ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เบล, -เบล- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ อ๊อง | (slang) เอ๋อ และบ๊อง, เบลอๆ มึนๆ งงๆ |
|
| | เบลอ | (v) blur, See also: become unclear or indistinct, Syn. มึนงง, Example: เขารู้สึกเบลอไปชั่วขณะเมื่อทราบข่าวร้าย, Notes: (อังกฤษ) | เบลอ | (adj) blurred, Syn. พร่า, มัว, เลือน, Ant. ชัด, Example: ภาพที่เห็นเป็นภาพเบลอๆ มองเห็นอะไรไม่ชัด | เบลเยี่ยม | (n) Belgium, Syn. ประเทศเบลเยี่ยม, Example: ี่พรรคนิเวศวิทยาในเบลเยี่ยมและเยอรมันประสบความสำเร็จมากที่สุด, Thai Definition: ชื่อประเทศในยุโรปอยู่เหนือฝรั่งเศส, Notes: (อังกฤษ) | รางวัลโนเบล | (n) Nobel prize, Example: การให้รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพแก่ อ่อง ซาน ซู จี เป็นการส่งข่าวสารถึงรัฐบาลทหารพม่าอย่างกระจ่างชัดโดยเนื้อหา คือ การคัดค้านระบบเผด็จการ, Count Unit: รางวัล |
| กังหันน้ำชัยพัฒนา | น. ชื่อเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอยแบบหนึ่ง เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียชนิดหนึ่ง มีลักษณะการทำงานคล้ายกังหันวิดน้ำขึ้นเหนือผิวน้ำเพื่อเติมอากาศหรือออกซิเจนในแหล่งน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึ้นแล้วทรงมอบหมายมูลนิธิชัยพัฒนา ศึกษาวิจัยเพื่อทำต้นแบบพร้อมสนับสนุนงบประมาณให้กรมชลประทานสร้าง นำไปใช้งานตามแหล่งน้ำเสียทั่วประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ ๓๑๒๗ และองค์กรนักประดิษฐ์โลกจากประเทศเบลเยียมได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลในฐานะที่ทรงสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม. |
| pitchblende | พิตช์เบลนด์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | palsy, Bell's | อัมพาตเบลล์ [ มีความหมายเหมือนกับ facioplegia; palsy, facial; paralysis, facial; prosopoplegia ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | Abel's inequality | อสมการอาเบล [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | assembler | แอสเซมเบลอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | assembler | แอสเซมเบลอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Blaue Reiter, Der | กลุ่มเบลาเออไรเทอร์ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Blaue Vier | กลุ่มเบลาเออเฟียร์ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | blende | เบลนด์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | Blasius equation | สมการเบลเซียส [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] | bel | เบล [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Bell's palsy | อัมพาตเบลล์ [ มีความหมายเหมือนกับ facioplegia; palsy, facial; paralysis, facial; prosopoplegia ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | Der Blaue Reiter | กลุ่มเบลาเออไรเทอร์ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | decible (dB) | เดซิเบล (ดีบี) [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] | dB (decible) | ดีบี (เดซิเบล) [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] | dB (decibel) | ดีบี (เดซิเบล) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | disassembler | ดิสแอสเซมเบลอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | decibel (dB) | เดซิเบล (ดีบี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | zinc blende | ซิงก์เบลนด์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | hornblende | ฮอร์นเบลนด์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
| Belgian franc | ฟรังก์เบลเยียม [เศรษฐศาสตร์] | Bragg’s law | กฎของแบรกก์, กฎที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ตกกระทบ มุมตกกระทบและระยะห่างของอะตอมซึ่งเป็นเงื่อนไขของการเกิดปรากฏการณ์การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ กฎนี้ ดับเบิลยู. แอล. แบรกก์ (W. L. Bragg) คิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2455 และได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกับบิดา คือ ดับเบิลยู. เอช. แบรกก์ (W. H. Bragg) ในปี พ.ศ. 2458 [นิวเคลียร์] | Compton scattering | การกระเจิงแบบคอมป์ตัน, ปรากฏการณ์เมื่อโฟตอนวิ่งชนอิเล็กตรอนของอะตอม แล้วเกิดการกระเจิง โฟตอนที่กระเจิงออกไปจะมีพลังงานลดลงจากเดิม ซึ่งขึ้นอยู่กับมุมของการกระเจิงและมวลของอนุภาคที่ถูกชน ปรากฏการณ์นี้ตั้งชื่อตามผู้ค้นพบ คือ อาร์เทอร์ ฮอลลี คอมป์ตัน (Arthur Holly Compton) ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลในปี พ.ศ.2470 [นิวเคลียร์] | Cyclotron | ไซโคลทรอน, เครื่องเร่งอนุภาคที่อนุภาคถูกเร่งด้วยสนามไฟฟ้าและถูกควบคุมด้วยสนามแม่เหล็ก ให้วิ่งวนเป็นวงออกไปคล้ายก้นหอย เมื่อได้ความเร็วที่ต้องการ อนุภาคจะถูกปล่อยให้ชนกับวัสดุที่ใช้เป็นเป้า เครื่องเร่งอนุภาคชนิดนี้ใช้ในการวิจัยฟิสิกส์มูลฐาน และการผลิตสารไอโซโทปรังสี ผู้ประดิษฐ์ คือ เออร์เนสต์ โอ. ลอว์เรนซ์ (Earnest O. Lawrence) ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี พ.ศ. 2482 [นิวเคลียร์] | Radium | เรเดียม, ธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นโลหะ มีเลขเชิงอะตอมเท่ากับ 88 ไอโซโทปที่พบมากที่สุดในธรรมชาติ คือ เรเดียม- 226 เกิดปนอยู่เล็กน้อยในสินแร่ยูเรเนียม เช่น แร่พิตช์เบลนด์ และคาร์โนไทต์ เรเดียม-226 เกิดจากการสลายของทอเรียม-230 ในอนุกรมยูเรเนียม (ดู decay, radioactive และ uranium series ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Art, Belgian | ศิลปะเบลเยียม [TU Subject Heading] | Arts, Belgian | ศิลปกรรมเบลเยียม [TU Subject Heading] | Assembler language (Computer program language) | แอสเซมเบลอร์ (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] | Belgium | เบลเยียม [TU Subject Heading] | Giardia lamblia | จิอาร์เดีย แลมเบลีย [TU Subject Heading] | Microsoft Expression blend | ไมโครซอฟต์ เอ็กเพรสชัน เบลนด์ [TU Subject Heading] | Nobel Prize winners | ผู้ชนะรางวัลโนเบล [TU Subject Heading] | Nobel prizes | รางวัลโนเบล [TU Subject Heading] | Hornblende | ฮอร์นเบลนด์, Example: แหล่ง - พบทั่ว ๆ ไปในหินแกรนิตเทือกเขาตาก-เถิน และเทือกเขาสระบาป จังหวัดจันทบุรี เป็นส่วนประกอบของหินไดออไรต์ ซึ่งพบหลายแห่ง เช่นที่ เขามัน อำเภอทับกวาง จังหวัดสระบุรี ประโยชน์ - เป็นแร่ประกอบหินที่สำคัญในหินอัคนี และหินแปร [สิ่งแวดล้อม] | Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] | Asia Europe Meeting | การประชุมเอเชีย-ยุโรป " เป็นการประชุมระดับผู้นำจากเอเชีย 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ บรูไน ดารุสซาลาม จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น ผู้นำจากยุโรป 15 ประเทศ คือ สหราช- อาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย และประธานคณะกรรมาธิการยุโรป การประชุมครั้งแรกมีขึ้น ที่กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2539 " [การทูต] | Caribbean Community and Common Market | ประชาคมตลาดร่วมแคริบเบียน ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2516 ประกอบด้วย แอนติกัวและบาบูดา บาฮามาส บาร์เบโดส เบลิซ หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน โดมินิกา เกรนาดา กายอานา จาเมกา มองเซรัต เซนต์คริสโตเฟอร์และเนวิส เซนต์ลูเซีย เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ซูรินาเม ตรินิแดดและโตเบโก และหมู่เกาะเตอร์กและไคโกส [การทูต] | Commonwealth of Independent States | เครือรัฐเอกราช " กลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราชเกิดจากการรวมตัวกันของบรรดาประเทศเกิดใหม่ภาย หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต (ยกเว้นประเทศ กลุ่มทะเลบอลติก 3 ประเทศ ได้แก่ ลิธัวเนีย แลตเวีย และเอสโตเนีย) ซึ่งได้ร่วมลงนามในปฏิญญา Alma-Ata ก่อตั้งเครือรัฐเอกราชเมื่อปี พ.ศ. 2534 ประกอบด้วยสมาชิก 12 ประเทศ ได้แก่ รัสเซีย ยูเครน เบลารุส มอลโดวา คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน และจอร์เจีย " [การทูต] | Congress of Vienna | เป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต] | European Union | สหภาพยุโรป สหภาพยุโรปได้มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับ นับแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้า (European Coal and Steal Community) ในปี พ.ศ. 2494 ต่อมาในปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดทำสนธิสัญญากรุงโรม (Treaty of Rome) ได้มีการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community : EEC) และประชาคมพลังงานปรมาณู (Euratom) ในช่วงเวลานั้นจึงเรียกชื่อกันว่าประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ต่อมาได้มีการรวม 3 ประชาคมเข้าด้วยกันและได้มีกฎหมายยุโรปตลาดเดียว (Single European Act) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2530 เพื่อให้ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเข้าสู่ขั้นตอนการเป็นตลาดร่วมและตลาดเดียวที่ สมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2535 ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงเปลี่ยนมาเรียกชื่อเป็นประชาคมยุโรป (European Communities : EC) ตั้งแต่ พ.ศ. 2530 ต่อมาเมื่อสนธิสัญญามาสทริชท์ (Maastricht Treaty) มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2536 ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายและขั้นตอนให้ประชาคมยุโรปพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพยุโรป จึงได้เปลี่ยนมาเรียกชื่อในทางปฏิบัติว่า สหภาพยุโรป (European Union : EU) ตั้งแต่ พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ปัจจุบันมีสมาชิก 15 ประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย [การทูต] | Francophonie (International Organization of the Francophony) | องค์การระหว่างประเทศกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษา ฝรั่งเศส ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2513 ที่เมือง Niamey ประเทศ Niger เพื่อเป็นเวทีความร่วมมือระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส และแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและประสานนโยบายความร่วมมือต่าง ๆ เน้นการส่งเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน การส่งเสริมความหลากหลายทางวัฒนธรรมโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นสื่อกลาง และส่งเสริมความร่วมมือพหุพาคีเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ปัจจุบันมีสมาชิก 53 ประเทศ (เบลเยียม บัลแกเรีย ฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก มอลโดวา โมนาโก โรมาเนีย สวิตเซอร์แลนด์ แคนาดา โดมินิกา เฮติ เซนต์ลูเซีย เบนิน บูร์กินาฟาโซ บุรุนดี แคเมอรูน เคปเวิร์ด สาธารณรัฐแอฟริกากลาง ชาด คอโมโรส สาธารณรัฐคองโก โกตดิวัวร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก จิบูตี อียิปต์ อิเควทอเรียลกินี กาบอง กินี กินีบิสเซา มาดากัสการ์ มาลี มอริเตเนีย มอริเซียส โมร็อกโก ไนเจอร์ รวันดา เซาตูเมและปรินซิปี เซเนกัล เชเชลส์ โตโก ตูนีเซีย กัมพูชา ลาว เลบานอน เวียดนาม วานูอาตู แอลเบเนีย มาซิโดเนีย สาธารณรัฐเช็ก ลิทัวเนีย สาธารณรัฐสโลวัก สาธารณรัฐโลวีเนีย และโปแลนด์) และ 3 มลรัฐ [ แคนาดา-นิวบรันสวิก แคนาดา- ควิเบก และชุมชนฝรั่งเศสในเบลเยียม (French Community in Belgium) ] [การทูต] | Free Trade Area of the Americas | เขตการค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา " ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมดขององค์การรัฐอเมริกัน (Organization of American States หรือ OAS) ยกเว้นประเทศคิวบา มีเป้าหมายที่จะจัดตั้งให้สำเร็จในปี พ.ศ. 2548 (OAS มีสมาชิกทั้งหมด 35 ประเทศ ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก อาร์เจนตินา โบลิเวีย บราซิล ชิลี โคลัมเบีย คอสตาริกา คิวบา โดมินิกัน เอกวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ กัวเตมาลา เฮติ ฮอนดูรัส นิการากัว ปานามา ปารากวัย อุรุกวัย เวเนซุเอลา แอนติกัวและบาร์บูดา เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ จาเมกา บาร์เบโดส เกรนาดา สุรินาเม โดมินิกา เซนต์ลูเซีย บาฮามาส เซนต์คิดตส์และเนวิส เบลิซ กายอานา ตรินิแดดและโตบาโก) " [การทูต] | Government in Exile | รัฐบาลพลัดถิ่น คือระหว่างที่สงครามยังดำเนินอยู่ ประเทศคู่สงครามหนึ่งอาจถูกกองทัพของประเทศฝ่ายศัตรูเข้ายึดครอง ในสถานการณ์เช่นนั้น ตัวหัวหน้าของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีของประเทศที่ถูกยึดครองอำนาจอาจไปตั้ง รรัฐบาลขึ้นชั่วคราวในดินแดนของประเทศพันธมิตรหนึ่ง ซึ่งยินยอมให้ทำเช่นนั้น รัฐบาลที่ตั้งขึ้นเป็นการชั่วคราวดังกล่าวเรียกว่า รัฐบาลพลัดถิ่น ตราบใดที่รัฐบาลพลัดถิ่นได้รับการรับรองฐานะเป็นตัวแทนของประเทศตน ย่อมดำเนินกิจการหน้าที่ของประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเทศอื่นๆ ได้ รัฐบาลพลัดถิ่นจะยังคงสถานภาพของตนไว้ตราบเท่าที่ยังไม่มีความพยายามต่อไป ที่จะยึดเอาดินแดนของตนที่ข้าศึกครองอยู่กลับคืนมาให้ได้ ตัวอย่างของรัฐบาลพลัดถิ่นที่เคยมีมาแล้วคือ รัฐบาลของประเทศโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ กรีซ และยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ไปตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ เมื่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตอนที่ดินแดนของประเทศเหล่านี้ได้ถูกกองทัพของเยอรมนีเข้ายึดครอง [การทูต] | North Atlanitc Treaty Organization | องค์การนาโต้ หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ซึ่งได้ลงนามกันเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1949 ประเทศสมาชิกขณะเริ่มตั้งองค์การครั้งแรก ได้แก่ ประเทศเบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ต่อมาประเทศกรีซและตรุกีได้เข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952 และเยอรมนีตะวันตก ( ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1949ในภาคอารัมภบทของสนธิสัญญา ประเทศภาคีได้ยืนยันเจตนาและความปรารถนาของตน ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติกับประเทศและรัฐบาลทั้งหลาย ที่จะปกป้องคุ้มครองเสรีภาพมรดกร่วม และอารยธรรมของประเทศสมาชิกทั้งมวล ซึ่งต่างยึดมั่นในหลักการของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพส่วนบุคคลหลักนิติธรรม ตลอดจนจะใช้ความพยายามร่วมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อป้องกันประเทศ และเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงในสนธิสัญญาดังกล่าว บทบัญญัติที่สำคัญที่สุดคือข้อ 5 ซึ่งระบุว่า ประเทศภาคีสนธิสัญญาทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า หากประเทศภาคีหนึ่งใดหรือมากกว่านั้น ในทวีปยุโรปหรือในอเมริกาเหนือ ถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ จักถือว่าเป็นการโจมตีต่อประเทศภาคีทั้งหมด ฉะนั้น ประเทศภาคีจึงตกลงกันว่า หากมีการโจมตีด้วยกำลังอาวุธเช่นนั้นเกิดขึ้นจริง ประเทศภาคีแต่ละแห่งซึ่งจะใช้สิทธิในการป้องกันตนโดยลำพังหรือร่วมกัน อันเป็นที่รับรองตามข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติ จะเข้าช่วยเหลือประเทศภาคีแห่งนั้นหรือหลายประเทศซึ่งถูกโจมตีด้วยกำลัง อาวุธในทันทีองค์กรสำคัญที่สุดในองค์การนาโต้เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศภาคีสนธิสัญญานาโต้ คณะมนตรีนี้จะจัดตั้งองค์กรย่อยอื่น ๆ หลายแห่ง รวมทั้งกองบัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรภาคพื้นยุโรปและภาคพื้น แอตแลนติก สำนักงานใหญ่ขององค์การนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] | North Atlantic Treaty Organisation | องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2492 เป็นองค์การร่วมมือทางการทหาร มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 19 ประเทศคือ เบลเยี่ยม แคนาดา สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ฮังการี ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกส สเปน ตุรกี สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา [การทูต] | Organization of European Economic Cooperation | คือองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป สัญญาที่ก่อตั้งองค์การนี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 16 เมษายน ค.ศ.1948 โดยรัฐบาลของประเทศออสเตรีย เบลเยี่ยม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี โดยแม่ทัพของฝรั่งเศส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาที่ประจำอยู่ในเขตยึดครองในเยอรมนี (หลังเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง)จุดประสงค์สำคัญที่สุดขององค์การนี้คือ ต้องการให้ทวีปยุโรปมีภาวะเศรษฐกิจกลับคืนมาใหม่อย่างมั่นคง ด้วยการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก สำนักงานใหญ่ขององค์การนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสอย่างไรก็ดี บัดนี้ได้มีองค์การตั้งขึ้นใหม่แทนองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป เรียกว่า องค์การร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Cooperation and Development ) หรือ OECD สำหรับสัญญาจัดตั้งองค์การโอดีซีดีนี้ ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 โดยรัฐบาลของประเทศออสเตรีย เบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ สเปน สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1961จุดประสงค์สำคัญขององค์การโออีซีดี มีดังนี้1. เพื่อให้บรรดาประเทศสมาชิกได้มีความเติบโตทางเศรษฐกิจ มีแรงงาน อาชีพ และมาตรฐานการครองชีพให้มากที่สุด ขณะเดียวกันก็พยายามรักษาเสถียรภาพทางการคลังไว้เพื่อเป็นการเกื้อกูลต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจของโลก2. ระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ให้ประเทศสมาชิกมีโอกาสขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมั่นคง รวมทั้งในประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกด้วย3. ต้องการมีส่วนเกื้อกูลต่อการขยายตัวทางการค้าในรูปพหุภาคี และปราศจากการกีดกันแต่อย่างใด ตามพันธกรณีระหว่างประเทศองค์การสำคัญในองค์การโออีซีดีคือคณะมนตรี ( Council ) ซึ่งประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด มีคณะกรรมการบริหารรวมทั้งเลขาธิการ สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] | Plan Puebla-Panama | สมาชิก เม็กซิโก เบลิซ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส เอลซัลวาดอร์ นิการากัว คอสตาริกา และปานามา วัตถุประสงค์ ริเริ่มโดยประธานาธิบดี Vicente Fox ของเม็กซิโก เมื่อปี พ.ศ. 2543 เพื่อแสวงหาความร่วมมือและให้การสนับสนุนด้านเงินทุนแก่ประเทศภูมิภาค อเมริกากลางในการเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคมและสาธารณูปโภค เช่น ถนน สายส่งไฟฟ้า ท่อก๊าซ ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจจากเม็กซิโกลงไปยังประเทศทางตอนใต้ ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศร่วมกัน และเพื่อแก้ไขปัญหาการอพยพของแรงงานผิดกฎหมายจากประเทศในแถบอเมริกากลางเข้า สู่เม็กซิโก หมายเหตุ Puebla เป็นชื่อเมืองทางตะวันตกเฉียงใต้ของเม็กซิโก และเป็นจุดเริ่มต้นโครงการ ซึ่งสิ้นสุดที่ปานามา [การทูต] | Rio Group | กลุ่มริโอ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2529 ตามปฏิญญาแห่งเมืองรีโอเดจาเนดรปัจจุบันประกอบด้วยสมาชิก 23 ประเทศ/องค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ อาร์เจนตินา เบลิซ โบลิเวีย บราซิล ชิลี โคลัมเบีย คอสตาริกา คิวบา สาธารณรัฐโดมิกัน เอกวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ กัวเตมาลา กายอานา เฮติ ฮอนดูรัส เม็กซิโก นิการากัว ปานามา ปารากวัย เปรู อุกรุกวัย และเวเนซุเอลา แและ CARICOM [การทูต] | Schengen States | กลุ่มประเทศในสหภาพยุโรปบางประเทศที่ยอมรับกันให้ประชาชนของแต่ละประเทศ สามารถเดินทางไปมาถึงกันและเข้าเมืองได้โดยไม่มีการตรวจลงตราหรือมีการควบ คุมใดๆ ระหว่างกัน และสำหรับประชาชนจากประเทศที่สาม หากได้รับอนุญาตให้เดินทางไปประเทศหนึ่งประเทศใดในกลุ่มประเทศนี้แล้ว จะสามารถเดินทางต่อไปประเทศอื่น ๆ ในกลุ่มนี้ได้โดยไม่มีการควบคุม สมาชิกประกอบด้วย เบลเยี่ยม เยอรมนี ฝรั่งเศส กรีซ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ ออสเตรีย โปรตุเกส สวิตเซอร์แลนด์ และสเปน [การทูต] | Central American Integration System หรือ Sistema de la Integracion Centromericana | ระบบการรวมกลุ่มในอเมริกากลาง ก่อตั้งเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2534 เพื่อกระตุ้นกระบวนการบูรณาการกลุ่มประเทศในภูมิภาคอเมริกากลาง ประกอบด้วยสมาชิก 7 ประเทศจากอเมริกากลางได้แก่ เบลิซ คอสตาริกา เอลซัลวาดอร์ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส นิการากัว และปานามา และสมาชิกสมทบ 1 ประเทศ คือ สาธารณรัฐโดมิกัน และประเทศผู้สังเกตการณ์ 3 ประเทศ ได้แก่ สเปน จีน และเม็กซิโก [การทูต] | Western European Union | องค์การความร่วมมือทางด้านการทหารของประเทศในทวีปยุโรป ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ คือ เบลเยี่ยม เยอรมนี อิตาลี เนเธอร์แลนด์ สเปน ฝรั่งเศส กรีซ ลักเซมเบิร์ก โปรตุเกส และสหราชอาณาจักร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2501 [การทูต] | cyclotron | เครื่องไซโคลตรอน , เป็นเครื่องสำหรับเร่งอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ผู้ประดิษฐ์คือ Earnest O. Lawrence ชาวอเมริกัน ซึ่งได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ในปี พ.ศ. 2482 ในเครื่องเร่งอนุภาคชนิดนี้ อนุภาคถูกเร่งด้วยสนามไฟฟ้า ในขณะเดียวกันก็ถูกควบคุมด้วยสนามแม่เหล็ก ให้วิ่งวนเป็นวงออกไป เมื่อได้ความเร็วที่เหมาะสม ก็จะถูกปล่อยให้ไปชนกับเป้าที่ต้องการ เครื่องเร่งนี้ใช้ในการวิจัยทางฟิสิกส์พื้นฐาน และการผลิตสารไอโซโทปรังสี [พลังงาน] | Abelson Leukemia Virus | ลิวคีเมียเอเบลสัน, ไวรัส [การแพทย์] | Atropine, Belladonna | อาโทรฟีน, เบลลาดอนน่า [การแพทย์] | Belladonna | เบลลาดอนนา, พืช;เบลลาดอนนา [การแพทย์] | Belladonna | เบลลาดอนนา [การแพทย์] | Belladonna Alkaloids | เบลลาดอนนาแอลคาลอยด์, สาร [การแพทย์] | Brachial Artery | หลอดเลือดแดงแขน, เส้นเลือดแดงใหญ่เบลเคลอาเทอรี่, เส้นเลือดในบริเวณข้อศอกด้านหน้า, หลอดเลือดแดงที่แขน, เส้นโลหิตแดงที่ข้อศอก, เส้นโลหิตแดงที่ข้อศอก, เส้นเลือดแดงที่ข้อศอก [การแพทย์] | Cerebellar Arteries | หลอดเลือดแดงเซเรเบลลาร์ [การแพทย์] | Cerebellar Ataxia | ซีรีเบลลาร์อะแทกเซีย, โรค;สมองน้อย, อะทาเซีย;เดินเซไปทางด้านที่มีพยาธิสภาพ;การหดเหี่ยวของสมองเล็ก [การแพทย์] | Cerebellar Cortex | ซีรีเบลลัมส่วนเปลือก, สมอง;เซเรเบลลาร์คอร์เทกซ์ [การแพทย์] | Cerebellar Diseases | สมองน้อย, โรค;ซีรีเบลลัม, โรคสมอง [การแพทย์] | Cerebellar Dyssynergia | สมองน้อย, ดิย์สเนอเกีย;ซีรีเบลลาร์ดีสซินเนอร์เจีย, โรค [การแพทย์] | Cerebellar Neoplasms | สมองน้อย, เนื้องอก;ซีรีเบลลัม, เนื้องอกสมอง;สมอง, เนื้องอก [การแพทย์] | Cerebellopontine Angle | ซีรีเบลโลพอนไตน์แองเกิล, สมองเซเรเบลโลพอนไตแองเกิลแอ่งระหว่างสมองเล็กกับพอนส์ [การแพทย์] | Cerebellum | ซีรีเบลลัม;ซีรีเบลลัม, สมอง;สมองเล็ก;ซีรีเบลลั่ม;กลีบสมองเล็ก;สมองส่วนน้อย;สมองน้อย;สมองใหญ่ [การแพทย์] | Cerebellum Degeneration | โรคสมองน้อยซีรีเบลลัมเสื่อม [การแพทย์] | Decibel | เดซิเบล, เสียงในระดับต่างๆ [การแพทย์] | Falx Cerebelli | ฟอส์กเซเรเบลไล [การแพทย์] | cerebellum | เซรีเบลลัม, สมองส่วนท้ายด้านบน เป็นศูนย์ควบคุมการได้ยิน การทรงตัวและการทำงานของกล้ามเนื้อลายที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น ยืน เดิน วิ่ง เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| Bella... | เบลล่า... The Twilight Saga: New Moon (2009) | Blake. | เบลค I Know Who You Are (2010) | Blake. | เบล้ค For the Good of Our Country (2010) | - Blake... | - เบลค/N Strain (2011) | Belle. | เบล Dark Hollow (2013) | Yeah, from the moment he saw her he knew she was the smoke screen he was looking for. | ใช่ จากนาทีแรกที่เขาเห็นเธอ... ...เขาก็รู้ว่าเธอเป็นฉากเบลอๆ ที่เขามองหาอยู่ Basic Instinct (1992) | Alexander Graham Bell to see Miss Marron. | อเล็กซานเดอร์ เกรแฮมเบลล์ มาพบคุณมาร์รอน The Bodyguard (1992) | Tony Scibelli. | โทนี่ ซิเบลลี่ The Bodyguard (1992) | Sheltered in a valley, carpeted in crimson, the Grange, home of Edgar Linton and Isabella, his sister. | มีบ้านอยู่ ณ เชิงหุบเขา พื้นปูพรมสีแดง บ้านเกรนจ์ ที่พำนักของเอ็ดการ์ ลินตัน และน้องสาว อิซซาเบลล่า Wuthering Heights (1992) | Edgar and Isabella Linton said they might come this afternoon. | เอ็ดการ์กับอิซซาเบลล่า ลินตันบอกว่า พวกเขาอาจมาเยี่ยมบ่ายนี้ Wuthering Heights (1992) | Belfast in the early '70s was chaos. | เบลฟาสใน '70s ต้นเป็นความสับสนวุ่นวาย In the Name of the Father (1993) | In Belfast, that was a dangerous occupation. | ในเบลฟาสที่เป็น อาชีพที่อันตราย In the Name of the Father (1993) | I'm glad to get outta Belfast. | ฉันดีใจที่ได้รับ outta เบลฟาส In the Name of the Father (1993) | - Paddy from Belfast. Paddy Armstrong. | - ข้าวเปลือกจากเบลฟาส อาร์มสตรองนา In the Name of the Father (1993) | Aye, it's all right when it happens over in Belfast. You fucking prick! | คะแนนเห็นด้วยก็ไม่เป็นไรเมื่อมันเกิดขึ้น กว่าในเบล? In the Name of the Father (1993) | Troops have entered the Ardoyne area of West Belfast... since the collapse of the provisional IRA cease-fire over the weekend. | กองกำลังทหารได้ใส่ พื้นที่ Ardoyne ของเวสต์เบลฟาส ... ตั้งแต่การล่มสลายของชั่วคราว IRA การหยุดยิงเหนือสุดสั In the Name of the Father (1993) | No fucking way I'm going back to Belfast. | วิธีการร่วมเพศไม่ฉันจะ กลับไปที่เบลฟาส In the Name of the Father (1993) | He was always talking about Belfast, the IRA, all that stuff. | เขามักจะพูดถึงเบลฟาส, , บ้านเดี่ยว, ทุกสิ่งที่ In the Name of the Father (1993) | They had a lot of money, and Conlon went back to Belfast. | พวกเขามีเงินจำนวนมาก, และ Conlon ก็กลับไปที่เบลฟาส In the Name of the Father (1993) | When can I go back to Belfast? | เมื่อผมสามารถกลับไปที่เบลฟาส? In the Name of the Father (1993) | I left Belfast to get away from people like him. | ผมออกจากเบลฟาสได้รับออกไป จากคนชอบเขา In the Name of the Father (1993) | I'm going back to Belfast. | ฉันจะกลับไปที่เบลฟาส In the Name of the Father (1993) | We look back down... on poor, troubled Belfast. | เรามองย้อนกลับไปลง ... ที่ยากจนทุกข์เบลฟาส In the Name of the Father (1993) | Mulder, come on. You've got two blurry photos. | Mulder ไม่เอาน่า คุณมีภาพเบลอๆ สองใบ Squeeze (1993) | [ Elevator Bell Rings ] | [ ลิฟท์เบลล์ออฟเดอะริง ] Pulp Fiction (1994) | - [ Bell Rings ] - [ Gasps ] | - [ เบลล์ออฟเดอะริง ] - [ ครึ่งผีครึ่ง ] Pulp Fiction (1994) | - [ Crowd Cheering, Yelling ] - [ Bell Rings ] | - [ ฝูงชนเชียร์ตะโกน ] - [ เบลล์ออฟเดอะริง ] Pulp Fiction (1994) | Umbrella knows they can't contain the infection. | อัมเบลล่ารู้ ว่าพวกเค้าควบคุมการติดเชื้อไม่ได้ Resident Evil: Apocalypse (2004) | Doorbells and sleigh bells And something with mittens | บาเบลกับสมิทเทล กับอะไรซักอย่างกับมิทเทิ่ล The One Where Monica Gets a Roommate (1994) | Belgian. | ชาวเบลเยียม Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | Billina. | เบลิน่า Return to Oz (1985) | Blackmail is not so pure, nor so simple. It can bring a lot of trouble to a great many people. | การเเบล็คเมล์ไม่ใช่เรื่องเล่นๆ มันก่อปัญหามากมายให้กับหลายคนได้ Rebecca (1940) | And the blackmailer sometimes finds himself in jail at the end of it. | และบางครั้งคนที่เเบล็คเมล์ก็ต้องไปลงเอยในคุก Rebecca (1940) | Ross, Campbell, Steadall, Perrino, Danvers... | "รอสส์, แคมป์เบล, สเต็ดดอล, เพอร์ริโน่, แดนเวอร์ส, แมทธิวส์- -" Rebecca (1940) | And let me tell you, Favell, blackmail is not much of a profession. | จะบอกให้นะฟาเวล การเเบล็คเมล์นั้นไม่เป็นมืออาชีพ Rebecca (1940) | Neuengamme, Belsen, Ravensbruck, Dachau, these were names like any others on maps and in guide books. | นูเยนแกมม, เบลเซ่น, ราเวนสเบิร์ก, ดาโชว์ ... ชื่อเหล่านี้ ล้วนแล้วแต่เป็นชื่อทั่วๆไป บนแผนที่ และหนังสือทั้งหลาย Night and Fog (1956) | - A Webley automatic... It's Nobel Prize juice. | มันคือ น้ำผลไม้ รางวัล โนเบล เดินทางไปที่บ้าน Help! (1965) | This money is for the year's assessment... on the St. Helen of the Blessed Shroud Orphanage in Calumet City, Illinois. | เงินนี้สำหรับการประเมินค่าของปี สำหรับ ซนทเฮเลนสโอฟแอจ เตอะเบลเซดชรอด โรงเลี้ยงเด็กกำพร้าในเมืองแคลุเมทอิละฌนย The Blues Brothers (1980) | Too bad the Hovitos don't know you the way I do, Belloq. | แย่มาก... โฮ้วิโต้. คุณไม่รู้วธีทำงาน ของผมหรือ, เบลล็อก. Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | - Belloq? | - เบลล็อก? Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | - They call him Bellosh. | - พวกมันเรียกเขาว่าเบลล็อก. Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | Belloq. | เบลล็อก. Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | Belloq. | เบลล็อก. Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | - Belloq. | - เบลล็อก. Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | How did Belloq do it? | เบลล็อก ทำได้อย่างไร? Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | Belloq and the boss German, Dietrich. | เบลล็อกและเจ้านายชาวเยอรมัน, ดิททริช. Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | Did Belloq get the height of the Staff from here? | เบลล็อกได้ให้ความสูงของไม้เท้า จากที่นี่หรือ? Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | You said their headpiece only had markings on one side. | คุณบอกว่าหมวกเกราะของเบลล็อก มีสัญลักษณ์อยู่ด้านเดียว. Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | Belloq's staff is too long. | ไม้เท้าของเบลล็อก ยาวเกินไป. Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | They've all blurred Into an endless day. | พวกเขาได้เบลอทั้งหมดเ- ป็นวันที่ไม่มีที่สิ้นสุด Idemo dalje (1982) |
| อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ | [Alēksāndoē Krēhaēm Bēl] (n, prop) EN: Alexander Graham Bell FR: Alexander Graham Bell | อัลเฟรด โนเบล | [Anfrēt Nōbēn] (n, prop) EN: Alfred Nobel FR: Alfred Nobel | เบลารุส | [Bēlārus] (n, prop) EN: Belarus FR: Biélorussie [ f ] | เบลเยียม = เบลเยี่ยม | [Belyīem = Beoyīem] (n, prop) EN: Belgium FR: Belgique [ f ] | เบียร์เบลเยียม | [bīa Belyīem] (n, exp) EN: Belgian beer FR: bière belge [ f ] | เบลอ | [bloē] (n) EN: blur ; become unclear ; become indistinct FR: brouiller | เบลอ | [bloē] (adj) EN: blurred | ชาวเบลเยี่ยม | [Chāo Belyīem] (n, prop) EN: Belgian FR: Belge [ m, f ] ; ressortissant belge [ m ] ; citoyen belge [ m ] | เจ้าของรางวัลโนเบล | [jaokhøng rāngwan Nōbēn] (n, exp) EN: Nobel laureate FR: lauréat du prix Nobel [ m ] | หลุยส์ เบลริโอ | [Luis Blēriō] (n, prop) EN: Louis Blériot FR: Louis Blériot | ผู้ได้รับรางวัลโนเบล | [phū dāirap Rāngwan Nōbēn] (n, exp) EN: Nobel laureate FR: lauréat du prix Nobel [ m ] | ประเทศเบลเยียม = ประเทศเบลเยี่ยม | [Prathēt Belyīem] (n, prop) EN: Belgium FR: Belgique [ f ] | รายชื่อผู้ได้รับรางวัลโนเบล | [rāicheū phū dāirap Rāngwan Nōbēn] (n, exp) FR: liste des lauréats du prix Nobel [ f ] | รางวัลโนเบล | [Rāngwan Nōbēn] (n, prop) EN: Nobel prize FR: prix Nobel [ m ] | รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ | [Rāngwan Nōbēn Sākhā Fisik] (n, prop) FR: prix Nobel de physique [ m ] | รางวัลโนเบลสาขาเคมี | [Rāngwan Nōbēn Sākhā Khēmī] (n, prop) FR: prix Nobel de chimie [ m ] | รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ | [Rāngwan Nōbēn Sākhā Santiphāp] (n, prop) FR: prix Nobel de la paix [ m ] | รางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ | [Rāngwan Nōbēn Sākhā Sētthasāt] (n, prop) FR: prix Nobel de sciences économiques [ m ] | รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ | [Rāngwan Nōbēn Sākhā Sarīrawitthayā reū Kān Phaēt] (n, prop) FR: prix Nobel de physiologie ou médecine [ m ] | รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม | [Rāngwan Nōbēn Sākhā Wannakam] (n, prop) FR: prix Nobel de littérature [ m ] | ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม = ราชอาณาจักรเบลเยียม | [Rātcha-ānājak Belyīem = Rātcha-ānājak Beoyīem] (n, prop) FR: Royaume de Belgique [ m ] | สะพานไทย-เบลเยี่ยม | [Saphān Thai Belyīem] (n, prop) EN: Thai-Belgium Bridge |
| unsharp mask | (name) คือกระบวนการทำภาพถ่ายให้คมชัดขึ้น โดยการนำฟิล์มของภาพ ไปถ่ายสำเนาใส่ฟิล์มอีกแผ่นหนึ่งโดยเจตนาให้ได้ภาพที่เบลอ (unsharp) กว่าเดิม ภาพบนฟิล์มที่ทำสำเนาขึ้นมาใหม่นี้ จะแตกต่างจากภาพบนฟิล์มเดิม ณ บริเวณภาพที่มีรายละเอียด (เนื่องจากถูกทำให้เบลอ) แต่จะเหมือนเดิม ณ บริเวณภาพที่เป็นสีพื้น (ไม่มีรายละเอียด การทำเบลอไม่มีผลต่อภาพ) จากนั้นจึงเอาฟิล์มทั้งสองมาทาบเข้าด้วยกัน ภาพที่ได้เมื่อมองผ่านฟิล์มทั้งสอง บริเวณที่มีรายละเอียดจะถูกเน้นให้เห็นรายละเอียดชัดเจนมากขึ้น คือ ทำให้ภาพดูคมชัดขึ้น |
| Bale | (n) เมืองเบล (ประเทศสวิตเซอร์แลนด์) | bel | (n) หน่วยวัดเสียง, See also: เบล | Belgium | (n) เบลเยียม | Belgium | (n) ประเทศเบลเยียม | blades | (n) สเกต (แบบโรลเลอร์เบลด) | braille | (n) ระบบการพิมพ์อักษรเบลล์สำหรับคนตาบอด | braille | (vt) พิมพ์ตัวหนังสือเบลล์, See also: พิมพ์ด้วยอักษรเบลล์ | decibel | (n) หน่วยวัดระดับความดังของเสียง (ย่อ dB) (ทางฟิสิกส์), See also: เดซิเบล | dumbbell | (n) ที่ยกน้ำหนัก, See also: ดัมเบล, ท่อนเหล็กยกน้ำหนัก, Syn. duffer, thickhead | Nobel, Alfred Bernhard | (n) ชาวสวีเดนผู้ก่อตั้งรางวัลโนเบล | Noble prizes | (n) รางวัลโนเบล (มอบให้ผู้มีผลงานยอดเยี่ยมที่สุดสาขาต่างๆ) | sabot | (n) รองเท้าไม้, See also: ใช้สวมในสมัยก่อนของประเทศเบลเยียม ฝรั่งเศส เนอร์เธอแลนด์ และเยอรมัน, Syn. patten | Walloon | (n) ชาวเบลเยียมทางใต้ซึ่งพูดภาษาฝรั่งเศส |
| abelian | (อะบี' เลียน, อะเบล' ยัน) adj. เกี่ยวกับ Niels Henrik Abel (นักคณิตศาสตร์มีชื่อ) เปลี่ยนกลุ่มได้, กลุ่มที่เปลี่ยนได้ | abelmosk | (เอ' เบลมอสค) n. ต้นไม้เมืองร้อนชนิดหนึ่ง (Hibiscus Abelmoschus) | ablaze | (อะเบลซ) adj. ไหม้, กำลังไหม้, สว่าง, เจิดจ้า, ตื่นเต้น, กระหาย, ต้องการมาก, อยาก | ante-bellum | (แอน' ทิเบล' ลัม) adj. ก่อนสงคราม (before the war) | assemblage | (อะเซม'เบลจฺ) n. กลุ่มคน, กลุ่มสิ่งของ, การรวบรวม, ภาวะที่รวมกัน, Syn. combination, assembly | assembler | แอสเซมเบลอร์ตัวแปลภาษาแอสเซมบลีหมายถึง โปรแกรมที่ใช้เพื่อทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์อ่านแล้วเข้าใจ และปฏิบัติตามคำสั่งได้ ดู assembly language | bail | (เบล) { bailed, bailing, bails } n. เงินประกัน, ผู้ประกันตัว, การประกันตัว vt. ประกันตัวให้แก่, อนุญาตให้ประกันตัว, เอาทรัพย์สินมอบให้, ช่วยให้หลุดพ้นจากภาวะที่ลำบาก, Syn. bond, security | bail-out | (เบล'เอาทฺ) n.การกระโดดร่มจากเครื่องบิน | bailment | (เบล'เมินทฺ) n. ทรัพย์ที่ใช้ประกันตัว, การส่งคืนทรัพย์สินที่ประกันตัว | bailout | (เบล'เอาทฺ) n.การกระโดดร่มจากเครื่องบิน | bailsman | (เบล'ซ เมิน) n. ผู้วางหลักทรัพย์เพื่อประกันตัว -pl. bailsmen | bale | (เบล) n. ห่อใหญ่, มัดใหญ่, ม้วนใหญ่, ความชั่ว, ความหายนะ, ความเคราะห์ร้าย, ความทุกข์ทรมาน, ความเสียใจ vt. บรรจุหีบห่อ, See also: baler, n. | balefire | (เบล'ไฟเออ) n. กองไฟขนาดใหญ่, สัญญาณไฟ, กองไฟสัญญาณ | baleful | (เบล'ฟูล) adj. มุ่งร้าย, ร้ายกาจ, ชั่วร้าย, Syn. evil, sinister, Ant. good | barbell | (บาร์'เบล) n. เครื่องยกน้ำหนักที่มีจานน้ำหนักทั้งสองข้างคานเหล็ก | bel | (เบล) n. 10 decibels | belch | (เบลชฺ) vt., vi. { belched, belching, belches } เรอ, พ่นออก | belfry | (เบล'ฟรี) n. หอระฆัง, โครงไม้สำหรับแขวนระฆัง, See also: belfried adj. มีหอระฆัง | belgian | (เบล'เจียน) n. ชาวเบลเยี่ยม adj. เกี่ยวกับเบลเยี่ยม | belgium | (เบล'เจียม) n. ประเทศเบลเยี่ยม | belgrade | (เบลเกรด') n. ชื่อเมืองหลวงของยูโกสลาเวีย, Syn. Beograd | bell | (เบล) { belled, belling, bells } n. ระฆัง, กระดิ่ง, เสียงระฆัง vt. ทำให้บวมคล้ายระฆัง, ติดระฆัง vi. มีรูปร่างคล้ายระฆัง, ดังสนั่นหวั่นไหว, ร้องตะโกน -Conf. belle | bellboy | (เบล'บอย) n. พนักงานรับใช้ในโรงแรม, คนหิ้วกระเป๋าและรับใช้ธุระอื่น ๆ ในโรงแรมหรือคลับ, Syn. bellhop | belle | (เบล) n. สาวสวย, หญิงสวย, Syn. beauty | belles-lettres | (เบลเล'ทระ) n., pl. วรรณคดี, วรรณวิจิตร, See also: belletrist n. นักรรณคดี, นักวรรณวิจิตร -belletristic adj. เกี่ยวกับรรณคดี, เกี่ยวกับวรรณวิจิตร | bellicose | (เบล'ลิโคส) adj. ชอบต่อสู้, ชอบทะเลาะ, See also: bellicosity n. ความชอบต่อสู้, ความชอบทะเลาะ, Syn. belligerent, Ant. pacific | belligerence | (เบลลิจ'เจอเรินซฺ) n. ภาวะคล้ายสงคราม, ลักษณะกระหายสงคราม, ลักษณะชอบต่อสู้, การทำสงคราม, Syn. war | bellman | (เบล'เมิน) n. คนตีระฆัง, คนยาก | bellow | (เบล'โล) { bellowed, bellowing, bellows } vi. คำราม, ตะโกน, แผดเสียงร้อง, ดังสนั่นหวั่นไหว, See also: bellower n. | bellows | (เบล'โลซ) n. ที่สูบลมที่ใช้มือ, หีบลม, ปอด, หนังหุ้มที่เป็นลูกคลื่น (เช่นของกล้องถ่ายรูป) | belly | (เบล'ลี) bellied, bellying, bellies } n. พุง, ท้อง, ช่องท้อง, กระเพาะ, มดลูก, ความอยากอาหาร, ส่วนภายใน, ส่วนยื่น, ส่วนหน้า vt., vi. ยื่นออก, Syn. stomach | bellyful | (เบล'ลีฟูล) n. ปริมาณเท่าที่จะทนได้ที่สุด | belt | (เบลทฺ) { belted, belting, belts } n. เข็มขัด, สายคาดเอว, สาย, ทางโค้ง, ทางรถไฟฟ้า, ดื่มอึกใหญ่, การโจมตี, แนว, เทือก vt. รัดเข็มขัด, คาดสาย, ใช้สายคาด, ใช้เข็มขัดหรือสายคาดตี, ตี, ร้อง (เพลง) เสียงดัง, Syn. girdle | belted | (เบล'ทิด) adj. ซึ่งมีสายคาด, มีแถบสี | belting | (เบล'ทิง) n. วัตถุที่ใช้คาด, สายคาดทั้งหลาย, การตี, การหวดด้วยสายคาด, Syn. beating | blade | (เบลด) n. ใบมีด, คมมีด, ใบหญ้า, ใบ, ใบพายุ, ใบจักร, ใบกังหัน, ใบพัดลม, กระดูกหัวไหล่, นักเลง, Syn. cutter | bladesmith | (เบลด'สมิธ) n. ช่างตีมีด | blamable | (เบลม'มะเบิล) adj. ควรรับผิด, ควรถูกตำหน', Syn. culpable | blame | (เบลม) { blamed, blaming, blames } vt. กล่าวโทษ, ตำหนิ, ประณาม, นินทา, กล่าวร้าย, โยนความผิดให้ -Phr. (be to blame ควรถูกตำหนิ, ควรรับผิดชอบ) n. การตำหนิ, ความรับผิดชอบ, ภาระ, See also: blamer n. blameful adj. ดูblame blameless adj. ดูblame -Conf. put | blameable | (เบลม'มะเบิล) adj. ควรรับผิด, ควรถูกตำหน', Syn. culpable | blameworthy | (เบลม'เวอธี) adj. ควรถูกตำหนิ, See also: blameworthiness n, Syn. culpable | blatant | (เบล'เทินทฺ) adj. ครึกโครม, ห้าว, ชัดเจน, โออวด, บาดตา, See also: blatancy n. ดูblatant, Syn. obtrusive, Ant. subtle | blaze | (เบลซ) { blazed, blazing, blazes } n. ไฟที่ลุกโชติช่วง, ความสว่างโชติช่วง, เปลวไฟ, ลำแสงเจิดจ้า, ความแวววาว, การระเบิดออก, จุดขาวด่างบนใบหน้าสัตว์, ร่องรอยตามต้นไม้ vi. สว่างช่วงโชติ, ลุกโพลง, ลุกไหม้เป็นเปลวไฟ, เปล่งแสงเจิดจ้า, ประทุ, ระเบิด, มีอารมณ์รุนแรง, ยิงอย่างไม่หย | blazer | (เบล'เซอะ) n. สิ่งที่ลุกสว่างโชติช่วง, ผู้แพร่กระจาย, ผู้ประกาศ | blazon | (เบล'เซิน) { blazoned, blazoning, blazons } n. ตรา, เครื่องหมาย ธง vt. ทำเครื่องหมาย, ทำตรา, แสดง, ประกาศ, เผยแพร่, โอ้อวด, See also: blazoner n. blazonment n. ดูblazon blazoning n. ดูblazon, Syn. proclaim | blazonry | (เบล'เซินรี) n. การประดับประดาอย่างฉูดฉาด, วิธีการทำเครื่องหมาย, เครื่องตรา, ตรา | blear | (เบลียร์) { bleared, blearing, blears } adj. ตาพร่ามัว, ตาฟาง, ตาบวม, พร่ามัว, ไม่ชัด vt. ทำให้มัว, ทำให้ตามัว, See also: blearedness n. ดูblear, Syn. bleary | blear-eyed | (เบลียร์'ไอดฺ) adj. ตามัว, สายตาสั้น, See also: blear-eyedness n. สายตาสั้น, Syn. short-sighted | bleary | (เบลีย'รี) adj. พร่ามัว, ไม่ชัด, เหนื่อยอ่อน, See also: blearybleariness n. ดูbleary, Syn. hazy | bled | (เบล็ด) กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bleed |
| | alhambra decree | (n) พระราชประกาศอาลัมบรา เป็นพระราชประกาศที่ออกโดยสมเด็จพระราชินีนาถอิสซาเบลลาแห่งสเปน และสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งอาราอน เมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1492 เพื่อขับไล่ชาวยิวออกจากสเปน (wikipedia.org), Syn. Edict of Expulsion | bokeh | (n) การถ่ายรูปให้เป็นแบบชัดตื้น (หน้าชัดหลังเบลอ) |
| 小脳 | [しょうのう, shounou] (n) ซีรีเบลลั่ม - สมองส่วนล่าง, See also: R. cerebellum |
| Nachhallzeit | (n) |die| ระยะเวลาที่ระดับความเข้มเสียงลดลง 60 เดซิเบล ในแต่ละความถี่ |
| Belgique | (n) |f| ประเทศเบลเยียม, See also: belge | belge | (adj) |ใช้รูปเดียวกันทั้งที่ขยายนามเพศชายและหญิง| ที่เกี่ยวกับประเทศเบลเยียม | alphabet | (n) |m, pl. -s| ตัวอักษร ประกอบด้วย A(อา) B(เบ) C(เซ) D(เด) E(เอ) F(เอฟ) G(เจ) H(อาช) I(อี) J(จี) K(คา) L(เอ็ล) M(เอ็ม) N(เอ็น) O(โอ) P(เพ) Q(คู) R(แอร์) S(เอส) T(เท) U(ออกเสียงระหว่าง อู-อือ) V(เว) W(ดุบเบลอเว) X(อิกส์) Y(อีเกร็ค) Z(เซท) | consonne | (n) |f, pl. -s| พยัญชนะ, สระอักษร ประกอบด้วย A(อา) B(เบ) C(เซ) D(เด) E(เอ) F(เอฟ) G(เจ) H(อาช) I(อี) J(จี) K(คา) L(เอ็ล) M(เอ็ม) N(เอ็น) O(โอ) P(เพ) Q(คู) R(แอร์) S(เอส) T(เท) U(ออกเสียงระหว่าง อู-อือ) V(เว) W(ดุบเบลอเว) X(อิกส์) Y(อีเกร็ค) Z(เซท) é: e accent aigu è: e accent grave ê: e accent circonflexe ë: e tréma ç ตัวอักษรที่เรียกว่า cédille (เซดีย์) ใช้เปลี่ยงเสียงคำที่ขึ้นต้นด้วย ca, co, cu ซึ่งต้องเปล่งเสียงเป็น ค ให้เป็น ça, ço, çu ซึ่งต้องเปล่งเสียงเป็น ส |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |