มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| กรุ่น | (กฺรุ่น) ว. อาการของไฟที่ยังไม่ดับแต่ไม่ถึงกับลุกโพลง เช่น ไฟติดกรุ่นอยู่, โดยปริยายหมายความว่า ยังเหลืออยู่บ้าง, มีเรื่อย ๆ อยู่, เช่น ควันกรุ่น หอมกรุ่น | กเลวระ | (กะเลวะระ) น. ซากศพ เช่น ถึงกระนั้นก็จะพบพานซึ่งกเลวระร่าง มิเลือดก็เนื้อจะเหลืออยู่บ้างสักสิ่งอัน (ม. ร่ายยาว มัทรี), บางทีใช้ว่า กเฬวราก หรือ กเฬวรากซากศพ ก็มี. | ขอด ๒ | ก. ทำให้สิ่งที่ติดอยู่ออกมาด้วยอาการอย่างขูด เช่น ขอดเกล็ดปลา, เหลืออยู่น้อยจนถึงกับต้องขูดเอา เช่น น้ำขอดคลอง น้ำขอดโอ่ง ข้าวขอดหม้อ. | ข้าวตก | น. รวงข้าวที่หลงเหลืออยู่ในท้องนาหลังจากเก็บเกี่ยวแล้ว. | จิ้งเหลนด้วง ๑ | น. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานจำพวกจิ้งเหลนที่ไม่มีขาหรืออาจมีร่องรอยของขาคู่หลังเหลืออยู่เล็กน้อย ในวงศ์ Dibamidae และวงศ์ Scincidae ลำตัวเรียวยาว ขนาดยาวตั้งแต่ ๗-๒๕ เซนติเมตร เกล็ดลำตัวเรียบ อาศัยอยู่ใต้ผิวดินที่ร่วนซุยหรือเป็นดินปนทรายซึ่งมีซากผุพังของพืชปกคลุม, ในวงศ์ Dibamidae เฉพาะเพศผู้มีร่องรอยของขาคู่หลังเป็นแผ่นแบนให้เห็นเล็กน้อย ที่พบในประเทศไทย ได้แก่ จิ้งเหลนด้วงสีม่วง ( Dibamus alfrediTaylor) ซึ่งพบทางภาคใต้ และจิ้งเหลนด้วงสมศักดิ์ ( D. somsakiHonda, Nabhitabhata, Ota & Hikida) ซึ่งพบที่เขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ส่วนในวงศ์ Scincidae ไม่มีขาทั้งเพศผู้และเพศเมีย ที่พบในประเทศไทย ได้แก่ ชนิด Isopachys anguinoides (Boulenger) พบที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์, ชนิด I. roulei (Angel) พบที่จังหวัดชลบุรี, ชนิด I. gydenstolpeiLönnberg และ I. borealisLang & Bohme พบทางภาคตะวันตก ชนิด Davewakeum miriamaeHeyer พบที่อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา. | ซอ ๑ | น. ลำไม้ไผ่ช่วงโคนที่เหลืออยู่ที่กอ. | ซัด ๔ | ก. ละ, ทิ้ง, หลบหนี, เช่น แม้นซัดพลัดหนีไปตายแห่งอื่นเปนพับทังสองข้าง ต่างคนต่างจะเอาเงินอันยังเหลืออยู่แก่กันนั้นมิได้เลย (สามดวง). | ดิฐ ๑ | ก. ตั้งอยู่, คงอยู่, เหลืออยู่, พักอยู่, หยุดอยู่. | ตกค้าง | ว. หลงเหลืออยู่. | ตอ | น. โคนของต้นไม้ที่ลำต้นถูกตัดหรือหักลงแล้ว, สิ่งบางอย่างเช่นเสาหรือหลักที่ปักไว้หรือที่ยังเหลืออยู่แต่โคนเมื่อบางส่วนถูกตัด หัก หรือกร่อนไป. | ท้องเล็น | ว. เรียกข้าวสารที่หุงยังไม่สุกดี ยังมีแกนเมล็ดข้าวเหลืออยู่บ้าง ว่า ข้าวท้องเล็น. | เยื่อใย | น. ความเกี่ยวพันแม้จะขาดกันไปแล้ว แต่ก็ยังมีอาลัยเหลืออยู่, ความผูกพันที่ยังตัดไม่ขาด, เช่น เขาทิ้งไปอย่างไม่มีเยื่อใย. | สิ้นซาก | ก. ไม่มีร่องรอยเหลืออยู่ เช่น รื้อตลาดเก่าออกไปจนสิ้นซาก. | สิ้นลาย | ก. หมดชั้นเชิง, ไม่มีชั้นเชิงเหลืออยู่, เช่น เสือปล้นธนาคารถูกตำรวจจับ เลยสิ้นลาย. | สิ้นหวัง | ก. ไม่มีความหวังเหลืออยู่เลย, หมดหวัง ก็ว่า. | สุดท้าย | ว. ทีหลังเพื่อน, หลังสุด, เช่น เขาเป็นแขกคนสุดท้ายที่มาในงาน เด็กคนนั้นทำการบ้านเสร็จเป็นคนสุดท้าย, เหลือเพียงหนึ่งเดียว เช่น สมบัติชิ้นสุดท้ายที่เหลืออยู่คือบ้าน โอกาสสุดท้ายแล้วที่จะแก้ตัวได้. | หมดหวัง | ก. ไม่มีความหวังเหลืออยู่เลย, สิ้นหวัง ก็ว่า. | หมดอาลัยตายอยาก | ก. ทอดอาลัยเพราะไม่มีความหวังใด ๆ เหลืออยู่. | หมดอาลัยไยดี | ก. ไม่มีเยื่อใยหลงเหลืออยู่เลย. | หลง | เหลืออยู่, ตกค้างอยู่, เช่น มะม่วงหลง ฝนหลงฤดู | หลงเหลือ | ก. มีเหลืออยู่บ้างทั้ง ๆ ที่เข้าใจหรือรู้สึกว่าหมดแล้ว เช่น ยังมีเศษสตางค์หลงเหลืออยู่ในกระเป๋า. | หลวม | ใหญ่เกินพอดี, ยังมีที่ว่างเหลืออยู่, เช่น จัดของใส่กระเป๋าหมดแล้ว กระเป๋ายังหลวมอยู่ | หลอ | ว. ใช้ประกอบกับคำ เหลือ เป็น เหลือหลอ หมายความว่า หลงเหลืออยู่ เช่น รถชนกันอย่างนี้ จะมีอะไรเหลือหลอเล่า, ถ้าใช้ในความปฏิเสธหมายความว่า หมดเกลี้ยง เช่น กินเสียจนไม่มีอะไรเหลือหลอ | เหลือหลอ | (–หฺลอ) ว. หลงเหลืออยู่ เช่น รถชนกันอย่างนี้ จะมีอะไรเหลือหลอเล่า, ถ้าใช้ในความปฏิเสธหมายความว่า หมดเกลี้ยง เช่น กินเสียจนไม่มีอะไรเหลือหลอ. |
| remain | เหลืออยู่, ยังคงเหลืออยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | residual | ๑. -ตกค้าง, -เหลืออยู่๒. ส่วนตกค้าง [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | remainder | สิทธิช่วงหลัง (ในที่ดิน), สิทธิประโยชน์ที่ยังเหลืออยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Decimal reduction dose | ดีเท็น, ปริมาณรังสีที่ทำให้เซลล์มีชีวิตรอดเหลืออยู่ร้อยละ 10 หรือ ปริมาณรังสีที่ทำให้เซลล์ตายร้อยละ 90 [นิวเคลียร์] | Residence time | เวลาคงอยู่, ระยะเวลาที่วัสดุกัมมันตรังสียังคงเหลืออยู่ในบรรยากาศภายหลังการระเบิดของระเบิดนิวเคลียร์ มักระบุเป็น “ครึ่งเวลา(half-time)” เนื่องจากไม่อาจทราบระยะเวลาแท้จริงที่วัสดุกัมมันตรังสีนั้นจะหมดไปจากบรรยากาศ [นิวเคลียร์] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Bond, Secondary | แรงยึดที่เหลืออยู่ [การแพทย์] | Cystic Degeneration | ถุงวุ้นเหลวๆ, เนื้องอกเสื่อมสลายกลายเป็นถุงเหลืออยู่ [การแพทย์] | Endometriosis | เอนโดเมทริโอซิส, โรค, เอ็นโดเมตริโอซิส, เนื้อเยื่อผนังมดลูกเกาะติดรังไข่และตกเลือดที่รังไข่, เยื่อบุผนังโพรงมดลูกหนาตัว, เยื่อบุมดลูกหลงเหลืออยู่ในรังไข่, เยื่อบุมดลูกชั้นในอยู่ผิดที่, เยื่อบุมดลูกงอกผิดที่, เยื่อบุมดลูกอยู่ผิดที่, เยื่อบุโพรงมดลูกอยู่นอกตำแหน่งปกติ [การแพทย์] | Leukocyte Poor Blood | เม็ดเลือดขาวเหลืออยู่น้อย [การแพทย์] |
| เหลืออยู่ | [leūa yū] (v, exp) EN: remain ; be left (over) FR: rester ; subsister ; demeurer | สิ่งที่เหลืออยู่ | [sing thī leūa yū] (n, exp) EN: remainder ; rest ; residue |
| behind | (adv) ที่เหลืออยู่ | be left over | (phrv) เหลืออยู่, See also: เหลือ, Syn. be over | detritus | (n) เศษซาก, See also: ซากที่เหลืออยู่, เศษขยะ, Syn. junk, debris, waste | evanesce | (vi) ลดน้อยลงเรื่อยๆ จนไม่มีเหลืออยู่ (ทางวรรณคดี), Syn. disappear, fade, vanish | extinct | (adj) สูญพันธุ์, See also: ไม่มีเหลืออยู่, Syn. vanished | have something left | (idm) มีบางสิ่งเหลืออยู่ | last | (adj) ที่คงเหลืออยู่สิ่งเดียว, Syn. only remaining | leave | (vt) เหลือ, See also: เหลืออยู่, เหลือไว้ | leftover | (adj) ที่เหลือ, See also: ที่เหลืออยู่, Syn. left over, left, odd, remaining, unexpended | linger | (vi) ยังเหลืออยู่, See also: ไม่รู้จักหาย, ยังค้างอยู่, Syn. persist, stay | offcut | (n) ชิ้นส่วนที่เหลืออยู่จากตัดส่วนหลักไปแล้ว | relic | (n) พระบรมสารีริกธาตุ, See also: อัฐิ, สารีริกธาตุ, ส่วนของร่างกายผู้ศักดิ์สิทธิ์ ดับขันธ์ไปแล้ว ที่ยังหลงเหลืออยู่, Syn. holy relic, vestige | remain | (vi) ยังเหลืออยู่, See also: เหลืออยู่, คงอยู่, Syn. be left, survive | remainder | (n) ส่วนที่เหลืออยู่, Syn. leavings, remnant | residual | (adj) ซึ่งเหลืออยู่, Syn. leftover, remaining, surplus | residual | (n) สิ่งที่เหลืออยู่ | residuary | (adj) เกี่ยวกับสิ่งที่เหลืออยู่ | residue | (n) เศษตกค้าง, See also: กาก, ส่วนที่เหลืออยู่, Syn. dregs, excess | residuum | (n) คำนามพหูพจน์ของ residue, See also: สิ่งที่เหลืออยู่, Syn. remainder, residue | rump | (n) สมาชิกที่เหลืออยู่ของสภา | stub | (n) โคน, See also: ส่วนที่ยังเหลืออยู่, Syn. remainder, remnant | stubble | (n) โคนต้นที่เหลืออยู่หลังเก็บเกี่ยว | stump | (n) ส่วนที่เหลืออยู่, See also: โคนที่เหลือ, Syn. butt, end | subtractive | (adj) ซึ่งเป็นสีที่เหลืออยู่หลังจากที่สีอื่นถูกดูดกลืนไปหมด (ทางฟิสิกส์) | survivor | (n) ผู้ที่อยู่รอด, See also: ผู้รอดชีวิต, ผู้ที่เหลืออยู่, Syn. relict, escaper, posterity, existent | survivorship | (n) ความเป็นผู้รอดชีวิต, See also: การมีชีวิตเหลืออยู่, การรอดชีวิต |
| data redundancy | ความซ้ำซ้อนข้อมูลหมายถึงข้อมูลที่ซ้ำซ้อนกัน หากตัดออก ก็จะไม่ทำให้ข้อมูลที่เหลืออยู่เสียหาย ถ้าใช้กับตัวเครื่อง (hardware) หมายถึง เครื่องที่มีระบบการทำงานซ้ำซ้อนกัน ในบางกรณีอาจจำเป็นต้องมีหรือใช้ ถ้าต้องการให้มีความเชื่อถือได้สูง | last | (ลาสทฺ) { lasted, lasting, lasts } adj., adv. สุดท้าย, ล่าสุด, สายสุด, โดยสรุป, ในที่สุด, ที่คงเหลืออยู่สิ่งเดียว, ก่อนสิ้นชีพ, ที่สุด, อย่างยิ่ง, คนเดียว, โดดเดี่ยว, ล่าสุด, ใหม่เอี่ยม, แต่ละ n. คนสุดท้าย, ตอนจบ, ข้อสรุป v. ต่อไป, ต่อเนื่อง, ยืนหยัด, ทนทาน. คำศัพท์ย่อย: | leavings | (ลีฟ'วิงซฺ) n. สิ่งที่เหลืออยู่, เศษ, ส่วนที่เหลือ., See also: leavings n. ซากศพ, ขยะ, Syn. scrap | leftover | (เลฟทฺ'โอเวอะ) n. สิ่งที่เหลืออยู่, ที่เหลือ. adj. เหลือ, กินเหลือ, Syn. remnant | linger | (ลิง'เกอะ) v. อ้อยอิ่ง, เกร่, เอ้อระเหย, ยังคงมีชีวิตอยู่, ยังเหลืออยู่, ไม่รู้จักหาย, อืดอาด, See also: lingerer n. ดูlinger lingeringly adv. ดูlinger | lost cluster | ส่วนตกค้างหมายถึง ส่วนของแฟ้มข้อมูลที่ยังเหลือค้างอยู่ในจานบันทึก แม้ว่าแฟ้มตาราง แสดงรายการข้อมูลจะไม่บ่งบอกว่ามีเหลืออยู่ก็ตาม การที่เป็นเช่นนี้ อาจเป็นเพราะในขณะที่มีการคัดลอกแฟ้มข้อมูลลงไปในแผ่นจานบันทึก ไฟเกิดตก แต่บางทีก็หาสาเหตุไม่พบ โดยปกติ เราอาจใช้คำสั่ง Chkdsk/F ซึ่งเป็นคำสั่งในระบบปฏิบัติการดอส สั่งลบส่วนที่เหลือออกให้หมด จะได้มีที่ว่างไว้เก็บแฟ้มอื่นได้ | mop | (มอพ) n. มัดผ้าหรือวัตถุที่เป็นปุยที่ปลายไม้สำหรับถูพื้น ซับเช็ด, ผมกระเซิง vt. ถูกซับ เช็ดด้วยมัดผ้าหรือวัตถุดังกล่าว. -Phr. (mop up กวาดล้างข้าศึกที่เหลืออยู่, ทำสำเร็จ, ทำเสร็จ) | mop-up | (มอพ'อัพ) n. การเช็ดถูหรือซับให้หมด, การกวาดล้างข้าศึกที่เหลืออยู่ให้หมด | paeleobiology | (เพลีโอไบออล'โลจี) n. ชีววิทยาที่เกี่ยวกับชีวิตของพืชและสัตว์โบราณ จากซากหินที่เหลืออยู่, See also: paleobilogic adj. paleobiological adj. | paleobiology | (เพลีโอไบออล'โลจี) n. ชีววิทยาที่เกี่ยวกับชีวิตของพืชและสัตว์โบราณ จากซากหินที่เหลืออยู่, See also: paleobilogic adj. paleobiological adj. | paleobotany | (เพลีโอบอท'ทะนี) n. พฤษศาสตร์ที่เกี่ยวกับชีวิตของพืชและสัตว์โบราณจากซากหินที่เหลืออยู่, See also: paleobotanic adj. paleobotanatist n. | remain | (รีเมน') vi. ยังคง, ยังอยู่, เหลือ, ค้าง, พักอย่, n. สิ่งที่เหลืออยู่, สิ่งที่ค้างอยู่, , See also: remains บทประพันธ์ของผู้ตายที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์, ลักษณะที่เหลืออยู่, ซากศพ, ซากสัตว์หรือพืช, เศษ, เศษอา-หาร, Syn. stay behind, survive | remainder | (รีเมนเดอะ') n. สิ่งที่เหลืออยู่, สิ่งที่ค้างอยู่, ของเหลือ, ของตกค้าง, ซาก, เศษ, ของตกทอด, คนตกค้าง, จำนวนที่เหลือส่วน, หนังสือตกค้าง (ขายไม่ออก), See also: remainders n. แสตมป์ที่ยกเลิกแต่ยังไม่ได้ใช้ adj. เหลือ, ตกค้าง, vt. ขายเป็นของเหลือ, ขายเป็นของตกค้าง | remnant | (เรม'เนินทฺ) n. ส่วนที่เหลือ, เศษ, เศษเล็กเศษน้อย, เศษผ้า, เดน adj. เหลืออยู่, ค้าง, See also: remnantal adj., Syn. remainder | rump | (รัมพฺ) n. ตะโพกสัตว์, เนื้อตะโพก, ตะโพก, บั้นท้าย, ส่วนที่เหลือ, ส่วนท้าย, ส่วนที่ไม่สำคัญ, สมาชิกที่เหลืออยู่ของสภา, Syn. posterior, buttocks | stub | (สทับ) n. โคนต้นไม้, ตอไม้, รากที่เหลืออยู่, ตอที่เหลืออยู่, ก้นบุหรี่, เศษที่เหลืออยู่, โคนฟัน, ปลายทู่, ปลายทู่แล้วของปากกา, ดินสอที่ใช้จนสั้นนิดเดียว, หางด้วนของสุนัข, ต้นขั้วตั๋ว. vt. ถอนรากถอนโคน, ปราบให้สิ้นซาก, ขุดรากขุดโคน, สะดุดเอา, ตำ, ขจัด, ขยี้. adj. ม่อต้อ | stubble | (สทับ'เบิล) n. ตอ, ตอที่เหลืออยู่, โคนต้นที่เหลืออยู่, ส่วนงอกที่สั้นแต่หนา. -stubbled, stubbly adv. | survival | (เซอไว'เวิล) n. การอยู่รวด, การรอดตาย, การดำรงอยู่, การเหลืออยู่, สิ่งที่ดำรงอยู่, บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่, สิ่งหรือบุคคลที่เหลืออยู่. adj. เกี่ยวกับเครื่องยังชีพ | survive | (เซอไวว') vi. อยู่รอด, รอดตาย, ดำรงอยู่, เหลืออยู่, ยังคงมีชีวิตอยู่, ยังชีพอยู่, อยู่รอด, มีชีวิตอยู่ต่อไป., See also: survivability n. survivable adj., Syn. outlast, outlive, persist | survivor | (เซอไว'เวอะ) n. อยู่รอด, ผู้รอดตาย, ผู้ที่เหลืออยู่, สิ่งที่เหลืออยู่ | vestige | (เวส'ทิจฺ) n. ร่องรอย, รอยหรือหลักฐานที่ทิ้งเอาไว้, รอยเท้า, รอยทาง, เศษนิดเดียว, อวัยวะที่เสื่อมหรือไม่สมบูรณ์ที่เหลืออยู่ |
| remain | (vi) คงอยู่, อยู่, ค้าง, เหลืออยู่, พักอยู่, รอนแรม | residue | (n) เศษตกค้าง, สิ่งที่เหลืออยู่, เงินตกค้าง |
| burr | (n) ครีบที่เหลืออยู่ เมื่อเวลาหล่อโลหะ |
| je nachdem | ขึ้นอยู่กับว่า (มักตามด้วยวลีที่ขึ้นต้นด้วย wann / wie / wieviel / ob) เช่น Ich werde meiner Freundin ein Buch oder eine Handtasche zu ihrem Geburtstag schenken, je nachdem wieviel Geld ich in diesem Monat übrig habe. ผมจะให้หนังสือหนึ่งเล่มหรือกระเป๋าถือหนึ่งใบเป็นของขวัญวันเกิดแก่แฟนผม แต่มันขึ้นกับว่าผมมีเงินเหลืออยู่เท่าไหร่เดือนนี้ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |