ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เถียง, -เถียง- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ เถียง | (v) dispute, See also: debate, argue, wrangle, discuss, Syn. แย้ง, โต้แย้ง, ถกเถียง, โต้เถียง, Example: ที่ประชุมยังคงเถียงกันอยู่ว่าโครงการนี้จะมีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงไหน | ถกเถียง | (v) dispute, Syn. โต้เถียง, โต้แย้ง, Example: คนงานก่อสร้างกลุ่มของทอนรวมหัวกันที่ร้านข้าวเหนียวส้มตำ ถกเถียงกันเรื่องที่ตั้งและขนาดของไร่, Thai Definition: ยกเอาขึ้นมาพูดโต้แย้งกัน | โต้เถียง | (v) argue, See also: debate, dispute, Example: ผมเป็นคนค่อนข้างดื้อเอาการอยู่ ถึงแม้จะมีนิสัยค่อนข้างสงบ ไม่ชอบโต้เถียงกับใคร แต่ผมก็ถือว่าเรื่องนี้ค่อนข้างสำคัญ, Thai Definition: เถียงกันไปมา | ทุ่มเถียง | (v) argue, See also: have an argument, have a row, quarrel, have an altercation, dispute, Syn. โต้เถียง, เถียง, ถกเถียง, Example: ทั้งคู่ทุ่มเถียงกันด้วยเรื่องไม่เป็นเรื่อง, Thai Definition: โต้แย้ง หรือเถียงกันอย่างรุนแรง | ทุ่มเถียง | (v) argue, See also: debate, discuss, talk about, clarify, Syn. เจรจา, โต้ตอบ | การโต้เถียง | (n) controversy, See also: dispute, disputation, debate, argument, discussion, Syn. การถกเถียง, การเถียง, การโต้แย้ง, Example: การโต้เถียงกันของผู้ใหญ่เป็นตัวอย่างที่ไม่ดีกับเด็กๆ | เถียงไม่ขึ้น | (v) can't argue, See also: argue without reason, lose the argument, be unable to reason with, fail to convince, Syn. เถียงไม่ออก, Example: เหตุผลของเขาทำให้ผมเถียงไม่ขึ้น, Thai Definition: เถียงต่อไปไม่ได้ เพราะต้องยอมรับเหตุผลที่เขายกขึ้นอ้าง | ต่อล้อต่อเถียง | (v) haggle, See also: debate, controvert, argue against, keep arguing, argue back and forth, argue, talk back, d, Syn. โต้เถียง, ทุ่มเถียง, เถียง, Ant. สงบปากสงบคำ, Example: หลังจากที่เขาไม่สามารถหาเหตุผลมาอธิบายได้ เขาจึงพูดว่า ผมไม่อยากต่อล้อต่อเถียงกับผู้หญิง, Thai Definition: โต้เถียงกันไปมาไม่หยุดหย่อน | เถียงคำไม่ตกฟาก | (v) argue incessantly, See also: dispute every word, Syn. เถียงคอเป็นเอ็น, Example: เด็กคนนี้เถียงคำไม่ตกฟาก เป็นเด็กที่ไม่น่ารักเลย, Thai Definition: เถียงไม่หยุด |
|
| ต่อล้อต่อเถียง | ว. โต้เถียงยอกย้อนกันไปมา. | โต้เถียง | ก. เถียงกันไปมา. | ถกเถียง | ก. ยกเอาขึ้นมาพูดโต้แย้งกัน. | เถียง ๑ | ก. พูดโต้, พูดแย้ง, พูดโต้แย้ง | เถียง ๑ | ขัดกัน เช่น เรื่องนี้ความตอนต้นกับตอนปลายเถียงกัน. | เถียง ๒ | น. เรือนพักชั่วคราวในทุ่งนา สำหรับอยู่เฝ้าข้าว. | ทุ่มเถียง | ก. เถียงกันรุนแรงอย่างทะเลาะ. | ข้าง ๆ คู ๆ | ว. ออกนอกแนวนอกเรื่องอย่างไม่สมเหตุสมผล เช่น เถียงไปข้าง ๆ คู ๆ. | ขี้เกียจ | ก. มีนิสัยไม่ชอบทำงาน เช่น เด็กคนนี้ขี้เกียจ, เกียจคร้าน ก็ว่า, รู้สึกไม่อยากทำเพราะไม่เห็นประโยชน์เป็นต้น เช่น ขี้เกียจเถียง | ขึ้น ๒ | มีเหตุผลสมควร เช่น ฟังขึ้น, ถ้าใช้ในความปฏิเสธ เช่น เถียงไม่ขึ้น หมายความว่า เถียงไม่ชนะ. | คอแข็ง | ว. อาการที่นิ่งอั้นเพราะเถียงไม่ขึ้นเป็นต้น | คอเป็นเอ็น | ว. ขึ้นเสียงเถียงโต้อย่างไม่ยอมลดละ, เถียงเก่ง, เช่น หวงแหนหึงผัวตัวเป็นเกลียว จนเสียงขุ่นเสียงเขียวคอเป็นเอ็น (คาวี). | งัดข้อ | ก. เกร็งแขนขัดกัน แล้วออกกำลังกดให้แขนอีกฝ่ายหนึ่งล้มลง, โดยปริยายหมายความว่า โต้เถียงกัน, มีความเห็นขัดแย้งกัน, ไม่ลงรอยกัน. | จุด | ประเด็นสำคัญของเรื่องที่พูดหรือถกเถียงกันเป็นต้น เช่น พูดไม่ถูกจุด ตอบไม่ตรงจุด. | ฉอด ๆ | ว. อาการที่พูดหรือเถียงไม่หยุดปาก เช่น พูดฉอด ๆ เถียงฉอด ๆ. | ชักสื่อ | ก. แนะนำชายหญิงให้รู้จักกันในฐานชู้สาว เช่น ถ้าเจ้าไช้ให้ข้าชักสื่อ ท่านว่าข้าเถียงเจ้ามิได้ อย่าให้ไหมทาษนั้นเลย (สามดวง), ภิกษุชักสื่อให้ชายหญิงเป็นผัวเมียกัน ต้องสังฆาทิเสส (นวโกวาท). | ดื้อ | ก. ตรงทื่อ เช่น ถ้ามันโกรธกูจะกรูเข้าคร่า ถ้ามันด่ากูจะดื้อเข้าเดียง ถ้ามันเถียงกูจะเข้าถอง (ม. ร่ายยาว ชูชก) | เดียง ๒ | ก. ตีลง, ทุบลง, ฟาดลง, เช่น ถ้ามันโกรธกูจะกรูเข้าคร่า ถ้ามันด่ากูจะดื้อเข้าเดียง ถ้ามันเถียงกูจะถูเข้าถอง (ม. ร่ายยาว ชูชก). | ตกฟาก | โดยปริยายใช้ในลักษณะที่พูดคำเถียงคำไม่หยุดปาก ว่า เถียงคำไม่ตกฟาก. | ต่อนัดต่อแนง ๑, ต่อนัดต่อแนม ๑ | ก. เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่รู้จักจบ. | ตะบัน ๑ | ดึงดัน เช่น ตะบันเถียง. | ตะบัน ๑ | ว. คำประกอบกริยาหมายความว่า ไม่มียับยั้ง, เรื่อยไป, เช่น เที่ยวตะบัน เถียงตะบัน, ตะบันราด ก็ว่า. | ตะบันราด | ว. คำประกอบกริยาหมายความว่า ไม่มียับยั้ง, เรื่อยไป, เช่น เที่ยวตะบันราด เถียงตะบันราด, ตะบัน ก็ว่า. | ตะบี้ตะบัน | ว. ซํ้า ๆ ซาก ๆ, ไม่รู้จักจบจักสิ้น, เช่น เถียงตะบี้ตะบัน. | ตะแบง ๒ | ว. อาการที่พูดหรือเถียงเฉไฉหรือดันไปข้าง ๆ คู ๆ. | ท้อ ๓ | ก. กล่าว, โต้, เถียง. | ทะเลาะ | ก. ทุ่มเถียงกันด้วยความโกรธ, โต้เถียงกัน, เป็นปากเป็นเสียงกัน. | ปักษเภท | น. ความแตกต่างระหว่าง ๒ ฝ่ายที่โต้เถียงกัน. | ปากแข็ง | ว. พูดยืนยันหรือเถียงอย่างดื้อดันไม่ยอมจำนนข้อเท็จจริง. | ปากจัด | ว. ชอบพูดจาหรือโต้เถียงด้วยถ้อยคำแข็งกร้าวไม่สุภาพ, ด่าเก่ง, ชอบพูดจาหยาบคาย. | ปากเสียง | ก. โต้เถียง, ทะเลาะ, ในคำว่า เป็นปากเสียง มีปากเสียง. | ปากเสียง | น. ผู้พูดหรือโต้เถียงแทน เช่น ผู้แทนราษฎรเป็นปากเสียงของประชาชน. | เป็นปากเสียง | ก. โต้เถียง เช่น เป็นปากเสียงกัน, พูดหรือโต้เถียงแทน เช่น หนังสือพิมพ์เป็นปากเสียงของประชาชน, เป็นปากเป็นเสียง ก็ว่า. | ภัณฑนะ | (พันดะนะ) น. การทะเลาะ, การทุ่มเถียง, การแก่งแย่ง. | มีปากมีเสียง | ก. ทะเลาะกัน, ทุ่มเถียงกัน. | มีเสียง | ก. เถียง, มักใช้ในความปฏิเสธว่า อย่ามีเสียงนะ. | มุบมิบ | ว. ปิดบังไม่ให้คนอื่นรู้, อาการที่เถียงหรือบ่นโดยอ้าปากขึ้นลงเล็กน้อยไม่ให้ได้ยิน. | ไม่ลดราวาศอก | ก. ไม่ยอมผ่อนปรน เช่น เถียงไม่ลดราวาศอก. | ลดราวาศอก | ก. อ่อนข้อ, ยอมผ่อนปรนให้, เช่น เถียงกันไม่ลดราวาศอก เขาเป็นพี่ก็ต้องยอมลดราวาศอกให้เขาบ้าง. | ลอยหน้า, ลอยหน้าลอยตา | ก. ทำหน้าเชิดไปมา, โดยปริยายหมายความว่า มีลักษณะอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ทำผิดแล้วยังมาลอยหน้าเถียงอีก. | ละลด | ก. ยอมเว้นให้, ยอมหย่อนให้, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เถียงอย่างไม่ละลด, ลดละ ก็ว่า. | ลับปาก, ลับฝีปาก | ก. เตรียมตัวพูดหรือโต้เถียงเต็มที่ เช่น ลับปากไว้คอยท่า(ไชยเชฐ), พูดจาโต้ตอบคารมบ่อย ๆ จนคล่องแคล่ว. | ลิ้นกระด้างคางแข็ง | ว. ก้าวร้าวโต้เถียงไม่ลดละ เช่น ลิ้นกระด้างคางแข็งแกล้งว่าขาน (ขุนช้างขุนแผน) | เล่าเรียน | ก. ท่องบ่น เช่น เล่าเรียนคาถาอาคม, ศึกษาหาความรู้ เช่น เขาเล่าเรียนมา อย่าไปเถียงเขา, เรียกเงินที่ต้องชำระเพื่อศึกษาหาความรู้ ว่า ค่าเล่าเรียน. | วิคหะ | (วิกคะ-) น. การทะเลาะ, การโต้เถียง | วิประลาป, วิปลาป | การทุ่มเถียง, การโต้ตอบ | สงบปากสงบคำ | ก. นิ่ง, ไม่พูด, เช่น เขาเป็นคนสงบปากสงบคำ, ไม่โต้เถียง เช่น สงบปากสงบคำเสียบ้าง อย่าไปต่อล้อต่อเถียงเขาเลย. | สู้ปาก, สู้ฝีปาก | ก. เถียงกัน เช่น สู้ปากเขาไม่ได้, สู้สีปาก ก็ว่า. | เสียงแข็ง | ว. อาการที่กล่าวออกมาอย่างยืนยันหนักแน่น เช่น เขาเถียงเสียงแข็งว่าเขาทำถูกต้องแล้ว | หน้าดำหน้าแดง | ว. อาการที่ใช้วาจาโต้เถียงกันเพราะมุ่งที่จะเอาชนะอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น แม่ค้าเถียงกันหน้าดำหน้าแดง. |
| argument | การให้เหตุผล, การถกเถียง, ข้อโต้แย้ง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | joinder of issue | การกำหนดประเด็นข้อโต้เถียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | contention | การต่อสู้คดี, ข้อโต้เถียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | controversy | ข้อโต้เถียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | controversy | การโต้เถียง, การโต้แย้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Humanitarian Intervention | การแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม " เป็นแนวคิดที่นายโคฟี อันนาน เลขาธิการสหประชาชาติเสนออย่างเป็น ทางการครั้งแรกต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ 54 เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมุ่งจะให้สหประชาชาติสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนภาย ในประเทศต่าง ๆ ได้โดย คำนึงถึงประเด็นเรื่องมนุษยธรรมเป็นหลัก ขณะนี้ แนวคิดนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่ยุติ โดยบางประเทศเห็นว่า เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐ บางประเทศเห็นว่าเป็นมาตรการที่จำเป็นเพื่อแก้ปัญหาของมนุษยชาติ ส่วนบางประเทศเห็นว่าการแทรกแซงดังกล่าวจะต้องอยู่ใต้กรอบหลักเกณฑ์ หรือกรอบกฎหมายบางประการ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ " [การทูต] |
| การถกเถียง | [kān thokthīeng] (n) EN: controversy | การถกเถียงกัน | [kān thokthīeng kan] (n, exp) EN: controversy | การโต้เถียง | [kān tōthīeng] (n) EN: controversy ; dispute ; disputation ; debate ; argument ; discussion ; exchange FR: discussion [ f ] | การโต้เถียงกัน | [kān tōthīeng kan] (n, exp) FR: dispute [ f ] | การโต้เถียงอย่างรุนแรง | [kān tōthīeng yāng runraēng] (n, exp) EN: catfight ; controversy | ข้อโต้เถียง | [khø tōthīeng] (n, exp) EN: dispute ; argument ; controversy ; point of contention FR: point de désaccord [ m ] | ข้อโต้เถียงกัน | [khø tōthīeng kan] (n, exp) EN: point at issue | ผู้ชอบเถียง | [phū chøp thīeng] (n, exp) FR: disputeur [ m ] (vx) ; disputeuse [ f ] (vx) | เถียง | [thīeng] (v) EN: dispute ; debate ; argue ; wrangle ; discuss ; contradict ; talk back FR: contester ; objecter ; répliquer ; discuter ; débattre | เถียงคำไม่ตกฟาก | [thīeng kham mai tokfak] (v, exp) EN: argue incessantly ; dispute every word FR: discuter sans relâche | เถียงไม่ขึ้น | [thīeng mai kheun] (v, exp) EN: can't argue ; argue without reason ; lose the argument ; be unable to reason with ; fail to convince | ถกเถียง | [thokthīeng] (v) EN: dispute ; argue ; discuss | ทุ่มเถียง | [thumthīeng] (v) EN: have an argument ; have a row ; have a quarrel ; have an altercation FR: débattre ; contester ; polémiquer ; avoir une altercation | ตกเถียง | [tokthīeng] (v) FR: discuter ; débattre | โต้เถียง | [tōthīeng] (v) EN: argue ; debate ; dispute FR: polémiquer ; batailler ; disputer (vx - litt.) |
| dissemination | (n) การเปิดประเด็นเพื่อการถกเถียงและโต้แย้งอย่างกว้างขวาง |
| altercation | (n) การทุ่มเถียง, See also: การทะเลาะวิวาท, Syn. quarrel | answer back | (v) สวนตอบ, See also: ตอบโต้, โต้, สวน, ย้อนกลับ, เถียง, สวนกลับ, Syn. talk back | argue | (vi) โต้เถียง, See also: โต้แย้ง, เถียง, Syn. quarrel, dispute | argument | (n) การโต้แย้ง, See also: การแย้ง, การโต้เถียง, Syn. dispute, debate | answer back | (phrv) เถียงกลับ, See also: โต้กลับ, ย้อนกลับ | argue about | (phrv) โต้เถียงเรื่อง, See also: เถียงกันเรื่อง, ทุ่มเถียงเรื่อง | argue against | (phrv) ถกเถียงเพื่อต่อต้าน, See also: อภิปรายแย้ง, อภิปรายต่อต้าน | argue back | (phrv) เถียงกลับ (อย่างไม่พอใจหรือหยาบคาย) | argue for | (phrv) ถกเถียงเรื่อง, See also: อภิปรายเรื่อง | argue out | (phrv) โต้เถียงเรื่อง, See also: ถกเถียงเรื่อง | argue over | (phrv) ทะเลาะกันเรื่อง, See also: ถกเถียงเรื่อง, โต้เถียงเรื่อง, Syn. argue about | barney | (n) เสียงทะเลาะ (คำไม่เป็นทางการ), See also: เสียงโต้เถียงกัน | bicker | (vi) โต้เถียง, Syn. squabble | bone of contention | (n) ต้นเหตุที่ทำให้เกิดการโต้เถียง, See also: สาเหตุที่ทำให้ทะเลาะกัน, Syn. controversy | brainstorm | (n) การถกเถียงอย่างเปิดเผย | brainstorm | (vi) ถกเถียงอย่างเปิดเผยเพื่อแก้ปัญหา, Syn. confer | brainstorm | (adj) เกี่ยวกับการถกเถียงอย่างเปิดเผยเพื่อแก้ปัญหา | brangle | (vi) เถียง, See also: ทะเลาะ | brangle | (n) การทุ่มเถียง, See also: ทะเลาะ | brawl | (n) การวิวาท, See also: การทะเลาะเบาะแว้ง, การทุ่มเถียง, การทะเลาะวิวาท, Syn. fight | brawl | (vi) ทะเลาะเบาะแว้ง, See also: ทุ่มเถียง, ทะเลาะวิวาท, Syn. fight | bust-up | (n) การโต้เถียงรุนแรง | be at loggerheads | (idm) โต้แย้งกันอย่างแรง, See also: โต้เถียงกันอย่างแรง | bicker about | (phrv) ทะเลาะกันเรื่อง, See also: เถียงกันในเรื่อง, Syn. quarrel about | bicker over | (phrv) ทะเลาะกันเรื่อง, See also: เถียงกันในเรื่อง, Syn. quarrel about | bury the hatchet | (idm) หยุดต่อสู้, See also: เลิกโต้เถียง | catfight | (n) การโต้เถียงอย่างรุนแรง (โดยเฉพาะระหว่างผู้หญิง), Syn. quarrel | combatant | (n) คนที่เถียงกัน, See also: คนที่โต้แย้งกัน | contend | (vi) โต้เถียง, Syn. argue, debate, fence | contention | (n) การโต้แย้ง, See also: การโต้เถียง, ความขัดแย้ง, Syn. argument, controversy, disagreement | contentious | (adj) ซึ่งโต้เถียงกัน, See also: ซึ่งเป็นที่ถกเถียงกัน, Syn. quarrelsom, argumentative | controversial | (adj) ซึ่งก่อให้เกิดการโต้แย้ง, See also: เกี่ยวกับการโต้เถียง, Syn. arguable, controvertible, debatable | controversy | (n) การโต้เถียงอย่างรุนแรง, Syn. contention, debate, quarrel | controvert | (vt) โต้แย้ง, See also: โต้เถียง, Syn. refute, rebut | contend about | (phrv) โต้เถียงเกี่ยวกับ, See also: ทะเลาะกันในเรื่อง | dispute about | (phrv) ขัดแย้งกันในเรื่อง, See also: โต้เถียงกันในเรื่อง | dispute against | (phrv) ขัดแย้งกันกับ, See also: โต้เถียงกันกับ | dispute over | (phrv) ขัดแย้งกันในเรื่อง, See also: โต้เถียงกันในเรื่อง | dispute with | (phrv) ขัดแย้งกันกับ, See also: โต้เถียงกันกับ | enter the lists | (idm) เริ่มเข้ามาร่วมวง, See also: เข้าร่วมการแข่งขัน / การโต้เถียง | expostulate with | (phrv) โต้แย้งกับ, See also: เถียงกับ | debatable | (adj) ซึ่งโต้แย้งได้, See also: ซึ่งยังถกเถียงกันอยู่, Syn. arguable, questionable, disputable | debate | (n) การโต้วาที, See also: การอภิปราย, การโต้แย้ง, การถกเถียง, Syn. argument, contention, controversy, discussion, dispute, disputation | debate | (vt) โต้แย้ง, See also: ถกเถียง, โต้เถียง, อภิปราย, ขัดแย้ง, Syn. argue, discuss, dispute | debate | (vi) โต้แย้ง, See also: ถกเถียง, โต้เถียง, อภิปราย, ขัดแย้ง, Syn. argue, discuss, dispute | disaffirm | (vt) กล่าวแย้ง, See also: โต้เถียง, Syn. deny, contradict, Ant. confirm, admit | discuss | (vt) สนทนา, See also: แลกเปลี่ยนความเห็น, ปรึกษาหารือ, อภิปราย, ถกเถียง, ถกปัญหา, Syn. consult, analyze, criticize, confabulate | disputable | (adj) ที่โต้แย้งได้, See also: ที่ถกเถียงได้ | dispute | (n) การโต้เถียง, See also: ความขัดแย้ง, การโต้แย้ง, การคัดค้าน, การไม่เห็นด้วย, Syn. argument, disagreement, dispute, Ant. support, agree | dispute | (vt) โต้เถียง, See also: ทะเลาะ, โต้แย้ง, ถกเถียง, คัดค้าน, ขัดคอ, Syn. challenge, antagonize, argue, Ant. support, agree |
| analogize | (อะแนล'โชไจซ) vt., vt. ใช้วิธีการอุปมาเปรียบเทียบในการอธิบายหรือโต้เถียง, ทำการอุปมาในลักษณะเหมือนกัน | argue | (อาร์'กิว) vt., vi. ถกเถียง, เถียง, โต้คารม, อ้างเหตุผล, อภิปราย, พูดให้ยอม, โต้แย้งพิสูจน์ว่า, แสดงให้เห็นว่า-arguer n., Syn. debate | argument | (อาร์'กิวเมินทฺ) n. การโต้เถียง, การโต้คารม, การอ้างเหตุผล, ขบวนการให้เหตุผล, ข้อโต้เถียง, เรื่อง, ข้อสรุป, หลักฐาน, ข้อพิสูจน์ | argumentation | (อาร์กิวเมนเท'เชิน) n. ขบวนการโต้เถียงการให้เหตุผล, การอภิปราย, การถกเถียง, บทความเชิงอภิปราย, ข้อพิสูจน์, ข้อสรุป, ข้ออนุมาน, Syn. discussion | argumentative | (อาร์กิวเมนเท'ทิฟว) adj. ชอบโต้เถียง, เกี่ยวกับโต้เถียง, ขัดแย้ง, Syn. disputatious, contentious, Ant. amenable | belabor | (บิเล'เบอะ) { belabored, belaboured, belaboring, belabouring, belabors, belabours } vt. ถกเถียง, พูดมากเกินไปเกี่ยวกับ, กล่าวหา, เหยียดหยาม, ตีแรง | belabour | (บิเล'เบอะ) { belabored, belaboured, belaboring, belabouring, belabors, belabours } vt. ถกเถียง, พูดมากเกินไปเกี่ยวกับ, กล่าวหา, เหยียดหยาม, ตีแรง | bicker | (บิค'เคอะ) { bickered, bickering, bickers } vt., n. (การ) ทะเลาะวิวาท, โต้เถียง, เคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว, สั่น, ระยิบระยับ, See also: bicker n. ดูbicker | blowup | (โบล'อัพ) n. การระเบิด, การถกเถียงอย่างรุนแรง, อารมณ์ระเบิด, การขยายออก, Syn. explosion | brainstorming | n. การถกเถียงอย่างเปิดเผยเพื่อแก้ปัญหา | chop | (ชอพ) v.ตัด, ผ่า, สับ, โค่น, ฟัน, ถาง, ฟัน, ตัดขาด, เปลี่ยนทิศทางอย่างฉับพลัน, โต้เถียง -n. การตัด, การผ่า, ชิ้นที่ตัดออก, ชิ้นเนื้อ, การสับเปลี่ยน -Phr. (chop chop adv., interj. เร็ว !.เร็วเข้า !) | choplogic | n. การโต้เถียงที่อ้างเหตุผลผิด ๆ | con | (คอน) 1. { conned, conning, cons } v. ต่อต้าน, แย้ง, เรียนรู้, ศึกษา, ตรวจสอบอย่างระมัดระวัง, จำไว้, นำเรือ, ถือพวงมาลัยเรือ n. การต่อต้าน, การโต้เถียง, ผู้คัดค้าน, ผู้ลงบัตรคัดค้าน, นักโทษ, วัณโรค adj. ซึ่งหลอกให้เชื่อ 2. ย่อมาจากคำว่า CONsole ซึ่งศัพท์บัญญัติฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ส่วนเฝ้าคุม ในวงการคอมพิวเตอร์ มักจะหมายถึง อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ส่วนที่เป็นแป้นพิมพ์และจอภาพ เป็นต้นว่า คำสั่ง COPY CON:autoexec.bat เป็น คำสั่งที่นำมาใช้เมื่อต้องการนำข้อความที่เราพิมพ์จากแป้นพิมพ์และมองเห็นบนจอภาพ (โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมประมวลผลคำ) คัดลอกเข้าไปเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลแฟ้มหนึ่ง ชื่อว่า autoexec.bat เมื่อพิมพ์ข้อความที่ต้องการเสร็จแล้ว ให้กด CTRL+Z หลังจากนั้น ในคอมพิวเตอร์ก็จะมีแฟ้มข้อมูลชื่อ autoexec.bat ซึ่งบรรจุข้อความที่พิมพ์ไว้นั้น | contend | (คันเทนดฺ') { contended, contending, contends } vi. แข่งขัน, ต่อสู้ vt. ยืนยัน, โต้เถียง., See also: contendingly adv. ดูcontend | contention | (คันเทน'เชิน) n. การแข่งขัน, การดิ้นรนต่อสู้, การโต้เถียง, Syn. struggle | contentious | (คันเทน'เชิส) adj. ชอบทะเลาะ, ชอบโต้เถียง, ชอบต่อสู้., See also: contentiousness n. ดูcontentious | contest | (n. คอน'เทสทฺ, -v. คันเทสทฺ') n. การต่อสู้กัน, การแข่งขัน, การโต้แย้ง, การโต้เถียง. vt. ต่อสู้, ดิ้นรน, โต้แย้ง, โต้เถียง. vi.แข่งขัน, โต้เถียง, See also: contester n., Syn. strive | contestation | (คอนเทสเท'เชิน) n. การแข่งขัน, ความขัดแย้ง, การโต้เถียง | contradict | (คอนทระดิคทฺ') { contradicted, contradicting, contradicts } vt. โต้แย้ง, เถียง, ปฏิเสธ. vi. กล่าวแย้ง., See also: contradicter n. ดูcontradict contradictor n. ดูcontradict | contradiction | (คอนทระดิค'เชิน) n. การโต้แย้ง, การเถียง, ความขัดแย้ง, ความไม่ลงรอยกัน | controversial | (คันทระเวอ'เชิล) adj. เกี่ยวกับการโต้เถียง, เกี่ยวกับการขัดแย้ง, , See also: controversialism n. controversialist n., Syn. disputatious | controversy | (คอน'ทระเวอซี) n. การโต้เถียง, การโต้ความ, การทะเลาะวิวาท, Syn. discussion | controvert | (คอน'ทระเวิร์ท) vt. โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย., See also: controverter n. ดูcontrovert controvertible adj. ดูcontrovert, Syn. oppose, deny | debatable | (ดิเบ'ทะเบิล) adj. เป็นที่ถกเถียงกัน, เป็นปัญหา | debate | (ดิเบท') { debated, debating, debates } vt., n. (การ) ถกเถียง, อภิปราย, พิจารณา, ชิงชัย, ต่อสู้, Syn. argue | deraign | (ดิเรน') vt. โต้เถียง | disputable | (ดิสพิว'ทะเบิล) adj. ซี่งโต้แย้งได้, เถียงได้, เป็นปัญหา., See also: disputability n. | disputant | (ดิสพิว'เทินทฺ) n.ผู้โต้เถียง, ผู้โต้แย้ง, ผู้อภิปราย. -adj. ซึ่งโต้เถียง, ซึ่งโต้แย้ง | disputation | n. การโต้เถียง, การอภิปราย, การทะเลาะ, Syn. dispute | disputatious | (ดิสพิวเท'ชัส) adj. ซึ่งเป็นการโต้เถียง, ชอบโต้เถียง. | dispute | (ดิสพิวทฺ') vi., vt., n. (การ) โต้เถียง, โต้แย้ง, ทะเลาะ, See also: disputer n. ดูdispute, Syn. debate, argument | disquisition | n. การตรวจสอบและถกเถียงเกี่ยวกับปริญญานิพนธ์ | flak | (แฟลคฺ) n. การยิงปืนต่อสู้อากาศยาน, การวิจารณ์ที่รบกวน, การต่อต้านที่รบกวน, การโต้เถียงอย่างเผ็ดร้อน, การอภิปรายอย่างเผ็ดร้อน., Syn. flack | give | (กิฟว) { gave, given, giving, gives } vt., vi. ให้, มอบให้, เอาให้, แจก -Phr. (give in ยอมแพ้, หยุดสู้, หยุดเถียง) . -Id. (give (something) out แจกจ่าย) . n. สภาพที่ยืดหยุ่นได้, ความเด้งได้ | haggle | (แฮก'เกิล) vi. ทะเลาะ, เถียง, ต่อล้อต่อเถียง. vi. ตัดหรือฟันอย่างอุตลุด, เสียงรบกวน. n. การเถียง, การต่อล้อต่อเถียง., See also: haggler n. | hassle | (แฮส'เซิล) vi., n. (การ) โต้เถียง, ทะเละ, วิวาท, รบกวน, Syn. quarrel, squabble, irritate | hermetic | (เฮอเมท'ทิคคัล) adj. ว่าด้วยผีสางหรือการใช้อาคม, ลมเข้าไม่ได้ (โดยการเชื่อม) , เถียงไม่ได้, ลึกลับ, See also: hermeticism n. | hermetical | (เฮอเมท'ทิคคัล) adj. ว่าด้วยผีสางหรือการใช้อาคม, ลมเข้าไม่ได้ (โดยการเชื่อม) , เถียงไม่ได้, ลึกลับ, See also: hermeticism n. | inarguable | (อินอาร์' กิวอะเบิล) adj. ซึ่งถกเถียงไม่ได้, ซึ่งแย้งไม่ได้., See also: inarguably adv. | issue | (อิช'ชิว) n. การปล่อยออกมา, การออกคำสั่ง, การตีพิมพ์ออกมา, สิ่งที่ปล่อยออก, สิ่งตีพิมพ์, จำนวนหรือปริมาณที่ปล่อยออกมาแต่ละครั้ง, ฉบับ, ชุด, คราว, ปัญหา, ผลที่เกิดขึ้น, บุตร, ทายาท, ทางออก, ผลผลิต, ผลกำไร. -Phr. (at issue ที่กำลังเป็นปัญหา ที่กำลังถกเถียงกัน) vt., vi. ไหล | litigious | (ลิทิจ'เจิส) adj. เกี่ยวกับการฟ้องร้อง, เกี่ยวกับการดำเนินคดี, ชอบฟ้องร้อง, ชอบโต้แย้ง, ชอบถกเถียง., See also: litigiousness n. ดูlitigious litigiosity n. ดูlitigious, Syn. quarrelsome | moot | (มูท) adj. น่าสงสัย, ไม่จริง, เป็นสมมุติฐาน vt. ถกเถียง n. ศาลากลาง, การถกเถียง, การอภิปราย, Syn. debatable, academic | palter | (พอล'เทอะ) vi. พูดเล่น ๆ , ทำเล่น ๆ , ต่อรอง, ต่อล้อต่อเถียง, See also: palterer n. | pettifog | (เพท'ทะฟอก) vi. โต้เถียงในเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ , เป็นหมอความเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ , ใช้เล่ห์เหลี่ยมของทนายความ, โยเย, เล่นลิ้น, See also: pettifogger n. pettifoggery n. | polemics | (พะเลม'มิคซฺ) n. ศิลปะการโต้เถียงหรือโต้แย้ง | quarrel | (ควอ'เริล) { quarrel (l) ed, quarrel (l) ing, quarrels } vi., n. (การ) ทะเลาะ, วิวาท, ถกเถียงด้วยความโกรธ, บ่น, โทษ, จับผิด, See also: quarreler, quarreller n., Syn. argument | spar | (สพาร์) n. หินแร่ผลึก, เครื่องเสาหรือไม้กลมที่ใช้ค้ำยึด (เช่นเสากระโดงเรือ, ไม้ใบเรือ) , โครงปีกเครื่องบิน vt. จัดให้มีเครื่องเสาหรือโครงดังกล่าว vi., n. (การ) ต่อยมวย, ชกมวย, ซ้อมมวย, ตั้งหมัด, ต่อยหมัด, (ไก่) ต่อสู้กัน, ทะเลาะ, โต้เถียง. | squabble | (สควอบ'เบิล) vi., n. (การ) ทะเลาะ, เถียงกัน, มีปากเสียงกัน, ต่อล้อต่อเถียง, Syn. dispute, wrangle | tangle | (แทง'เกิล) vi., vt. (ทำให้) ยุ่งเหยิง, พัวพัน, ต่อสู้, โต้เถียง. n. เรื่องยุ่งเหยิง, การต่อสู้, การทะเลาะวิวาท, การโต้เถียง, ความสับสน, ความพัวพัน., See also: tanglement n. tangler n. tangly adv. | tilt | (ทิลทฺ) vt. ทำให้เอียง, ทำให้กระดก, ทำให้ตะ-แคง, โจมตี, โถมเข้าใส่, ถือหอกเตรียมแทง. vi. เอียง, กระดก, ตะแคง, โถมเข้าใส่ด้วยหอก, โจมตี n. การเอียง, การกระดก, ตำแหน่งเอียง, ที่ลาด, การต่อสู้, การโต้เถียง, ความขัดแย้ง, การโจมตีด้วยหอก, -Phr. (full tilt เต็มแรง เต็มที่ |
| argue | (vi, vt) โต้แย้ง, เถียง, ถกเถียง, โต้เถียง, โต้คารม | argument | (n) การโต้แย้ง, การโต้เถียง, การโต้คารม, การถกเถียง | argumentative | (adj) ชอบโต้แย้ง, ชอบโต้เถียง, ชอบเถียง, ชอบขัดแย้ง | bicker | (n) การทะเลาะวิวาท, การโต้เถียง | bicker | (vi) ทะเลาะวิวาท, โต้เถียง | blowup | (n) การระเบิด, การขยายออก, การถกเถียงอย่างแรง | contention | (n) การทะเลาะวิวาท, การโต้เถียง, การต่อสู้, การแข่งขัน | contentious | (adj) ชอบทะเลาะวิวาท, ชอบต่อสู้, ชอบโต้เถียง, ชอบแย้ง | contest | (n) การต่อสู้, การต่อกร, การแข่งขัน, การโต้แย้ง, การโต้เถียง | contest | (vt) ต่อสู้, ต่อกร, แข่งขัน, โต้แย้ง, โต้เถียง | contradict | (vt) เถียง, แย้ง, โต้แย้ง | contradiction | (n) การโต้แย้ง, การเถียง, การแย้ง, ความตรงกันข้าม | controversial | (adj) ซึ่งแย้งกัน, ที่เถียงกัน, เกี่ยวกับการโต้เถียง | controversy | (n) ความขัดแย้ง, การโต้แย้ง, การโต้เถียง, การเถียง, การโต้คารม | controvert | (vi, vt) แย้งกัน, โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย | debatable | (adj) ซึ่งยังไม่ตกลงกัน, เป็นปัญหา, เป็นที่ถกเถียงกัน | debate | (n) การถกเถียง, การอภิปราย, การโต้แย้ง, การโต้วาที | debate | (vt) ถกเถียง, โต้แย้ง, ต่อต้าน, ชิงชัย, โต้วาที, อภิปราย | debater | (n) ผู้ถกเถียง, ผู้อภิปราย, ผู้โต้วาที | discuss | (vt) อภิปราย, สาธยาย, พิจารณา, โต้เถียง, โต้ตอบ, สนทนา | discussion | (n) การอภิปราย, การพิจารณา, การสนทนา, การโต้เถียง, การโต้ตอบ | disputable | (adj) ยังเป็นปัญหาอยู่, โต้แย้งได้, เถียงได้, แย้งได้ | disputant | (n) ผู้โต้แย้ง, ผู้ถกเถียง, ผู้โต้เถียง | disputation | (n) การโต้เถียง, การโต้แย้ง, การถกปัญหา, การอภิปราย | dispute | (vt) โต้เถียง, แย้ง, ค้าน, ทะเลาะ, ต่อต้าน, อภิปราย | disquisition | (n) การถกเถียง, การตรวจสอบ, การค้นคว้า, การบรรยาย, ปาฐกถา | haggle | (vi) ต่อราคา, ต่อล้อต่อเถียง, มีปากเสียง, ทุ่มเถียง, ทะเลาะ | incontestable | (adj) แย้งไม่ได้, เถียงไม่ได้ | incontrovertible | (adj) โต้แย้งไม่ได้, เปลี่ยนไม่ได้, เถียงไม่ได้ | indisputable | (adj) โต้แย้งไม่ได้, เถียงไม่ได้, โต้ตอบไม่ได้ | jangle | (n) เสียงห้าว, การทะเลาวิวาท, การโต้เถียง | jangle | (vt) วิวาท, ทะเลาะ, โต้เถียง, พูดเสียงห้าว | moot | (adj) เป็นที่สงสัย, เป็นที่ถกเถียง, เป็นทฤษฎี | moot | (vi, vt) โต้เถียง, เสนอปัญหา, ถกเถียง, ดำริ | palter | (vi) พูดต่อล้อต่อเถียง, พูดเล่น, พูดหลบหลีก | polemic | (n) การโต้เถียง, การถกเถียง, การทะเลาะ, การโต้แย้ง | polemical | (adj) โต้เถียง, ถกเถียง, ทะเลาะ, โต้แย้ง | quarrel | (vi) วิวาท, ทะเลาะ, ถกเถียง | skirmish | (n) การประดาบ, การรบกันประปราย, การโต้เถียงเล็กน้อย | skirmish | (vi) ประดาบ, รบกันประปราย, โต้เถียงเล็กน้อย | squabble | (n) การต่อล้อต่อเถียง, การทะเลาะกัน | squabble | (vi) ต่อล้อต่อเถียง, ทะเลาะกัน | tangle | (vi) พันกันยุ่ง, ยุ่งเหยิง, โต้เถียง, ต่อสู้ | unanswerable | (adj) ตอบไม่ได้, เถียงไม่ได้, แย้งไม่ได้ | undisputed | (adj) ไม่มีปัญหา, ไม่เถียง | wrangle | (n) การทะเลาะวิวาท, การโต้เถียง, การถกเถียง | wrangle | (vi) ทะเลาะวิวาท, โต้เถียง, ถกเถียง |
| contest | (vt) ถกเถียง, โต้แย้ง, See also: dispute, Syn. argue |
| 議論 | [ぎろん, giron] (n) การอภิปราย การโต้แย้ง การถกเถียง | 口論 | [こうろん, kouron] (n) การโต้เถียงกัน การทะเลาะกัน | 争い | [あらそい, arasoi] โต้เถียง, ขัดแย้ง, โต้แย้ง, ทะเลาะ |
| 争う | [あらそう, arasou] TH: โต้เถียง EN: to dispute | 争議 | [そうぎ, sougi] TH: การถกเถียง EN: dispute |
| diskutieren | (vi) |diskutierte, hat diskutiert, mit jmdm. über etw.(A)| ถกเถียงเกี่ยวกับประเด็นหรือปัญหาใดๆ เช่น Der Chef diskutiert gern über die Politik. เจ้านายชอบถกเถียงเรื่องการเมือง | argumentieren | (vi) |argumentierte, hat argumentiert, gegen/für etw.| โต้เถียง, ให้เหตุผล, ถกเถียง | Auseinandersetzung | (n) |die, pl. Auseinandersetzungen, über eine Sache| การอภิปรายถกเถียง, การโต้แย้ง, การเถียงกัน, See also: Streit, Syn. Diskussion | umstritten | (adj) ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ เช่น Neubauten in Schweinheim sind umstritten. Bürger fürchten zusätzliche Belastungen durch die Erweiterung des Reha-Zentrums und das "Haus am Stadtwald"., Syn. fraglich |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |