เลือกตั้ง | (v) vote, See also: cast one's vote, elect, opt, Syn. ลงคะแนน, ลงคะแนนเสียง, ออกเสียง, เลือก, Example: พ.ร.บ.องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ.2540 มาตรา 82 กำหนดให้เลือกตั้งเฉพาะนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตำแหน่งเดียวเท่านั้น, Thai Definition: การลงคะแนนเสียงเพื่อเลือกบุคคลขึ้นมาดำรงตำแหน่งในการทำหน้าที่แทนตนเอง | การเลือกตั้ง | (n) election | เขตเลือกตั้ง | (n) electorate, Example: กกต.กล่าวถึงความคืบหน้าในการประกาศผลการรับรองเขตเลือกตั้งที่มีปัญหา, Count Unit: เขต, Thai Definition: ท้องที่ซึ่งจัดเป็นเขตโดยมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกสภาท้องถิ่น | บัตรเลือกตั้ง | (n) ballot, See also: ballot-paper, ticket, Example: กลวิธีหนึ่งในการโกงคะแนนเสียง ได้แก่ การลอบใส่บัตรเลือกตั้งในหีบลงบัตรตั้งแต่ก่อนมีการลงคะแนน, Count Unit: บัตร, ใบ | เลือกตั้งซ่อม | (v) re-elect, Example: เราต้องกลับบ้านสิ้นเดือนนี้เพื่อกลับไปเลือกตั้งซ่อม, Thai Definition: เลือกสรรบุคคลให้เป็นผู้แทนหรือให้ดำรงตำแหน่งด้วยการออกเสียงลงคะแนนอีกครั้งหนึ่ง, Notes: (กฎหมาย) | หน่วยเลือกตั้ง | (n) polling station, See also: polling place | ผู้ลงรับเลือกตั้ง | (n) (politicate) candidate, See also: office-seeker, Syn. ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง, ผู้ลงสมัคร, ผู้สมัครรับเลือกตั้ง, Ant. ผู้เลือกตั้ง, Example: จนถึงวันนี้ มีผู้ลงรับเลือกตั้งทั้งหมดจำนวน 11 คน, Count Unit: คน | ลงสมัครรับเลือกตั้ง | (v) be a candidate for, Syn. สมัครรับเลือกตั้ง, Ant. ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, Example: นายชวน หลีกภัยลงสมัครรับเลือกตั้งผู้แทนราษฎรที่จังหวัดตรัง, Thai Definition: ขอเข้ารับการเลือกตั้ง | ผู้ขายเสียงเลือกตั้ง | (n) floater, Syn. ผู้ขายเสียง, Count Unit: คน | ผู้สมัครรับเลือกตั้ง | (n) candidate, Example: ผู้สมัครรับเลือกตั้งทั่วประเทศกำลังขับเคี่ยวในสนามเลือกตั้งอย่างหนัก, Count Unit: คน | สำนักงานคณะกรรมการเลือกตั้ง | (n) Election Commission of Thailand | ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง | (n) elector, See also: qualified voter |
|
| เขตเลือกตั้ง | น. ท้องที่ที่กำหนดเป็นเขตสำหรับจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติหรือผู้บริหารท้องถิ่น. | เลือกตั้ง | ก. เลือกสรรบุคคลให้เป็นผู้แทนหรือให้ดำรงตำแหน่งด้วยการออกเสียงลงคะแนน เช่น เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เลือกตั้งกรรมการ. | การยุบสภา | น.อำนาจของฝ่ายบริหารในการประกาศให้สภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง เพื่อจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใหม่ การยุบสภาต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกา. | การออกเสียงประชามติ | น. การขอความเห็นชอบจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่อาจกระทบถึงประโยชน์ส่วนได้เสียของประเทศชาติหรือประชาชน โดยวิธีการให้ออกเสียงลงมติโดยตรง. | ขาวสะอาด | ว. ไม่มีข้อสงสัยว่าผิดกติกา (มักใช้แก่การแข่งขัน) เช่น เขาชนะการเลือกตั้งอย่างขาวสะอาด. | คุณสมบัติ | (คุนนะสมบัด, คุนสมบัด) น. คุณงามความดี, คุณลักษณะประจำตัวของบุคคล เช่น คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง, ลักษณะประจำของสิ่งนั้น ๆ เช่น สมุนไพรส่วนใหญ่มีคุณสมบัติเป็นยารักษาโรค. | คูหา | โดยอนุโลมใช้เรียกช่องที่กั้นไว้เป็นสัดส่วนสำหรับใช้ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คูหาลงคะแนนในที่เลือกตั้งสำหรับใช้ในการกาบัตรออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง. | เชียร์ | ส่งเสริมหรือสนับสนุน เช่น เชียร์ให้ลงสมัครรับเลือกตั้ง. | นอนหลับทับสิทธิ์ | ก. ไม่ใช้สิทธิ์ที่ตนมีอยู่เมื่อถึงคราวที่ควรจะใช้, ทับสิทธิ์ ก็ว่า, (กฎ; ปาก) ไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง. | บัตร | (บัด) น. แผ่นเอกสารแสดงสิทธิของผู้ใช้เป็นต้น มักทำด้วยกระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เช่น บัตรประจำตัว บัตรเลือกตั้ง บัตรสมนาคุณ | ใบปลิว | น. กระดาษที่ลงข่าวสารหรือข้อมูลโฆษณาขนาดสั้น เช่น แผ่นปลิวโฆษณาการเลือกตั้ง แผ่นปลิวขายยาสมุนไพร แผ่นปลิวโฆษณาอาหาร, แผ่นปลิว ก็เรียก. | ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง | น. ผู้ซึ่งได้รับเลือกตั้งหรือแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งทางการเมือง เช่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี นายกเทศมนตรี. | ผู้แทนราษฎร | น. บุคคลที่ได้รับเลือกตั้งจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งให้ทำหน้าที่นิติบัญญัติในสภา, (ปาก) ผู้แทน. | ผู้บริหารท้องถิ่น | น.ผู้ซึ่งได้รับเลือกตั้ง หรือแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของสภาท้องถิ่นให้ทำหน้าที่บริหารกิจการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรี. | แผ่นปลิว | น. กระดาษที่ลงข่าวสารหรือข้อมูลโฆษณาขนาดสั้น เช่น แผ่นปลิวโฆษณาการเลือกตั้ง แผ่นปลิวขายยาสมุนไพร แผ่นปลิวโฆษณาอาหาร, ใบปลิว ก็เรียก. | พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ | น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคำแนะนำและยินยอมของฝ่ายนิติบัญญัติในเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ เช่น เรื่องเกี่ยวกับการเลือกตั้ง พรรคการเมือง ศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญกำหนดหลักเกณฑ์ในการเสนอ การพิจารณาและการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญไว้เป็นพิเศษแตกต่างจากพระราชบัญญัติ. | ไพ่ไฟ | น. บัตรลงคะแนนเสียงเลือกตั้งที่ลงด้วยวิธีการทุจริต | รณรงค์ | ก. ต่อสู้, โฆษณาชักชวนอย่างต่อเนื่องโดยมีเจตนาที่จะต่อสู้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่ต้องการ เช่น รณรงค์หาเสียงในการเลือกตั้ง รณรงค์ให้คนไทยใช้ของไทย. | วุฒิสภา | น. สภานิติบัญญัติสภาหนึ่ง อาจประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการแต่งตั้ง เลือกตั้ง หรือแต่งตั้งและเลือกตั้งผสมกัน มีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมายและหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด. | สภาผู้แทนราษฎร | น. สภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติของประเทศ ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชน มีหน้าที่ให้คำแนะนำและยินยอมในการตรากฎหมาย การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน และหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด. | เสียง | ความเห็น เช่น เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง, ความนิยม เช่น คนนี้เสียงดี มีหวังได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, คะแนนเสียง เช่น ลงมติกันแล้วเขาชนะเพราะได้เสียงข้างมาก. | เสียงแข็ง | น. คะแนนเสียงดี เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงแข็งมาก คงได้รับเลือกตั้งแน่. | เสียงดี | โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงหนาแน่น เช่น เขาเป็นนักการเมืองที่มีคนนิยมมาก ลงสมัครรับเลือกตั้งแต่ละครั้งมีเสียงดีเสมอ. | เสียงตก | โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงต่ำลง เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงตกไปมาก สงสัยว่าในการเลือกตั้งครั้งนี้คงจะไม่ได้รับเลือก. | หัวคะแนน | น. ผู้รับหาคะแนนเสียงให้แก่ผู้สมัครรับเลือกตั้ง. | ออกเสียง | ลงคะแนนเลือกตั้ง |
| politics, peanut | การเมืองแบบเอาแต่ชนะ (การเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | poll | ๑. การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง๒. การหยั่งเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | poll | ๑. การหยั่งเสียง (ก. ปกครอง)๒. การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง (ก. ปกครอง)๓. การลงคะแนนลับ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | pocket borough | เขตเลือกตั้งใต้อิทธิพล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | popular vote | คะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | permanent registration | การทำบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งถาวร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | psephology | วิทยาการเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | peanut politics | การเมืองแบบเอาแต่ชนะ (การเลือกตั้ง ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | pooling place | ที่ลงคะแนนเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | periodic registration | การทำบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งเป็นระยะ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | party list | บัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งของพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | primary election | การเลือกตั้งผู้สมัครรอบแรก (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | paster | แผ่นหมายเลขผู้สมัครรับเลือกตั้ง, แผ่นชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง (เพื่อใช้ปิดลงในบัตรเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | primary, runoff | การเลือกตั้งผู้สมัครรอบสอง (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | long ballot | การลงคะแนนเลือกตั้งหลายตำแหน่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | list, eligibility | บัญชีรายชื่อผู้มีคุณสมบัติสมัครรับเลือกตั้ง, บัญชีรายชื่อผู้มีคุณสมบัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | lame duck session | สมัยประชุมสภาที่มีสมาชิกไม่ได้รับเลือกตั้งซ้ำ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | list system | ระบบเลือกตั้งตามรายชื่อ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legal voter | ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | literacy test | การทดสอบการรู้หนังสือ (เกี่ยวกับสิทธิเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | recall | การถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | redistricting | ๑. การกำหนดเขตใหม่๒. การกำหนดเขตเลือกตั้งใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | returns | ๑. รายงานผลการเลือกตั้ง๒. รายงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rally | ๑. การชุมนุม๒. การชุมนุมเพื่อหาเสียงเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | registration, permanent | การทำบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งถาวร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | re-eligibility | คุณสมบัติที่จะได้รับเลือกตั้งซ้ำ, คุณสมบัติที่จะได้รับแต่งตั้งซ้ำ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | runoff primary | การเลือกตั้งผู้สมัครรอบสอง (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | repeater | ผู้เวียนลงคะแนนเลือกตั้ง (หลายครั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | registration, periodic | การทำบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งเป็นระยะ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rotten borough | เขตเลือกตั้งที่ไม่เหมาะสม [ ดู gerrymander ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | suffrage, woman | สิทธิออกเสียงเลือกตั้งของผู้หญิง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | suffragette | สตรีที่เรียกร้องสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | suffragist | ผู้เรียกร้องสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | split ticket | บัตรเลือกตั้งแยกพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | secret ballot | การลงคะแนนเลือกตั้งลับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | straight ticket | บัตรเลือกตั้งรวมเป็นพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | second ballots | การเลือกตั้งรอบที่สอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | short ballot | การลงคะแนนเลือกตั้งน้อยตำแหน่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | single-member district | เขตเลือกตั้งที่มีผู้แทนได้คนเดียว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | slate | รายชื่อผู้ที่จะส่งสมัครรับเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | slate | รายชื่อผู้ที่จะส่งสมัครรับเลือกตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | system, list | ระบบเลือกตั้งตามรายชื่อ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | stub, ballot | ต้นขั้วบัตรเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | session, lame duck | สมัยประชุมสภาที่มีสมาชิกไม่ได้รับเลือกตั้งซ้ำ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | special election | ๑. การเลือกตั้งซ่อม (อเมริกัน)๒. การเลือกตั้งพิเศษ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | suffrage | สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง, การออกเสียงเลือกตั้ง [ ดู franchise ๑ ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | suffrage | สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง, การออกเสียงเลือกตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | suffrage, manhood | สิทธิออกเสียงเลือกตั้งของผู้ชาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | suffrage, universal | สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | son, favourite | ตัวเก็งของท้องถิ่น (ในการเลือกตั้งประธานาธิบดี) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Campaign management | การจัดการการหาเสียงเลือกตั้ง [TU Subject Heading] | Election forecasting | พยากรณ์การเลือกตั้ง [TU Subject Heading] | Election law | กฎหมายเลือกตั้ง [TU Subject Heading] | Election monitoring | การสังเกตการณ์การเลือกตั้ง [TU Subject Heading] | Election officials | ข้าราชการและพนักงานการเลือกตั้ง [TU Subject Heading] | Elections | การเลือกตั้ง [TU Subject Heading] | Elections in literature | การเลือกตั้งในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Internet in political campaigns | อินเตอร์เน็ตในการหาเสียงเลือกตั้ง [TU Subject Heading] | Local elections | การเลือกตั้งท้องถิ่น [TU Subject Heading] | Political campaigns | การหาเสียงเลือกตั้ง [TU Subject Heading] | Political candidates | ผู้สมัครรับเลือกตั้งทางการเมือง [TU Subject Heading] | Presidential candidates | ผู้สมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดี [TU Subject Heading] | Suffrage | สิทธิเลือกตั้ง [TU Subject Heading] | apartheid | การปกครองประเทศแบบแบ่งแยกผิวพันธุ์ เป็นระบบปกครองที่ใช้ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งโดยไม่ แบ่งแยกผิวพันธุ์ครั้งแรกขึ้นระหว่างวันที่ 26-29 เมษายน 2537 ในระบบการปกครองดังกล่าว ประชาชนแอฟริกาใต้ผิวดำถูกจำกัดสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิทางด้านการเมือง สิทธิการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิรับสมัครเลือกตั้ง การเป็นสมาชิกรัฐสภา การมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินบางพื้นที่ การเลือกที่อยู่อาศัย การใช้สถานที่พักผ่อน การรับราชการ การเข้ารับการศึกษา การประกอบอาชีพ และการใช้บริการสาธารณูปโภคจากรัฐบาล เป็นต้น [การทูต] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เป็นคณะกรรมาธิการหลัก ซึ่งรับผิดชอบในการเสาะหามาตรการในการส่งเสริมเรื่องสิทธิมนุษยชนในประเทศ ต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งตรวจสอบและสอดส่องการดำเนินการด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษย ชนในประเทศต่าง ๆ ด้วย คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 53 ประเทศ มาจากการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งวาระละ 3 ปี คณะกรรมาธิการฯ โดยจะมีการประชุมเป็นประจำทุกปี ประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ณ นครเจนีวา ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งเข้าเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการฯ สำหรับวาระ พ.ศ. 2544-2546 [การทูต] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Commission on Sustainable Development | คณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน (ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมาธิการฯ สำหรับวาระปี พ.ศ. 2548-2550) [การทูต] | European Parliament | สภายุโรป เป็นองค์กรหนึ่งในสหภาพยุโรป สมาชิกสภายุโรปจะเป็นผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกตั้งมาจากกลุ่มประเทศสมาชิก สหภาพยุโรป ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2505 [การทูต] | Foreign Policy | นโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ [การทูต] | Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] | International Civil Aviation Organization | เรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ [การทูต] | International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] | International Law Commission of the United Nations | คือคณะกรรมการกฎหมายระหว่างประเทศของสหประชาชาติ มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมปรับปรุงกฎหมายระหว่า ประเทศ รวมทั้งการทำประมวลกฎหมายให้ก้าวหน้าและทันสมัยคณะกรรมาธิการนี้ประกอบด้วย สมาชิกรวม 25 คน ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งสมาชิกคราวละ 5 ปี และจะทำงานในคณะกรรมาธิการในฐานะตัวบุคคล มิใช่เป็นตัวแทนจากประเทศของตน ตลอดการประชุมสมัชชาสหประชาชาติเป็นจำนวนหลายสมัยมาแล้ว คณะกรรมาธิการได้ทำหน้าที่ร่างกฎหมายในเรื่องต่าง ๆ ที่เป็นกฎหมายระหว่างประเทศเป็นจำนวนไม่น้อย บางเรื่องได้ริเริ่มขึ้นเองโดยคณะกรรมาธิการ แต่บางเรื่องทางสมัชชาสหประชาชาติหรือคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ได้ส่งไปให้พิจารณาดำเนินการคณะกรรมาธิการได้ร่างสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายทาง ทะเลไปแล้วไม่น้อยกว่า 4 ฉบับ เช่น อนุสัญญาว่าด้วยทะเลหลวง อนุสัญญาว่าด้วยอาณาเขตทางทะเลและพื้นที่ติดชายฝั่งอนุสัญญาเกี่ยวกับการจับ ปลา การอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีชีวิตในท้องทะเลหลวง พร้อมทั้งได้รับสัตยาบันสารจากประเทศต่าง ๆ ไว้แล้วเป็นจำนวนมาก เมื่อ ค.ศ.1961 และ 1963 คณะกรรมาธิการได้จัดให้มีการประชุมใหญ่สองครั้งตามลำดับ ณ กรุงเวียนนา พร้อมทั้งได้ลงมติรับรองอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต และอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล [การทูต] | Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] | State Peace and Development Council | สภาเพื่อสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ เป็นองค์กรปกครองสูงสุดของพม่าในปัจจุบัน เดิมมีชื่อว่าสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (SLORC - State Law and Order Restoration Council) อันเป็น กลุ่มทหารพม่าที่เข้ายึดอำนาจการปกครองในวันที่ 18 กันยายน 2531 ภายหลังจากที่ประชาชนชาวพม่าได้ออกมาเดินขบวนประท้วงรัฐบาลภายใต้การนำของ พรรคโครงการสังคมนิยมพม่า การเข้ายึดอำนาจรัฐในครั้งนั้นเป็นไปอย่างนองเลือดและคณะทหารดังกล่าวได้ให้ สัญญาว่าจะจัดให้มีการเลือกตั้ง แต่ภายหลังการเลือกตั้งในวันที่ 27 พฤษภาคม 2533 SLORC กลับปฏิเสธที่จะมอบอำนาจการปกครองให้แก่พรรค National League for Democracy (NLD) และเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2540 SLORC ก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น SPDC [การทูต] | The Nordic Council | องค์การที่ตั้งขึ้นเพื่อทำการปรึกษาหารือกัน ระหว่างรัฐสภาของประเทศเดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน รวมทั้งรัฐบาลของประเทศเหล่านี้ เกี่ยวกับเรื่องที่จะต้องปฎิบัติร่วมกัน กฎข้อบังคับของคณะรัฐมนตรี (Council) ซึ่งประกอบด้วยประเทศเหล่านี้ ได้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1958 คณะมนตรีประกอบด้วยผู้แทนซึ่งได้รับการเลือกตั้ง 69 คน รวมทั้งผู้แทนของรัฐบาลด้วย คณะมนตรีนี้ไม่มีสำนักงานถาวร และไม่มีสำนักเลขาธิการระหว่างประเทศ การประชุมได้กระทำกันโดยหมุนเวียนไปตามนครหลวงของประเทศสมาชิก [การทูต] | The Overseas Election Coordination Centre | ศูนย์ประสานงานการเลือกตั้งนอกราชอาณาจักร [การทูต] | United Nations Security Council | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ " ประกอบด้วยสมาชิกสหประชาชาติ 15 ประเทศ แบ่งออกเป็นสมาชิกถาวร 5 ประเทศ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา (กำหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ) และสมาชิกไม่ถาวรที่มาจากการเลือกตั้งจากสมัชชาฯ อีก 10 ประเทศ มีกำหนดคราวละ 2 ปี คณะมนตรีความมั่นคงฯ ทำหน้าที่หลักในการธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ โดยกระทำในนามของสมาชิกสหประชาชาติทั้งหมด และสมาชิกสหประชาชาติมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามคำวินิจ- ฉัยของคณะมนตรีความมั่นคงฯ " [การทูต] | Voting Procedure in the United Nations | วิธีการลงคะแนนเสียงในที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ในเรื่องนี้ สมาชิกแต่ละประเทศมีคะแนนเสียง 1 คะแนน ข้อมติของสมัชชาในปัญหาสำคัญ (Important Questions) จะกระทำโดยถือคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 ของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียง ที่เรียกว่าปัญหาสำคัญนั้นได้แก่ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การเลือกตั้งสมาชิกไม่ประจำของคณะมนตรีความมั่นคง การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีเศรษฐกิจและการสังคม การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีภาวะทรัสตี การรับสมาชิกใหม่ของสหประชาชาติ การงดใช้สิทธิและเอกสิทธิแห่งสมาชิกภาพ การขับไล่สมาชิก ปัญหาการดำเนินงานของระบบภาวะทรัสตี และปัญหางบประมาณ คำวินิจฉัยปัญหาอื่น ๆ รวมทั้งการกำหนดประเภทแห่งปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 เพิ่มเติมนั้น จัดกระทำโดยอาศัยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียงอนึ่ง ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งจักต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด (Absolute majority) ในที่ประชุมของสมัชชาและในที่ประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงด้วย นอกจากนี้สมาชิกสหประชาชาติที่ค้างชำระค่าบำรุงแก่องค์การ ย่อมไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงในสมัชชา ถ้าหากจำนวนเงินที่ค้างชำระเท่าหรือมากกว่าจำนวนเงินค่าบำรุงที่ถึงกำหนด ชำระสำหรับ 2 ปีเต็มที่ล่วงมา อย่างไรก็ตาม สมัชชาอาจอนุญาตให้สมาชิกเช่นว่านั้นลงคะแนนเสียงก็ได้ ถ้าทำให้เป็นที่พอใจได้ว่า การไม่ชำระนั้น เนื่องมาจากภาวะอันอยู่นอกเหนืออำนาจควบคุมของสมาชิกนั้น [การทูต] |
| I got legal problems. | ชั้นบอกว่าให้นายยอมแพ้การเลือกตั้งแระธานนักเรียนสะเถอะ Hero (1992) | Great idea. Maybe we can get him elected senator. | ความคิดที่ดี บางทีเราอาจจะได้รับเขาได้รับการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา 12 Angry Men (1957) | Think on it. The remedy is in your hands... | วิธีการรักษาอยู่ในมือของคุณคุณผู้มี สิทธิเลือกตั้ง Help! (1965) | He never had a chance to vote. | เขายังไม่มีโอกาส ได้เลือกตั้งด้วยซ้ำ An American Tail (1986) | Oh... hmm... are they registered to vote? | โอ... ฮืม... พวกเขาลงทะเบียน เลือกตั้งหรือยังน่ะ An American Tail (1986) | We're talking a Sunday drive into some serious dementia. | ผู้หญิงมีให้เลือกตั้งมากมาย ผู้ชายก็ยังดี.. แต่หมอนี่วิปริตสุด ๆ Mannequin (1987) | Or if it's election night and you want to celebrate, because some fudge-packer was elected the first queer president. | หรือคุณอยากจะฉลอง คืนวันเลือกตั้ง... ...เพราะว่าคู่ขาคุณชนะการเลือกตั้ง ได้เป็นประธานาธิบดีกะเทยคนแรก As Good as It Gets (1997) | This is why I don't vote. | ก็นี่ไง ฉันเลยไม่ไปเลือกตั้ง Death Has a Shadow (1999) | I know that you're thinking of running for senator. | คุณกำลังลงสมัครเลือกตั้ง ส.ว. Maid in Manhattan (2002) | He may have a lot of scientists he may be a very good person but I didn't elect him to do anything. | เขาอาจมีนักวิทยาศาสตร์เยอะแยะ เขาอาจเป็นคนดีมาก แต่ผมไม่ได้เลือกตั้งเขาเข้ามา The Corporation (2003) | This has to wait until after the election. I can't deal with this. | นี้จะรอจนกว่าหลังการเลือกตั้ง ฉันไม่สามารถจัดการกับเรื่องนี้ The Birdcage (1996) | He's running for reelection. | เขาทำงานเลือกตั้ง และเธอบอกเขาว่า ... The Birdcage (1996) | I've made your mother cry. I'm up for reelection. | ฉันได้ทำร้องไห้แม่ของคุณ ฉันขึ้นสำหรับการเลือกตั้ง The Birdcage (1996) | I suppose I had that coming for screwing up your reelection chances, eh? | ฉันคิดว่าฉันมีที่มาสำหรับการกวดขัน ถึงโอกาสในการเลือกตั้งของคุณใช่มั้ย? Dante's Peak (1997) | I'll take three hundred orders! To go! | ชั้นหาทางมาให้เลือกตั้ง300กว่า ที่จะไป... Madagascar (2005) | See, I've been approached by several very influential people wondering if I'd be interested in standing for governor. | ผู้มีอิทธิพลหลายคนเคยมาทาบฉัน... ไปลงสมัครเลือกตั้งผู้ว่าการรัฐ The Longest Yard (2005) | Before the St. Mary's crises no one would have predicted the results of the election that year. | ก่อนวิกฤตการณ์ที่ เซนต์แมรี่... ...ไม่มีใครคาดเดาผล การเลือกตั้งในปีนั้นได้. V for Vendetta (2005) | And then not long after the election, lo and behold, a miracle. | และไม่นานหลังจากการเลือกตั้ง, ทุกอย่างก็เป็นไปตามแผน. V for Vendetta (2005) | I looked for a long time, and I finally bought the most revealing one. | เลือกตั้งนานแน่ะ / ในที่สุดก็ได้มา Initial D (2005) | Were there free elections? Any chance of a recount? | มาจากการเลือกตั้งหรือ นับคะแนนใหม่ได้ใหม? Happily N'Ever After (2006) | We, as Americans, decided that of course women should have the right to vote. | เราในฐานะคนอเมริกันตัดสินใจ ว่าผู้หญิงควรมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง An Inconvenient Truth (2006) | I'm running for Congress. | ไม่ใช่เรื่องใหญ่เหรอ นี่ผมกำลังหาเสียงเลือกตั้งนะ Chapter One 'Genesis' (2006) | Part of a philosophy that I campaigned on, was elected for. | ปรัชญาที่พ่อใช้หาเสียงแล้วได้รับเลือกตั้งขึ้นมา The Rat (2006) | I'm running on a platform of moral, mental, and social advancement through good deeds. | เป็นผลกับการเลือกตั้งประธานนักเรียน หนูต้องรีบไปที่เวทีพูดเกี่ยวกับศีลธรรม, ความเชื่อถือ Chapter Three 'One Giant Leap' (2006) | He has a list of targets, including a man who's running for Congress. | เขามีรายชื่อเหยื่อทุกคน รวมถึงคนที่สมัครเลือกตั้งด้วย Chapter Three 'One Giant Leap' (2006) | I know that guy. He's running for Congress. | ฉันรู้จักคนนี้ เขาลงสมัครเลือกตั้งผู้ว่ารัฐ Chapter Four 'Collision' (2006) | It's your job to be nervous. It's my job to get elected. | นั่นมันเป็นหน้าที่ของคุณ แต่ผมจะต้องชนะการเลือกตั้ง Chapter Four 'Collision' (2006) | 12% of the electorate strongly opposes me. | มีผู้ลงสมัครเลือกตั้ง 12% ที่เกลียดผม Chapter Four 'Collision' (2006) | Fine. | มีผู้สมัครลงรับเลือกตั้ง Chapter Five 'Hiros' (2006) | I know you. Nathan Petrelli. Election. | คุณรู้มั้ยว่าผมชนะการเลือกตั้งรึเปล่า Chapter Five 'Hiros' (2006) | Uh, give me ride, please. | คุณชนะการเลือกตั้ง Chapter Five 'Hiros' (2006) | Especially considering your wife. | สำหรับผู้สมัครเลือกตั้งที่มีครอบครัวแล้ว Chapter Five 'Hiros' (2006) | Why don't you just give me my four million, and I'll fly back to New York and put it to good use? | มันคงไม่แย่ไปกว่านี้ถ้าชนะการเลือกตั้งใช่มั้ย Chapter Five 'Hiros' (2006) | Oh, that was... Oh. | แต่ 4 ล้านจะทำให้ผมชนะการเลือกตั้ง Chapter Five 'Hiros' (2006) | However, president Clinton is facing an election next year... | อย่างไรก็ดี ประธานธิบดีคลินตันก็ต้องเผชิญกับการเลือกตั้งใหม่ในปีหน้า.. Heavenly Forest (2006) | Final Episode. | เลือกตั้ง! -ฉันจะสืบทอดแก๊งค์คมเขี้ยวแห่งคันโตเอง My Boss, My Hero (2006) | (MAN CHATTERING) | และถ้าผมชนะการเลือกตั้งนี้ เขาก็เป็นเหตุผล Chapter Twenty-One 'The Hard Part' (2007) | Your father led Sylar right to her. | เราจะประกาศหลังจากการเลือกตั้ง Chapter Twenty-One 'The Hard Part' (2007) | The clock's broken. | โดยเฉพาะในวันเลือกตั้ง Chapter Twenty-One 'The Hard Part' (2007) | My father took a bullet to keep me from that man, and now he's with Nathan. | เขาจะทำอย่างนั้นทำไม? เพื่อคุณและการเลือกตั้งของคุณ Chapter Twenty-One 'The Hard Part' (2007) | He's leaving for North Carolina. The primary's in three days. | ผมจะไปที่นอร์ท แคโรไลน่า การเลือกตั้งจะมีขึ้นในอีก 3 วัน Shoot 'Em Up (2007) | In the latest poll, Senator Rutledge... continues to be the Democratic frontrunner... heading into next week's Super Tuesday primary. | วุฒิสมาชิกรูทเลดจ์เดินหน้าต่อกับการเป็นผู้นำเดโมแครต... . ก่อนการเลือกตั้งจะมีขึ้นในวันอังคาร Shoot 'Em Up (2007) | With respect, if that was your son just back from Iraq I don't think you'd be as happy about tossing this case off so you look better come election time. | ด้วยความเคารพค่ะ ถ้าเป็นลูกคุณที่เพิ่ง กลับจากอิรัก... ...ฉันไม่คิดว่าคุณจะสุขใจ ถ้าคุณถอนคดีนี้... ...เพื่อจะได้ดูดีตอนเลือกตั้ง In the Valley of Elah (2007) | In the second round of the Presidential elections... | ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีรอบที่สอง Frontier(s) (2007) | The timing of your call two weeks before my election, that's not a coincidence, is it? | จังหวะเวลาที่คุณโทรมา 2 อาทิตย์ก่อนการเลือกตั้งของผม นั่นมันไม่ใช่เรื่องบังเอิญ, ใช่ไหม? Chapter Fifteen 'Run!' (2007) | Besides, I'm this girl's father, Mom. | ใกล้เลือกตั้งมากแล้วไม่ใช่หรือ? Chapter Fifteen 'Run!' (2007) | Or I could offer you something. | คุณจะชนะการเลือกตั้ง ผมมองเห็น Chapter Eighteen 'Parasite' (2007) | Do you think I'd leave that to chance? | การปรบมือเรียกตัวละครของปีเตอร์ จะมาหนึ่งวันหลังจากที่คุณได้รับเลือกตั้ง Chapter Nineteen '.07%' (2007) | What, that guy? It's his fault we're in here. | จนกว่าหลังเลือกตั้ง Chapter Nineteen '.07%' (2007) | (GRUNTS) | แต่เพื่อทำสิ่งนั้น ฉันต้อง... การเลือกตั้ง Chapter Nineteen '.07%' (2007) |
| บัตรเลือกตั้ง | [bat leūaktang] (n, exp) EN: ballot ; ballot paper ; donkey vote FR: bulletin de vote [ m ] | ใช้สิทธิเลือกตั้ง | [chai sitthi leūaktang] (v, exp) EN: exercise one's right of vote FR: exercer son droit de vote | หีบบัตรเลือกตั้ง | [hīp bat leūaktang] (n, exp) EN: ballot box FR: urne (électorale) [ f ] | กำหนดเลือกตั้ง | [kamnot leūaktang] (v, exp) EN: call an election ; set an election FR: appeler à une élection ; décider une élection ; fixer une élection | การเลือกตั้ง | [kān leūaktang = kān leuaktang] (n) EN: general election FR: élection [ f ] ; élections [ fpl ] ; élections législatives [ fpl ] ; votation (Sui.) [ f ] | การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา | [kān leūaktang prathānāthibødī Saharat Amērikā] (xp) EN: United States presidential election FR: élections présidentielles américaines [ fpl ] | การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา | [kān leūaktang samāchik wutthisaphā] (n, exp) FR: élections sénatoriales [ fpl ] | การเลือกตั้งซ่อม | [kān leūaktang sǿm] (n, exp) EN: by-election | การเลือกตั้ง ส.ส. | [kān leūaktang sø.sø.] (n, exp) FR: élections législatives [ fpl ] | การเลือกตั้ง ส.ว. | [kān leūaktang sø.wø.] (n, exp) FR: élections sénatoriales [ fpl ] | การเลือกตั้งทั่วไป | [kān leūaktang thūapai] (n, exp) EN: general elction FR: élection générale [ f ] ; élections générales [ fpl ] | เขตเลือกตั้ง | [khēt leūaktang] (n, exp) EN: constituency FR: circonscription électorale [ f ] ; canton électoral [ m ] (Belg., Sui.) | เกี่ยวกับการเลือกตั้ง | [kīokap kān leūaktang] (adj) EN: electoral FR: électotal | เลือกตั้ง | [leūaktang = leuaktang] (v) EN: elect ; ballot FR: élire ; voter | ลงคะแนนเลือกตั้ง | [longkhanaēn leūaktang] (v) EN: vote ; ballot FR: voter | ลงรับเลือกตั้ง | [long rap leūaktang] (v, exp) EN: contest | ลงสมัครรับเลือกตั้ง | [longsamak rap leūaktang] (v, exp) EN: run for election ; be a candidate for FR: se présenter aux élections | หน่วยเลือกตั้ง | [nūay leūaktang] (n, exp) EN: polling station ; polling place FR: bureau de vote [ m ] | ออกเสียงเลือกตั้ง | [øksīeng leūaktang] (v) EN: vote ; vote by voice; cast a ballot FR: voter ; voter à voix haute | ไปเลือกตั้ง | [pai leūaktang] (v, exp) EN: go to the polls FR: aller voter ; se rendre aux urnes | ไปออกเสียงเลือกตั้ง | [pai øksīeng leūaktang] (v, exp) EN: go to tke polls FR: aller voter ; se rendre aux urnes | ผลการเลือกตั้ง | [phon kān leūaktang] (n, exp) EN: returns ; outcome ; results of an election FR: résultat d'une élection [ mpl ] ; verdict des urnes [ m ] | ผู้ได้รับเลือกตั้ง | [phū dāirap leūaktang] (n, exp) EN: elected representative FR: élu [ m ] | ผู้ขายเสียงเลือกตั้ง | [phū khāi sīeng leūaktang] (n, exp) EN: floater | ผู้เลือกตั้ง | [phūleūaktang] (n) FR: électeur [ m ] ; électrice [ f ] | ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง | [phū mī sit leūaktang] (n, exp) EN: eligible voter ; elector ; constituent FR: électeur [ m ] ; électrice [ f ] | ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง | [phū mī sit long khanaēnsīeng leūaktang] (xp) EN: elector ; qualified voter ; constituent FR: électeur [ m ] ; électrice [ f ] | ผู้สมัครรับเลือกตั้ง | [phūsamak rap leūaktang] (n, exp) EN: candidate ; election candidate FR: candidat (à des élections) [ m ] ; candidate (à des élections) [ f ] | สิทธิเลือกตั้ง | [sitthi leūaktang] (n, exp) EN: right of vote FR: droit de vote [ m ] | ทุ่มเงินซื้อเสียงเลือกตั้งได้ | [thum ngoen seū sīeng leūaktang dāi] (v, exp) EN: buy votes to get elected ; get elected to bribery ; tamper with voters | วันเลือกตั้ง | [wan leūaktang] (n, exp) EN: general election date FR: jour des élections [ m ] | หย่อนบัตรเลือกตั้ง | [yǿn bat] (v, exp) EN: drop a ballot ; cast a ballot | หย่อนบัตรเลือกตั้ง | [yǿn bat leūaktang] (v, exp) EN: cast a ballot FR: voter |
| | by-election | (n) การเลือกตั้งสมาชิกสภาที่ตายหรือลาออกของอังกฤษ, See also: การเลือกตั้งซ่อม | be in | (phrv) ได้รับเลือกตั้ง, Syn. get in | caretaker government | (n) รัฐบาลชั่วคราวที่ตั้งขึ้นเพื่อรอการเลือกตั้งครั้งใหม่ | constituency | (n) ผู้ที่มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้ง | canvass for | (phrv) ลงเสียงสนับสนุน (ก่อนการเลือกตั้งจริง), See also: ออกเสียงให้ | count out | (phrv) ออกจากการเลือกตั้งเพราะเสียงสนับสนุนไม่ถูกต้อง | fling one's hat into the ring | (idm) ประกาศว่าจะเข้าร่วม (การแข่งขันหรือการเลือกตั้ง), Syn. throw into, toss into | elect | (vt) คัดเลือก, See also: เลือก, คัด, ออกเสียงเลือกตั้ง, Syn. choose, select | electioneer | (vi) รณรงค์หาเสียงให้ผู้สมัครรับเลือกตั้ง, See also: รณรงค์หาเสียงในการเลือกตั้ง, Syn. campaign, canvass | elective | (adj) โดยการเลือกตั้ง, See also: เกี่ยวกับการเลือกตั้ง, Syn. electoral | elector | (n) ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง, See also: ผู้เลือก, Syn. voter | electoral | (adj) เกี่ยวกับการเลือกตั้ง, Syn. elective | electorate | (n) ผู้ที่มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมดในท้องที่หรือเขตหนึ่งๆ, See also: เขตเลือกตั้งของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | enfranchise | (vt) ให้มีสิทธิเลือกตั้ง, See also: ให้สิทธิเลือกตั้ง | get in | (phrv) ได้รับเลือกตั้ง, See also: ถูกเลือก, Syn. be in, come in | go to the country | (idm) จัดเลือกตั้งทั่วไป | gerrymander | (vi) ใช้กลโกงในการเอาชนะเลือกตั้ง | landslide victory | (idm) ชัยชนะสำคัญ (ในการเลือกตั้ง) | knock up | (phrv) พยายามหาคะแนนเสียง (การเลือกตั้ง) | national convention | (n) การประชุมพรรคเพื่อเลือกผู้สมัครเลือกตั้งประธานาธิบดี | nomination | (n) การได้รับเสนอชื่อเข้ารับรางวัลหรือชิงตำแหน่ง, See also: การเสนอชื่อเข้ารับการเลือกตั้ง, Syn. choosing, electing, naming, selection | nominative | (adj) เกี่ยวกับการได้รับเสนอชื่อเพื่อชิงตำแหน่ง/รับการเลือกตั้ง | nominee | (n) ผู้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงตำแหน่ง, See also: ผู้ได้รับเสนอชื่อเข้ารับเลือกตั้ง, Syn. applicant, candidate, seeker | overall majority | (n) เสียงส่วนใหญ่ในการเลือกตั้ง | platform | (n) นโยบายพรรคที่แถลงก่อนการเลือกตั้ง, See also: แผนงาน, หลักการ, Syn. policies, principles | poll | (n) การเลือกตั้ง | poll | (n) ผลคะแนนการออกเสียงเลือกตั้ง, See also: ผลการเลือกตั้ง, ผลการนับคะแนนเสียง | poll | (vt) ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, See also: ออกเสียงเลือกตั้ง, ออกเสียงลงคะแนน, Syn. ballot | poll | (vi) ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, See also: ออกเสียงเลือกตั้ง, ออกเสียงลงคะแนน, Syn. ballot | polls | (n) สถานที่เลือกตั้ง | pre-election | (adj) ซึ่งเกิดก่อนการเลือกตั้ง | pre-election | (adj) ซึ่งเกิดก่อนการเลือกตั้ง | psephology | (n) การประเมินผลการเลือกตั้งทางสถิติ | plunk for | (phrv) ออกเสียงเลือกตั้ง, Syn. plump for | put in | (phrv) เลือกตั้ง, See also: ลงคะแนนเลือก, Syn. get in | reelect | (vt) เลือกตั้งใหม่ | reelection | (n) การเลือกตั้งใหม่ | returns | (n) ผลการเลือกตั้ง, Syn. election results | run | (vi) เข้าสมัครรับเลือกตั้ง, Syn. be a candidate | run | (vt) เข้าสมัครรับเลือกตั้ง, Syn. be a candidate | run against | (phrv) แข่งขันกับการเลือกตั้ง | run for | (phrv) เสนอเพื่อเข้าชิงตำแหน่ง, See also: เสนอเพื่อการเลือกตั้ง, Syn. sit for, stand as | slate | (n) รายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง, Syn. register, roll | suffrage | (n) สิทธิในการเลือกตั้ง, See also: สิทธิในการออกเสียง, Syn. the right to vote | suffrage | (n) การออกเสียงเลือกตั้ง, See also: การลงคะแนนเสียง, Syn. election, vote | stand for | (phrv) เสนอชื่อ, See also: เสนอตัวเพื่อเลือกตั้ง, Syn. run for, sit for | sweep in | (phrv) ชนะเรียบ, See also: ชนะการเลือกตั้งได้ง่าย, กวาดชัยชนะ, กวาดคะแนนเกลี้ยง | ticket | (n) รายชื่อสมาชิกผู้สมัครรับเลือกตั้ง (ที่พรรคการเมืองเสนอชื่อ) | throw one's hat into the ring | (idm) ประกาศเข้าร่วม (การแข่งขัน, การเลือกตั้ง), Syn. fling into, toss into | vote in | (phrv) เลือกตั้ง, See also: ออกเสียงเลือกตั้ง |
| abentee ballot | บัตรเลือกตั้งของผู้ที่ไม่มา (ซื่งมอบไว้ให้ก่อนล่วงหน้า) for an absentee Vote | ballot | (แบล'เลิท) n. บัตรเลือกตั้ง, จำนวนผู้ลงคะแนน, รายชื่อคนลงคะแนน vi. ลงคะแนนด้วยบัตรลับ, จับฉลาก, See also: balloter n. | booth | (บูธ) n. แผงลอย, ห้องเล็ก ต่างหาก, ศอก, โต๊ะแยกเฉพาะส่วน, หน่วยลงบัตรเลือกตั้ง, Syn. stall | borough | (เบอ'โร) n. เขตเทศบาลที่เล็กกว่าเมือง, เขตเลือกตั้ง | by-election | n. การเลือกตั้งซ่อม, Syn. bye-election | candidate | (แคน'ดิเดท) n. ผู้สมัครรับเลือกตั้ง, ผู้ได้รับการเลือกให้เข้าแข่งขัน, See also: candidature, candidacy n. | carpetbag | (คาร์'พิทแบก) { carpetbagged, carpetbagging, carpetbags } n. กระเป๋าที่ทำด้วยพรม vi. ย้ายภูมิลำเนาถิ่นที่อยู่เพื่อหาเสียงเลือกตั้งในถิ่นใหม่, See also: carpetbagging n. ดูcarpetbag carpetbagger n. ดูcarpetbag | caucus | (คอ'คัส) n. การประชุมพรรคการเมืองเพื่อเลือกตั้งตัวแทนเข้าแข่งขัน vi. ประชุมพรรคการเมืองดังกล่าว -pl. caucuses | committeeman | (คะมิท'ทีเมิน) n. กรรมการ กรรมาธิการ, หัวหน้าพรรคการเมืองในเขตเลือกตั้ง -pl. committeemen | constituency | (คันสทิช'ชุเอินซี) n. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตหนึ่ง, เขตเลือกตั้ง | designation | (เดซซิกเน'เชิน) n. การตั้ง, การระบุ, ชื่อ, ตำแหน่ง, การตั้งชื่อ, การเลือกตั้ง, See also: designed adj., Syn. nomination | disfranchise | (ดิสแฟรน'ไชซ) ว vt. ถอนสิทธิ, ตัดสิทธิ, ถอนสิทธิพลเมือง, ถอนสิทธิการเลือกตั้ง, See also: disfranchisement n. ดูdisfranchise | election | (อีเลค'เชิน) n. การเลือกตั้ง, การคัดเลือก, การเลือก, สิทธิการเลือกตั้ง, การเลือกโดยพระผู้เป็นเจ้า, Syn. selection | electioneer | (อีเลค'เชินเนียร์) vi. ดำเนินการหาเสียงให้ผู้สมัครรับเลือกตั้ง, See also: electioneerer n. ดูelectioneer | electorate | n. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด, เขตเลือกตั้ง | electress | n. ผู้เลือกตั้งที่เป็นหญิง | enfranchise | (เอนแฟรน'ไชซ) vt. ให้สิทธิพิเศษ, ให้สิทธิในการเลือกตั้งผู้แทน, ให้สัมปทาน, ให้สิทธิเป็นผู้จำหน่ายแต่ผู้เดียว, ปล่อยให้เป็นอิสระ., See also: enfranchisement n. ดูenfranchise enfranchiser n. ดูenfranchise, Syn. franchise. | gerrymander | vt., vi., n. (การ) แบ่งเขตเลือกตั้งอย่างไม่ยุติธรรม, ทำตบตา | inauguration day | วันเข้ารับตำแหน่งเป็นทางการของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา (วันที่ 20 มกราคม หลังจากได้รับเลือกตั้ง) | nominate | (นิม'มิเนท) vt. เสนอชื่อเพื่อให้เลือกตั้ง, แต่งตั้ง, ตั้งชื่อ, ระบุชื่อ. adj. เกี่ยวกับชื่อเฉพาะ., See also: nominator n., Syn. name | nomination | (นอมมิเน'เช ิน) n. การเสนอชื่อเข้ารับเลือกตั้ง, แต่งตั้ง, ภาวะที่ถูกแต่งตั้ง | nominative | (นอม'มะเนทิฟว) adj. เกี่ยวกับการเสนอชื่อเข้ารับเลือกตั้ง, ระบุชื่อ. n. ประธานของประโยค, กรรตุการก | nominee | (นอม'มะนี) n. ผู้ได้รับการเสนอชื่อเข้ารับเลือกตั้ง | poll | (โพล) n. การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, รายชื่อผู้ไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, บุคคลที่ปรากฎในรายชื่อ, การสำรวจความคิดเห็นของคนจำนวนมาก -vi., vi. ได้รับคะแนนเลือกตั้ง, ออกเสียงลงคะแนน, สำรวจความคิดเห็น, | president-elect | (เพรส'ซิเดินทฺ'-) n. ประธานาธิบดีที่ได้รับการเลือกตั้งแต่ยังไม่ได้เข้าดำรงตำแหน่ง | primary | (ไพร'มะรี) adj. สำคัญที่สุด, อันดับแรก, ครั้งแรก, ดีเลิศ, ดั้งเดิม, เบื้องต้น, ประถม, ระยะแรก, ขั้นแรก. n. ที่สำคัญที่สุด, สิ่งที่อยู่ในอันดับหนึ่ง, ตำแหน่งอาร์บิชอพ, การเลือกตั้งครั้งแรก, แม่สี, ดาวที่สว่างกว่าในกลุ่มดาวคู่., See also: primariness n. คำที | reelect | (รีอีเลคทฺ') vt. เลือกตั้งใหม่, See also: reelection n. | return | (รีเทิร์น') vi., vt., adj. กลับ, กลับมา, กลับคืน, คืน, ส่งคืน, ย้อนกลับ, โต้ตอบ, ได้ผล, ได้ผลกำไร, ชัก (อาวุธ) กลับ, ตีไพ่ n. การกลับ, การกลับคืน, การกลับมา, การคืนสู่, การตอบ, การโต้ตอบ, การโต้แย้ง, ผลลพธ์, ผลกำไร, ผลตอบ, ดอกผล, ผลการเลือกตั้ง, รายงาน, สถิติ, รายได้, รายรับ, จำนวนขาย | slate | (สเลท) n. กระดานชนวน, หินชนวน, สีหินชนวน, สีเทาอมน้ำเงินเข้ม, รายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง, รายชื่อผู้ที่จะได้รับการพิจารณาคัดเลือก, -Phr. (clean slate ประวัติความประพฤติที่ขาวสะอาด) vt. ปูด้วยหินชนวน, ปูด้วยแผ่นหิน, เสนอชื่อเข้ารับการเลือกตั้ง, กำหนดรายชื่อผู้ที่อยู่ในข่ายที่จะได้รับพิจารณาได้รับเลือก | ticket | (ทิค'คิท) n. ตั๋ว, บัตร, บัตรอนุญาต, ใบอนุญาต, รายชื่อสมาชิกผู้สมัครรับเลือกตั้ง (ที่พรรคการเมืองเสนอชื่อ) , ใบสั่ง สำหรับผู้กระทำผิดกฎจราจร, สิ่งที่เหมาะสม, โครงการของพรรคการเมือง, ฉลากติดสินค้า, ฉลากฉีก. vt. ติดฉลาก, ติดบัตร | votable | (โว'ทะเบิล) adj. ลงคะแนนได้, มีสิทธิเลือกตั้ง, นำไปลงมติได้. | votaless | (โวท'ลิส) adj. ไม่มีคะแนนเสียง, ไม่มีสิทธิออกเสียง, ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง | vote | (โวทฺ) n. การออกเสียง, การเลือกตั้ง, คะแนนเสียง, บัตรคะแนนเสียง, สิทธิการออกเสียง, จำนวนคะแนนเสียง, มติ vt., vt. ออกเสียง, ลงคะแนนเสียง, เลือกตั้ง, ลงมติ, เสนอ | voter | (โว'เทอะ) n. ผู้ลงคะแนนเสียง, ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | woman suffrage | n. สิทธิเลือกตั้งของสตรี, สิทธิทางการเมืองของสตรี, See also: woman-suffrage adj. woman-suffragist n. | write-in | (ไรทฺ'อิน) n., adj. การลงคะแนนเสียงให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ไม่ใช่คนเดิมในรายชื่อ |
| ballot | (n) บัตรลงคะแนน, บัตรเลือกตั้ง, การลงคะแนนเสียง | borough | (n) เขตเลือกตั้ง | BY-by-election | (n) การเลือกตั้งซ่อม | candidate | (n) ผู้สมัคร, ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง | constituency | (n) ผู้ลงคะแนนเสียง, ผู้เลือกตั้ง, เขตเลือกตั้ง | constituent | (n) ส่วนสำคัญ, ส่วนประกอบ, องค์ประกอบ, ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | elect | (vt) เลือก, เลือกตั้ง, คัดเลือก | election | (n) การคัดเลือก, การเลือกตั้ง, การเลือก, สิทธิการเลือกตั้ง | elector | (n) ผู้เลือก, ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | electoral | (adj) เกี่ยวกับการเลือกตั้ง, เกี่ยวกับผู้เลือก | electorate | (n) ผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้ง, เขตเลือกตั้ง | poll | (n) การสำรวจความคิดเห็น, การออกเสียงเลือกตั้ง, รายหัว, หัว | poll | (vi) ลงคะแนนเสียง, ออกเสียงเลือกตั้ง | reelect | (vt) เลือกตั้งใหม่, เลือกใหม่, เลือกตั้งซ่อม | reelection | (n) การเลือกตั้งใหม่, การเลือกใหม่, การเลือกตั้งซ่อม | vote | (vi, vt) ลงคะแนนเสียง, ลงมติ, เลือกตั้ง | voter | (n) ผู้ลงคะแนนเสียง, ผู้เลือกตั้ง |
| creep | (n) คณะกรรมการการเลือกตั้งประธานาธิบดี (สมัยนิกสัน), Syn. Committee for the Re-Election of the President Nixon's 1972 campaign organizatio | post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. | post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. | post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. | post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. | run-off | (n) ๑. [ countable ] การจัดการเลือกตั้งหรือการแข่งขันในครั้งที่ ๒ เนื่องจากไม่มีผลแพ้ชนะที่ชัดเจนในรอบรอก ตัวอย่างเช่น a run-off election ๒. [ uncountable ] น้ำหรือของเหลวอย่างอื่นที่ไหลลงแม่น้ำ |
| 選挙 | [せんきょ, senkyo] (n) การเลือกตั้ง |
| 大統領選 | [だいとうりょうせん, daitouryousen] การเลือกตั้งประธานาธิบดี | 大統領選挙 | [だいとうりょうせんきょ, daitouryousenkyo] การเลือกตั้งประธานาธิบดี |
| Wahl | (n) |die, pl. Wahl| การเลือกตั้ง | für/gegen jn./etw. stimmen | (vt) |stimmte, hat gestimmt| ตัดสินใจในการออกเสียงหรือเลือกตั้งเพื่อหรือต่อต้านใครหรือสิ่งใด | Wahlkampf | (n) |der, pl. Wahlkämpfe| การแข่งขันเลือกตั้ง | Abend für Abend | เย็นแล้วเย็นเล่า, วันแล้ววันเล่า เช่น Abend für Abend wiederholen Radio und Fernsehen die Wahlspots der vier Präsidentschaftskandidaten. วิทยุและโทรทัศน์ถ่ายทอดโฆษณาผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีซ้ำไปซ้ำมา |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |