มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ เห็นพ้อง | (v) agree, See also: be in accord with, see things the same way (as), be unanimous, Syn. เห็นตาม, เห็นด้วย, เห็นพ้องต้องกัน, Ant. คัดค้าน, ค้าน, Example: บุคคลทั้งสองเห็นพ้องกันว่า พล.อ.เทียนชัยแบ่งงานอย่างเผด็จการและไม่มีหลักเกณฑ์ | เห็นพ้อง | (v) agree, See also: be in accord with, see things the same way (as), be unanimous, Syn. เห็นตาม, เห็นด้วย, เห็นพ้องต้องกัน, Ant. คัดค้าน, ค้าน, Example: บุคคลทั้งสองเห็นพ้องกันว่า พล.อ.เทียนชัยแบ่งงานอย่างเผด็จการและไม่มีหลักเกณฑ์ | ความเห็นพ้อง | (n) agreement, See also: consent, approval, compliance, unanimity, Syn. ความเห็นด้วย, Ant. การปฏิเสธ, การโต้แย้ง, การคัดค้าน, การท้วงติง, การติง, Example: ทั้งลักกี้และแลนสกี้มีความเห็นพ้องต้องกันว่า เบนจามินมีความผิด, Thai Definition: ความคิดเห็นไปในทำนองเดียวกัน | เห็นพ้องต้องกัน | (v) all agree, See also: express approval, give consent, view favorably, Example: ประเทศส่วนใหญ่ในโลกเห็นพ้องต้องกันให้ใช้กฎหมายลิขสิทธิ์คุ้มครองโปรแกรมคอมพิวเตอร์, Thai Definition: มีความเห็นตรงกันหรือเป็นไปในแนวทางเดียวกัน |
|
| นั่นซี, นั่นน่ะซี | คำแสดงการเห็นพ้องด้วย. | พ้อง | ว. ต้องกัน, ตรงกัน, ซํ้ากัน, เช่น พ้องรูป พ้องเสียง พ้องความ เห็นพ้องด้วย ชื่อพ้องกัน. | มติมหาชน | น. ความคิดเห็นหรือท่าทีของประชาชนกลุ่มใหญ่ที่เห็นพ้องต้องกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง. | ลงเนื้อเห็นด้วย | ก. เห็นพ้องด้วย. | สมานคติ | (สะมานะ-) น. การดำเนินอย่างเดียวกัน, การมีความเห็นพ้องกัน. | สมานฉันท์ | (สะมานะ-, สะหฺมานนะ-) น. ความพอใจร่วมกัน, ความเห็นพ้องกัน, เช่น มีความเห็นเป็นสมานฉันท์. | เอกจิต | (เอกะ-) น. ความคิดจำเพาะถึงสิ่งอย่างเดียว, ความคิดอันหนึ่งอันเดียว, ความคิดต้องกัน, ความเห็นพ้องกัน. |
| | consensus | ฉันทามติ หมายถึง แนวปฏิบัติในการตัดสินใจที่จะมีมติดำเนินการหรือไม่ดำเนินการในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง โดยแม้ทุกฝ่ายจะมิได้เห็นพ้องร่วมกัน แต่ก็ไม่มีผู้ใดคัดค้าน [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | North Atlanitc Treaty Organization | องค์การนาโต้ หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ซึ่งได้ลงนามกันเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1949 ประเทศสมาชิกขณะเริ่มตั้งองค์การครั้งแรก ได้แก่ ประเทศเบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ต่อมาประเทศกรีซและตรุกีได้เข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952 และเยอรมนีตะวันตก ( ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1949ในภาคอารัมภบทของสนธิสัญญา ประเทศภาคีได้ยืนยันเจตนาและความปรารถนาของตน ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติกับประเทศและรัฐบาลทั้งหลาย ที่จะปกป้องคุ้มครองเสรีภาพมรดกร่วม และอารยธรรมของประเทศสมาชิกทั้งมวล ซึ่งต่างยึดมั่นในหลักการของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพส่วนบุคคลหลักนิติธรรม ตลอดจนจะใช้ความพยายามร่วมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อป้องกันประเทศ และเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงในสนธิสัญญาดังกล่าว บทบัญญัติที่สำคัญที่สุดคือข้อ 5 ซึ่งระบุว่า ประเทศภาคีสนธิสัญญาทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า หากประเทศภาคีหนึ่งใดหรือมากกว่านั้น ในทวีปยุโรปหรือในอเมริกาเหนือ ถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ จักถือว่าเป็นการโจมตีต่อประเทศภาคีทั้งหมด ฉะนั้น ประเทศภาคีจึงตกลงกันว่า หากมีการโจมตีด้วยกำลังอาวุธเช่นนั้นเกิดขึ้นจริง ประเทศภาคีแต่ละแห่งซึ่งจะใช้สิทธิในการป้องกันตนโดยลำพังหรือร่วมกัน อันเป็นที่รับรองตามข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติ จะเข้าช่วยเหลือประเทศภาคีแห่งนั้นหรือหลายประเทศซึ่งถูกโจมตีด้วยกำลัง อาวุธในทันทีองค์กรสำคัญที่สุดในองค์การนาโต้เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศภาคีสนธิสัญญานาโต้ คณะมนตรีนี้จะจัดตั้งองค์กรย่อยอื่น ๆ หลายแห่ง รวมทั้งกองบัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรภาคพื้นยุโรปและภาคพื้น แอตแลนติก สำนักงานใหญ่ขององค์การนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] | Southeast Asia Collective Defense Treaty (Mahila Pact) | สนธิสัญญาซีโต้ สนธิสัญญานี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ประเทศที่ลงนามในสนธิสัญญามีประเทศออสเตรเลีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ประเทศไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาได้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1955ในภาคอารัมภบทของสัญญานี้ บรรดาประเทศสมาชิกต่างแสดงความปรารถนาที่จะประสานความพยายามของตนที่จะ ป้องกันร่วมกัน เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคง โดยเฉพาะข้อ 4 ของสนธิสัญญาเป็นข้อสำคัญที่สุด คือ แต่ละประเทศภาคีคู่สัญญาตกลงเห็นพ้องกันว่า หากดินแดนของประเทศใดถูกรุกรานจาการโจมตีด้วยกำลังอาวุธ ประเทศภาคีทั้งหมดที่เหลือจะถือว่าเป็นอันตรายร่วมกัน และจะปฏิบัติการเพื่อเผชิญหน้ากับอันตรายร่วมกัน หรือถ้าหากพื้นที่ภายในเขตครอบคลุมของสนธิสัญญาถูกคุกคามด้วยประการใด ๆ ประเทศภาคีทั้งหมดจะปรึกษากันในทันที เพื่อตกลงในมาตรการเพื่อการป้องกันร่วมกันสำนักงานใหญ่ขององค์การซีโต้ตั้ง อยู่ในกรุงเทพมหานคร โดยที่สถานการณ์ทางการเมืองของโลกได้เปลี่ยนไปมากทำให้องค์การซีโต้หมดความ จำเป็น และได้ยุบเลิกไปนานแล้ว [การทูต] |
| French Algerians may feel divided, but do the Algerians exist for you? | ชาวฝรั่งเศสที่เกิดในแอลจีเรียอาจไม่เห็นพ้องให้คืนประเทศ แต่ชาวแอลจีเรียที่เหลือล่ะ? Wild Reeds (1994) | That sounds fair. Everyone agreed? | ที่ฟังดูยุติธรรม ทุกคนเห็นพ้องกัน? 12 Angry Men (1957) | Mr. Landers, it is the consensus of this group that you are a person of little or no theological knowledge. | คุณแลนเดอร์ส เราทุกคนเห็นพ้องต้องกันว่า คุณเป็นคนที่มีความรู้ ด้านศาสนศาสตร์น้อย ไม่ก็ไม่มีเลย Oh, God! (1977) | It's what was agreed upon. | มันคือสิ่งที่ทุกคนเห็นพ้อง. Anna and the King (1999) | Why do you need their approval? | ทำไมคุณถึงต้องการคำเห็นพ้องของเขาล่ะ Bicentennial Man (1999) | My friend Nicholas and I have had a little chat and agreed it was best all around. | เพื่อนฉัน นิโคลัสกับฉันได้คุยกัน เห็นพ้องกันว่าวิธีนั้นดีที่สุด Harry Potter and the Sorcerer's Stone (2001) | There's not a single scientific peer reviewed paper published in the last 25 years that would contradict this scenario | ข้อเขียนทางวิทยาศาสตร์ที่มีผู้เชี่ยวชาญรับรอง ทุกชิ้นที่ตีพิมพ์ออกมาในช่วง 25 ปีนี้ เห็นพ้องต้องกันเป็นเสียงเดียวว่า The Corporation (2003) | Louisa and I were agreeing that we should hardly know her. What do you say, Mr Darcy? | หลุยซ่ากับฉันเห็นพ้องต้องกันว่าพวกเรา ไม่น่ารู้จักหล่อนเลย คุณคิดยังไงล่ะคุณดาร์ซี่ Episode #1.5 (1995) | I like hot dogs but I love hot frogs and surely you'll agree | ฉันชอบไส้หรอกแต่ฉันรักกบทอด แน่นอนว่าเธอจะเห็นพ้อง James and the Giant Peach (1996) | What they all agree on is that the smooth side is definitively Egyptian. | แต่ทั้งหมดเห็นพ้องกัน ด้านเรียบนั่นเป็นของชาวอิยิปต์แน่นอน AVP: Alien vs. Predator (2004) | Well, the Ninth Circuit Court of Appeals upheld a lawsuit by the ACLU on behalf of the families. | ศาลอุทธรณ์ เห็นพ้องกับการยื้นฟ้อง ของ เอซีแอลยู ซึ่่งเป็นตัวแทนของครอบครัว Pilot (2004) | All right, now. What, you want to let Beechwood tittie-fuck us? I didn't think so. | เอาหละ มึงอยากให้พวกสวะบีซวู้ดนำเราหรือไง กูไม่เห็นพ้องด้วยเป็นแน่แท้ American Pie Presents: Band Camp (2005) | We don't condone what Beagle's done, or the horrible way in which he botched it. | เราไม่เห็นพ้องกับสิ่งที่บีเกิลทำ หรือวิธีการปล้นเฟอะฟะ Flyboys (2006) | They agree with my recommendation completely. | ทุกคนเห็นพ้อง กับความเห็นที่ฉันเสนอไป Flyboys (2006) | And you know the number of those that disagreed with the scientific consensus that we're causing global warming and that it's a serious problem? | จำนวนของบทความที่ไม่เห็นด้วยกับ การเห็นพ้องกันทางวิทยาศาสตร์ ว่าเราเป็นต้นเหตุของภาวะเรือนกระจก และมันเป็นปัญหาที่จริงจังมากมีอยู่เท่าใด An Inconvenient Truth (2006) | Zero percent disagreed with the consensus. | ศูนย์เปอร์เซ็นต์ไม่เห็นด้วยกับความเห็นพ้องต้องกันนั้น An Inconvenient Truth (2006) | That nothing, no matter how horrible, ever really happens without the approval of the government. | ไม่มีอะไร แย่ไปกว่านั้น ไม่มีเรื่องไหนที่ไม่ผ่าน ความเห็นพ้องจากรัฐบาล Shooter (2007) | So we are all in agreement then? | งั้นเราเห็นพ้องกันแล้วใช่มั้ย Chuck Versus the Sensei (2008) | I Will Work With Whatever Budget You See Fit. | ฉันจะทำงานไม่ว่าจะงบแค่ไหนที่คุณเห็นพ้อง The Manhattan Project (2008) | The city council has also agreed to look into this, starting immediately; | สภาเทศบาลเมืองก็เห็นพ้องด้วย ที่จะดำเนินการทันที Changeling (2008) | Our lawyers want us to agree on a definition of the word. | ทนายความต้องการให้เราเห็นพ้องกันในคำนิยาม Frost/Nixon (2008) | So suppose I like your looks, but I'm really much more interested in the real you because I get a sense from looking at your picture- | หมายถึงเราเห็นพ้องใช่มั้ย ถ้าอย่างงั้น สมมุติ... The Girlfriend Experience (2009) | What they drew, and these four people pretty much agree that, actually, what they drew, it looked like a fedora hat | ที่พวกเขาวาดมาและทั้งสี่คนนี้เห็นพ้องกันว่า จริงๆแล้วที่พวกเขาวาดมา มันดูเหมือนหมวกเฟดดอร่า The Fourth Kind (2009) | I think we can all agree that Charles has been through an ordeal. | ฉันว่าพวกเราเห็นพ้องกันว่า ชาร์ลได้ผ่านเรื่องเลวร้ายมา In the Realm of the Basses (2009) | But the one thing they do agree on is how much they love Dr. Tobin. | แต่พวกเขาเห็นพ้องกันเรื่องที่พวกเขารักหมอโทบิน Did You Hear About the Morgans? (2009) | [ angry shouts of agreement ] [ gasps in pain ] [ groaning ] | [ ตะโกนเห็นพ้องด้วยความโกรธ ] [ อ้าปากค้างด้วยความเสียใจ ] [ เสียงคร่ำครวญ ] Air: Part 1 (2009) | And with my mom's approval, you are golden. | แล้วแค่แม่ฉันเห็นพ้องด้วยแล้วละก็ เธอก็ไม่ต้องห่วงแล้ว Southern Gentlemen Prefer Blondes (2009) | But we agreed that that's a meaningless act. | แต่เราก็เห็นพ้องกันว่านั่น นั่นมันเป็นการกระทำที่ไม่มีความหมายอะไร The Tough Man in the Tender Chicken (2009) | I think there's one thing we can all agree on. | ฉันคิดว่ามันยังมีสิ่งหนึ่งที่เราเห็นพ้องด้วยกันได้ Comparative Religion (2009) | We all agreed on the rules. | เราเห็นพ้องต้องกัน เรื่องกฎ Carriers (2009) | Ask favor for him again, | ถามถึงเห็นพ้องเกี่ยวกับเขาอีกครั้งสิ The Red Serpent (2010) | We both know he could lose control. This is all part of a concerted effort on the part of the right-wing fringe to stir up fear of vampires. | เราต่างก็รู้ เขาควบคุมตัวเองไม่ได้แน่ นี้เป็นส่วนทั้งหมดของการเห็นพ้องร่วมกันกับความพยายาม Evil Is Going On (2010) | Does that meet with your approval? | นั่นทำให้เจ้าเห็นพ้องด้วยรึยัง? Grievous Intrigue (2010) | I think we can all agree that the mind of lloyd simcoe is a priceless resource. | ผมคิดว่าพวกเราคงเห็นพ้อง อยู่ในใจว่า ลอยด์ ซิมคอร์ เป็นบุคคลที่ประเมินค่าไม่ได้ Revelation Zero: Part 1 (2010) | You put your thumb on the scale. | คุณเข้าใจหาวิธีทำให้คนอื่นเห็นพ้องต้องกันตามที่คุณต้องการ Investigative Journalism (2010) | I think we all can agree that you've made yourself perfectly clear, yes. | ผมว่าเราเห็นพ้องกัน ว่าคุณพูดชัดเจนดีมากครับ Dead Men Don't Wear Plaid (2010) | I know we've all had our little disagreements in the past, but the time has come to put those aside - and look toward the future. | ผมรู้ว่าเราต่างมี เรื่องไม่เห็นพ้องต้องกัน ในอดีต แต่ถึงเวลาแล้วที่เราจะยุติ Hammer of the Gods (2010) | Feel that's more important than world war ii, | เห็นพ้องกันว่าเป็นเรื่องที่สำคัญยิ่งกว่า สงครามโลกครั้งที่สองเสียอีก Miss Mystic Falls (2010) | How this could have been consensual. | มันจะเห็นพ้องกันได้ยังไง JJ (2010) | Consensual, huh? | เห็นพ้องต้องกันเหรอ? JJ (2010) | Is that what you mean by consensual? | นั่นใช่ที่นายหมายถึง "เห็นพ้อง" รึเปล่า? JJ (2010) | Yeah, and when we all agree to support each other in that insanity, something even crazier happens. | และพวกเราก็เห็นพ้อง ที่จะสนับสนุนกันและกัน ไม่ว่าเรื่องนั้นๆ จะฟังดูบ้าแค่ไหนก็ตาม Abed's Uncontrollable Christmas (2010) | This is not just me talking. Members of the court have spoken. | นี่ไม่เป็นเรื่องที่หม่อมฉันกล่าวทูลตามลำพัง แต่ข้าราชบริพารในราชสำนักต่างเห็นพ้อง The Tears of Uther Pendragon (2010) | We're all in agreement that Agent Jareau's a valuable part of this team, and it's understandable why the executive branch is requesting a transfer. | พวกเราเห็นพ้องกันว่า เจ้าหน้าที่จาโร เป็นส่วนที่มีค่าส่วนหนึ่งของทีมนี้ และมันก็เข้าใจได้ว่าทำไม สาขาบริหาร JJ (2010) | Everyone agrees--kate wouldn't leave with those boys. | ทุกคนเห็นพ้อง--เคทไม่ได้ ออกไปกับสองคนนั้น JJ (2010) | Look, we both agree Victor was sloppy. | ฟังนะ เราทั้งคู่เห็นพ้องว่าวิกเตอร์ห่วย Rough Trade (2010) | I couldn't agree with you more, Sire. | หม่อมฉันไม่เห็นพ้องกับฝ่าบาท อีกต่อไปแล้ว Gwaine (2010) | Tus disagreed, ordered you brought back alive. | ทัส ไม่เห็นพ้องด้วย สั่งให้จับเป็นเจ้ากลับไป Prince of Persia: The Sands of Time (2010) | Well, I see we agree on something. | งั้น ข้าว่าเราก็เห็นพ้องกันในบางเรื่อง Counter Attack (2011) | Anyway, let's agree I did a good thing. | อย่างไรก็ตาม เห็นพ้องต้องกันนะ ว่าฉันทำเรื่องดีๆลงไป My Heart Will Go On (2011) |
| เห็นพ้องต้องกัน | [hen phøng tǿng kan] (v, exp) EN: all agree ; express approval ; give consent ; view favorably | การเห็นพ้องต้องกัน | [kān hen phøng tǿng kan] (n, exp) EN: consensus FR: consensus [ m ] | ไม่เห็นพ้อง | [mai hen phøng] (v, exp) EN: disagree |
| acceptance | (n) การเห็นพ้องกับ, See also: การเห็นด้วยกับ, Syn. agreement | accordance | (n) การยอมรับร่วมกัน, See also: การเห็นพ้องต้องกัน, Syn. agreement, conformity, harmony | according | (adj) ที่ยอมรับร่วมกัน, See also: ที่เห็นด้วย, ที่เห็นพ้องต้องกัน, Syn. agreeing | acquiescence | (n) การยอมตาม, See also: การยอมรับ, ความเห็นพ้อง, Syn. submission, resignation | affirmative | (n) ข้อความที่แสดงการยินยอม, See also: ข้อความที่แสดงการเห็นพ้อง | affirmative | (adj) ซึ่งแสดงถึงการยินยอม, See also: ซึ่งเห็นพ้อง, Syn. agreeing, affirming, Ant. negative | agree | (vt) เห็นด้วย, See also: เห็นพ้อง | agree | (vi) เห็นด้วย, See also: เห็นพ้อง, Syn. harmonize, coincide, concur, accord, conform, Ant. differ, disagree, refuse | agreement | (n) การเห็นพ้อง, See also: การเห็นด้วย, การเห็นชอบร่วมกัน, การยอมรับร่วมกัน, Syn. complying, accession, agreeing, Ant. disagreeing, disrupting | agreement | (n) ข้อตกลง, See also: ความตกลง, ความยินยอม, ความเห็นพ้อง, Syn. recognition, approval | approval | (n) ความเห็นพ้อง, See also: ความยินยอมพร้อมใจ, ความเห็นชอบด้วย | approve | (vt) เห็นด้วย, See also: เห็นควร, เห็นสมควร, เห็นพ้อง, เห็นชอบ, เห็นดีเห็นชอบ, Syn. affirm, support, ratify, Ant. refect, veto | accord with | (phrv) เข้ากันกับ, See also: เข้ากับ, เห็นพ้องกับ | acquiesce in | (phrv) เห็นพ้องกับ, See also: เห็นด้วยกับ, เห็นด้วย, Syn. agree to | acquiesce to | (phrv) เห็นพ้องกับ, See also: เห็นด้วยกับ, เห็นด้วย, Syn. agree to | against someone's will | (idm) ปราศจากความเห็นพ้อง | agree about | (phrv) เห็นพ้องกับ, See also: เห็นด้วย, Syn. agree on | agree on | (phrv) เห็นพ้องกับ, See also: เห็นด้วยใน, ตกลง เรื่อง, Syn. agree about | agree upon | (phrv) เห็นพ้องกับ, See also: เห็นด้วยใน, ตกลง เรื่อง, Syn. agree about, agree on | agree with | (phrv) เห็นพ้องกับ, See also: เห็นด้วยใน, ตกลง เรื่อง, Ant. disagree with | align with | (phrv) ทำให้เห็นพ้องกัน | assent to | (phrv) เห็นด้วยกับ (มักใช้รูป simple tenses), See also: เห็นพ้องกับ, Syn. agree to | blitz | (vt) พยายามที่จะครอบงำผู้อื่นเพื่อให้เห็นพ้อง | be in collusion with | (idm) เห็นพ้องกันอย่างลับๆ กับ (เพื่อทำสิ่งผิด), See also: สมคบคิด, สมรู้ร่วมคิด | bring together | (phrv) ทำให้เห็นพ้องกัน, See also: ทำให้เห็นด้วย, Syn. come together | coherent | (adj) ซึ่งสอดคล้อง, See also: ซึ่งเห็นพ้องตรงกัน, ไม่ขัดแย้งในตัวเอง, ซึ่งมีเหตุผล, Syn. consistent, harmonious | concert | (n) การเห็นพ้องร่วมกัน, Syn. agreement, harmony | concurrence | (n) การเห็นพ้องด้วย, Syn. agreement, concurrency | concurrency | (n) การเห็นพ้องด้วย, Syn. agreement, concurrence | concurrent | (adj) ที่เห็นพ้องต้องกัน, Syn. agreeing, harmonious | compound with | (phrv) เห็นพ้องกับ | conform to | (phrv) สอดคล้องกับ, See also: เห็นพ้องกับ, เข้ากันได้กับ, Syn. comply with | conform with | (phrv) สอดคล้องกับ, See also: เห็นพ้องกับ, เข้ากันได้กับ, Syn. comply with | cow someone into submission | (idm) บังคับให้เห็นด้วย, See also: เห็นพ้องด้วยเพราะว่ากลัว | differ from | (phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ไม่ลงรอยกับ, ไม่เห็นพ้องกับ, Syn. differ with | differ with | (phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ไม่เห็นพ้องกับ, Syn. differ from | deviation | (n) ความไม่เห็นพ้อง, See also: ความคิดแตกต่าง, การเข้ากันไม่ได้, Syn. disagreement, Ant. accord, correspondence | differ | (vi) ไม่เห็นด้วย, See also: ไม่เห็นพ้อง, ขัดแย้ง, Syn. disagree, discord, conflict, Ant. agree | dissent | (vi) ขัดแย้ง, See also: ไม่เห็นด้วย, ไม่เห็นพ้อง, Syn. disagree, discord, Ant. agree | get together | (phrv) เห็นพ้องกัน | take kindly to | (idm) เห็นด้วยกับ, See also: เห็นพ้องกับ | mesh with | (phrv) เห็นพ้องกับ, See also: เห็นด้วยกับ | mediate | (vt) ไกล่เกลี่ย, See also: ทำให้ประนีประนอม, ทำให้เห็นพ้องต้องกัน, ทำให้ตกลงกันได้, Syn. reconcile, harmonize, compromise | permit | (vt) อนุญาต, See also: ยินยอม, เห็นพ้อง, เห็นชอบ, Syn. allow, let, Ant. forbit, prohibit | play ball with | (phrv) ช่วยสนับสนุน, See also: เห็นพ้องกับ | quarrel | (vi) ไม่ลงรอยกัน, See also: เลิกเป็นมิตรกันเนื่องจากไม่เห็นพ้องต้องกัน, Syn. disaccord, dissent | agree to disagree | (sl) เห็นพ้องกันบนความเห็นที่แตกต่าง | copasetic | (sl) เห็นพ้องด้วย, See also: น่าพึงพอใจ | see eye to eye | (sl) เห็นพ้องกัน | sympathetic | (adj) มีใจเหมือนกัน, See also: เข้าข้างกัน, เห็นพ้องกัน, Syn. agreeable, compassionable, like-minded |
| affirm | (อะเฟิร์ม') vt. ยืนยัน, เห็นพ้อง, อนุมัติ, พิสูจน์เป็นความจริง, รับรอง, Syn. state, assert | agree | (อะกรี') vt., vi. ตกลง, เห็นพ้อง, ยอมรับ, เห็นด้วย, ยินยอม, สนับสนุน, ตกลงกำหนด, เข้ากันได้, ลงรอย, เหมือน, เหมาะ สมกับ. -agreeingly adv., Syn. concur, comply, assent | concent | (คันเซนทฺ') n. ความเห็นพ้อง, ความลงรอยกัน, Syn. harmony | concur | (คันเคอร์') { concurred, concurring, concurs } vi. เกิดขึ้นพร้อมกัน อย่างบังเอิญ, ประจวบกัน, เห็นด้วย, เห็นพ้อง, ทำงานร่วมกัน, ให้ความร่วมมือ, สนับสนุน, รวมกัน, Syn. assent, Ant. contend, deny | concurrence | (คันเคอ'เรินซฺ) n. การบังเกิดขึ้นพร้อมกัน, การประจวบกัน, การเห็นด้วย, การเห็นพ้อง, การให้ความร่วมมือ, การสนับสนุน, จุดบนเส้น 'เส้นหรือมากกว่านั้น, อำนาจร่วมหรือเท่ากัน, Syn. agreement | consentaneous | (คอยเซนเท'เนียส) adj. ซึ่งเห็นพ้อง, เป็นเอกฉันท์., See also: consentaneousness n. ดูconsentaneous consentaneity n. ดูconsentaneous | consentient | (คันเซน'เชินทฺ) adj. ซึ่งเห็นพ้อง, ซึ่งเห็นด้วย, | consistent | (คันซิส'เทินทฺ) adj. มั่นคง, ซึ่งยึดมั่นเหนียวแน่น, เห็นพ้อง, ลงรอยกัน., Syn. according, Ant. inconsistent -Conf. constant | consonance | (คอน'ซะเนินซฺ) n. ความเห็นพ้อง, ความลงรอยกัน, เสียงประสาน., Syn. consonancy, Ant. dissonance | disagree | (ดิสอะกรี') { disagreed, disagreeing, disagrees } vi. ไม่เห็นด้วย, ไม่เห็นพ้อง, โต้แย้ง, ทะเลาะ, ไม่เหมาะ, ทำความเสียหายแก่, Syn. dissent, quarrel | disagreement | (ดิสอะกรี'เมินทฺ) n. ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่เห็นพ้อง, การทะเลาะ, การโต้แย้ง, Syn. rift | dissidence | (ดิส'ซิเดินซฺ) n. ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่เห็นพ้อง, ข้อเสนอที่แตกต่างหรือขัดแย้ง, Syn. dissent | favor | (ฟะ'เวอะ) n. ความกรุณา, การกระทำที่กรุณา, ความสงเคราะห์, ความประทับใจ, ความนิยม, ความเข้าข้าง, ไมตรีจิต, บุญคุณ, การสนับสนุน, ความเห็นพ้อง, ของขวัญ, ของระลึก, เครื่องหมาย, โบ, สิทธิพิเศษ. -Phr. (in favo (u) r of สนับสนุน, เข้าข้าง) . -Phr. (in one's favo (u) r เพื่อผลประโยชน | favour | (ฟะ'เวอะ) n. ความกรุณา, การกระทำที่กรุณา, ความสงเคราะห์, ความประทับใจ, ความนิยม, ความเข้าข้าง, ไมตรีจิต, บุญคุณ, การสนับสนุน, ความเห็นพ้อง, ของขวัญ, ของระลึก, เครื่องหมาย, โบ, สิทธิพิเศษ. -Phr. (in favo (u) r of สนับสนุน, เข้าข้าง) . -Phr. (in one's favo (u) r เพื่อผลประโยชน | thumbstall | n. ปลอกหุ้มนิ้วหัวแม่มือ thumbs-up (ธัมซฺ'อัพ) n. การเห็นด้วย, การเห็นพ้อง } |
| accede | (vi) ยอม, ยอมจำนน, เห็นพ้อง, ยอมตาม, บรรลุ | affirm | (vi, vt) รับว่าจริง, ยืนยัน, รับรอง, เห็นพ้อง | assent | (n) การยินยอม, การเห็นพ้องต้องกัน, การยอมรับ, การตกลง | concert | (n) การแสดงดนตรี, มโหรี, สังคีต, คอนเสิร์ต, การเห็นพ้องต้องกัน, ความร่วมมือ | concur | (vi) รวมกัน, เห็นด้วย, เห็นพ้อง, พร้อมกัน, ประจวบกัน | disagreement | (n) ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่เห็นพ้อง | sustain | (vt) ค้ำจุน, ได้รับ, เห็นพ้อง, สนับสนุน, ผดุงไว้ |
| 合意 | [ごうい, goui] TH: เห็นพ้องด้วย EN: consent |
| einverstanden | (adj, pp) ที่เห็นด้วย, เห็นพ้องต้องกัน เช่น Sie sind damit nicht einverstanden. (= Sie sind nicht dafür.) พวกเขา/คุณไม่เห็นด้วยกับเรื่องนี้, See also: Related: zustimmen | Konsens | (n) |der, pl. Konsense| มติเอกฉันท์, การเห็นพ้อง |
| | d'accord | (phrase) ตกลง, เห็นด้วย, โอเค (เป็นวลีที่ใช้บ่งแสดงความเห็นพ้องหรือความเข้าใจ) |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |