|
| Inter-Governmental Maritime Consultative Organization | องค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ [การทูต] |
| discriminate against | (phrv) ปฏิบัติอย่างเลือกที่รักมักที่ชังกับ, See also: เลือกปฏิบัติกับ, แบ่งแยกกับ | impartial | (adj) ยุติธรรม, See also: เป็นกลาง, ซึ่งให้ความเป็นธรรม, ไม่เข้าข้าง, ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง, Syn. equal, unbiased, unprejudiced, Ant. biased, prejudiced | indiscriminating | (adj) ซึ่งไม่เลือกที่รักมักที่ชัง, See also: ซึ่งไม่ลำเอียง, Syn. uncritical, Ant. discriminating |
| ageism | (เอจ' จิสซึม) n. การเลือกที่รักมักที่ชังโดยถืออายุเป็นเกณฑ์และโดยเฉพาะกับคนแก่. ageist n | discriminate | (ดิสคริม'มะเนท) vi. แยกแยะ, แบ่งแยก, เลือกที่รักมักที่ชัง, วินิจฉัย., Syn. distinguish | discrimination | (ดิสคริมมะเน'เชิน) n. การแยกแยะ, การแบ่งแยก, การเลือกที่รักมักที่ชัง, การวินิจฉัย., Syn. perception, bias, Ant. equity, impartiality | discriminative | adj. ซึ่งแยกแยะ, ซึ่งแบ่งออก, เกี่ยวกับการเลือกที่รักมักที่ชัง, Syn. discriminating | indiscriminating | (อินดิสคริม'มะเนททิง) adj. ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง, ซึ่งขาดการพิจารณา., See also: indiscriminatingly adv. |
| differential | (adj) ซึ่งแตกต่างกัน, ซึ่งแสดงความต่างกัน, ซึ่งเลือกที่รักมักที่ชัง | favouritism | (n) การชอบสิ่งใดโดยเฉพาะ, ความลำเอียง, การเลือกที่รักมักที่ชัง | nepotism | (n) การแบ่งพรรคพวก, การถือพวกพ้อง, การเลือกที่รักมักที่ชัง |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |