในรูปของน้ำยางและยางแห้ง วิธีที่นิยมใช้ในการกำจัดโปรตีน คือ การย่อยสลายโปรตีนด้วยเอนไซม์ (proteolytic enzymes) เช่น เอนไซม์ปาเปอิน (papain) หรืออาจใช้ด่าง (alkaline hydrolysis) หรือใช้น้ำร้อนในการกำจัดโปรตีน [เทคโนโลยียาง] | Acetylcholinesterase | เอ็มไซม์อะเซติลโคลีนเอสเทอเรส, อะเซทิลโคลิเนสเทอเรส, อาซีติลคอลีนเอสเทอเรส, อะซีติลโคลีนเอสเตอเรส, เอนไซม์, อะซีติย์ลโคลีนเอสเตอเรส, น้ำย่อยเซทีลโคลีนเอสเทอเรส, เอ็นซัยม์อะเซทิลโคลีนเอสเตอเรส [การแพทย์] | Acetyltransferases | อะซีติลทรานสเฟอเรส, เอนไซม์; อะซีติย์ลทรานสเฟอเรส [การแพทย์] | Achylia Gastrica | ไม่มีกรดและเอนไซม์ย่อยอาหาร [การแพทย์] | Acid Phosphatase | แอซิคฟอสฟาเทส; แอซิดฟอสฟาเตส; สารทำย่อยฟอสฟาเทสชนิดกรด; กรดฟอสฟาเทส; เอนไซม์ซึ่งเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาการใช้กลูโคส; แอซิดฟอสฟาเตส, เอนไซม์; เอ็นไซม์แอซิดฟอสฟาเทส [การแพทย์] | Adenylate Cyclase | เอนไซม์แอดินี, เอ็นไซม์อะดีนิลซัยเคลส [การแพทย์] | Alkaline Phosphatase | แอลคาไลน์ ฟอสฟาเตส, เอนไซม์; อัลคาไลน์ฟอสฟาเทส; เอ็นซัยม์อัลคาไลน์ฟอสฟาเตส; แอลคาไลน์ฟอสฟาเทส; แอลคาไลน์ฟอสฟาเตส; อัลคาไลน์ฟอสฟาเตส; แอลคาไลน์ฟอสฟาเทสต์; แอลคาไลฟอสฟาเทส; สารทำย่อยสร้างโดยเซลล์สร้างกระดูกและตับ; แอลคาไลน์ฟอสฟาเทส; อัลคาไลน์ฟอสฟาเตส; แอลคาไลน์ฟอสฟาเตส; อัลคาลัยน์ฟอสฟาเตส [การแพทย์] | Amidases | เอนไซม์อะมิเดส [การแพทย์] | Aminotransferases | อะมิโนทรานสเฟอเรส, เอนไซม์; อะมิโนทรานสเฟอเรส [การแพทย์] | Amylases | อะมิย์เลส, อะมัยเลส, ซีรั่มอามิเลส, เอ็นซัยม์อะมัยเลส, เอนไซม์อไมเลส, อะมิเลส, อมัยเลส, อมายเลส [การแพทย์] | Amylases, Pancreatic | เอนไซม์อะมิเลสจากตับอ่อน [การแพทย์] | Ananus Comosus | เอนไซม์จากสับปะรด [การแพทย์] | Apoenzymes | อะโปเอ็นไซม์, อโปเอ็นไซม์, อะโปเอนไซม์, อโพเอนไซม์ [การแพทย์] | Arginase | อาร์จิเนส, เอนไซม์; อาร์จิเนส [การแพทย์] | Asparaginase | แอสปาราจิเนส, เอนไซม์, เอ็นซัยม์แอสพาราจิเนส [การแพทย์] | Autolysin | เอนไซม์ออโตไลซิน [การแพทย์] | Beta-Lactamases | บีตา-แลคตาเมส, เอนไซม์;เบตา-แลคตาเมส [การแพทย์] | Bromelins | เอนไซม์โบรเมลิน [การแพทย์] | Carbohydrases | เอนไซม์ที่ย่อยคาร์โบไฮเดรท [การแพทย์] | Carbonic Anhydrase | เอนไซม์คาร์บอนิคแอนไฮเดรส, คาร์บอนิคแอนไฮเดรส, เอ็นไซม์คาร์บอนิคแอนไฮเดรส, เอ็นซัยม์คาร์บอนนิคแอนฮัยเดรส [การแพทย์] | Carboxypeptidases | คาร์บอกซิเพปติเดส, เอนไซม์คาร์บอคซิเปปติเดส, คาร์บอกซิเปปทิเดส, เอนไซม์คาร์บอกซีเพปติเดส, เอ็นไซม์คารบอคซี่เปปติเดส, คาร์บอกซีเปปติเดส [การแพทย์] | Catalase | เอนไซม์คาตาเลส, คาทาเลส, คาตาเลส, เอ็นซัยม์คาตาเลส [การแพทย์] | Cholinesterases | โคลีนเอสเทอเรส, เอนไซม์;เอนไซม์โฆลีนเอสเตอเรส;โคลีนเอสเตอเรส;เอ็นซัยม์โฆลีนเอสเตอเรส;โคลีนเอสเตอเรส;คอลีนเอสเทอเรส;เอ็นซัยม์โคลีนเอสเตอเรส;เอนไซม์ในเนื้อเยื่อสมองชนิดหนึ่ง [การแพทย์] | Chymotrypsin | ไคโมทริปซิน, เอนไซม์;คัยโมทริย์ปซิน;เอ็นไซม์ไคโมตริปซิน;ไคโมทริพซิน;ไคโมทริปซิน [การแพทย์] | Coenzyme A | โคเอนไซม์เอ, โคเอ็นซัยม์เอ, โคเอนไซม์เอ, โคเอ็นไซม์เอ [การแพทย์] | Coenzyme Cocarboxylase | โคเอนไซม์โคคาร์บอกซีเลส [การแพทย์] | Coenzymes | โคเอ็นซัยม์, โคเอนไซม์, โคเอ็นไซม์, โคเอนซัยม์, สารพวกโคเอนไซม์ [การแพทย์] | Detergents, Enzymatic | สารชะล้างที่ผสมเอนไซม์ [การแพทย์] | DNA Polymerases | ดีเอ็นเอโพลีเมอเรส, เอนไซม์ดีเอ็นเอโพลีเมอเรส [การแพทย์] | Endonucleases | เอนไซม์เอ็นโดนิวคลีเอส [การแพทย์] | Enzymatic Method | วิธีตรวจด้วยเอนไซม์, วิธีทดสอบที่ใช้เอ็นซัยม์, วิธีใช้หลักการทางด้านเอ็นไซม์ [การแพทย์] | Enzyme Activation | เอนไซม์, การทำให้ออกฤทธิ์, เอ็นซัยม์, การปลุกฤทธิ์ [การแพทย์] | Enzyme Activity | ความสามารถในการทำงานของเอ็นไซม์, การทำงานของเอนไซม์, การทำงานของเอนไซม์ [การแพทย์] | Enzyme Induction | การเหนี่ยวนำเอ็นไซม์, การเหนี่ยวนำการสังเคราะห์เอนไซม์, การเหนี่ยวนำทางเอนไซม์ [การแพทย์] | Enzyme Reference Materials | วัตถุมาตรฐานอ้างอิงของเอนไซม์ [การแพทย์] | Enzyme Turnover | การผันเวียนของเอนไซม์ [การแพทย์] | Enzymes | เอนไซม์, น้ำย่อย, เอ็นไซม์, สารน้ำย่อย, เอ็นซัยม์, สารทำย่อย [การแพทย์] | Enzymes, Active | เอนไซม์ที่มีฤทธิ์, เอ็นซัยม์ที่ออกฤทธิ์ได้ [การแพทย์] | Enzymes, Alkylphosphorylated | เอนไซม์แอลคิลฟอสฟอริเลต [การแพทย์] | Enzymes, Allosteric | เอ็นซัยม์ตัวควบคุม, เอ็นไซม์ควบคุมเมตตะโบลิสม, อัลโลสเตริคเอ็นไซม์, เอนไซม์อัลโลสเตริก, อัลโลสเตริคเอ็นไซม์ [การแพทย์] | Enzymes, Coupling | เอนไซม์ควบคู่ [การแพทย์] |
| เอนไซม์ | [ēnsāi] (n) EN: enzyme FR: enzyme [ f, m ] |
| | acetolase | เอนไซม์ที่กระตุ้นการเปลี่ยนแปลงแอลกอฮอลล์เป็น acetic acid | acetylcholinesterase | เอนไซม์ที่กระตุ้น hydrolysis ของ acetyl choline | acetyltransferase | เอนไซม์ที่กระตุ้นการย้าย acetyl group | adenase | เอนไซม์ที่พบในม้ามและตับอ่อนที่ทำให้ adenine เปลี่ยนเป็น hypoxanthine และ ammonia | aminoacidopathy | โรคที่เกิดจากความผิดปกติในการย่อยของเอนไซม์ใน metabolic pathway ชองกรดอมิโนแอซิด | aminoacylase | เอนไซม์ในไตซึ่งกระตุ้นการเปลี่ยนแปลง hippuric acid เป็น benzoic acid และ glycine | enzyme | (เอน'ไซมฺ) n. เอนไซม์, ตัวหมัก, โปรตีนที่คัดหลั่งจากเซลล์มีฤทธิ์กระตุ้นทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในสารอื่น ๆ โดยตัวมันเองไม่เปลี่ยนแปลง | ferment | (เฟอ'เมินทฺ) n. เชื้อหมัก, เชื้อฟู, เอนไซม์ (enzyme) , การหมัก, การบูด, การเร่ง, ความไม่สงบ, ความสับสนอลหม่าน vt. (เฟอเมนทฺ') หมัก, ปลุกปั่น, กระตุ้น. vi. เกิดการหมัก, เกิดการบูด, มีอารมณ์ตื่นเต้น, เกิดความอลหม่าน., See also: fermentability n. -fermentable adj. | lysosome | เป็นถุงเล็กภายในบรรจุด้วยเอนไซม์ hydrolytic enzyme ทำหน้าที่เป็นระบบย่อยอาหารภายในเซลล์ | mitochondria | เป็นแหล่งสร้างพลังงานของอเซลล์มีโครงสร้างเป็นรูปยาวรีประกอบด้วยผนัง 2 ชั้นคล้ายเซลล์ภายในมีเอนไซม์ที่จำเป็นต่อขบวนการสันดาบ โดยนำสารอาหารมาทำปฏิกริยากับออกซิเจน ได้เป็นพลังซึ่งเก็บสะสมไว้ในรูปพลังงานสูง (ATB) ซึ่งจะถูกใช้ไปในการทำงานของเซลล์ | testosterone | เป็นฮอร์โมนเพศชายมีหน้าที่ 2 ประการสำคัญคือ 1. กระตุ้น secondary sex charactor ผลข้อนี้เรียกว่า androgenic-action 2. ควบคุม metabolism ของร่างกาย กระตุ้นให้มีการสังเคราะห์โปรตีนเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะเอนไซม์ซึ่งช่วยในการทำงานของเซลล์เพิ่มขึ้น ผลข้อนี้เรียกว่า anabolic hormone |
| sap | (uniq) seminal acid phosphatase = เอนไซม์ของน้ำอสุจิซึ่งมีสภาพเป็นกรด (SAP) | toxins | (n) สารพิษไม่สามารถทำลายโครงสร้างของเนื้อเยื่อได้เหมือนเอนไซม์ แต่มีผลต่อเมทาบิลิซึมใน photoplasm ของเซลล์โดยตรง, See also: Vivotoxin, Pathotoxin, Syn. Phytotoxins | trypticase soy agar | [วุ้น-ถั่ว-เหลือง-ทริป-ติ-เคส] (n, name) วุ้นถั่วเหลืองทริปติเคส (Trypticase soy agar) หรือเรียกสั้นๆว่า (TSA) เป็นอาหารเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย ประกอบด้วยเคซีนและถั่วเหลืองที่ถูกย่อยด้วยเอนไซม์ซึ่งเป็นแหล่งของกรดอะมิโนและธาตุอาหารอื่นๆ มีเดกซ์โตสเป็นแหล่งคาร์บอน มีโซเดียมคลอไรด์เพื่อรักษาแรงดันออสโมติก และไดโพแทสเซียมฟอสเฟตเป็นบัฟเฟอร์ อาหารนี้อาจจะเพิ่มเลือดหรือยาปฏิชีวนะตามแต่ความต้องการในการเลี้ยงเชื้อ อาหาร 1 ลิตรประกอบไปด้วย 15 g (ทริปโตน) 5 g (ซอยโตน — ถั่วเหลืองที่ย่อยด้วยเอนไซม์) 5 g (NaCl หรือโซเดียมคลอไรด์) 15 g (วุ้น) |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |