ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เถอะ, -เถอะ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ | let's see | (phrase, (spoken)) Let’s + V1 แปลประมาณว่า …..กันเถอะ มาดูกันว่า, เดี๋ยวนะ, คอยดูสิว่า, I am thinking about this, you are not sure what to say next OK. Let's see where we are.มาดูกันว่าถึงไหนแล้้ว Do you know a shop that sells dictionaries?” (ขอโทษครับ) พี่รู้จักร้านหนังสือที่ขายพวกพจนานุกรมไหมครับ? “Let me see” เดี๋ยวนะ ให้ผมคิดก่อน Let’s see what you will get for the New Year. คอยดูสิว่าเธอจะได้อะไรเป็นของขวัญวันปีใหม่ let's see (spoken) I am thinking about this “Do you have any idea how many people will be there?” “Well, let's see – I don't think I could put a number on it.” Let's see how much you want to win this event. Now that we know what your interests are, let's see if we can match you to a job that you'd like. |
| เถอะ | (end) let's, See also: let us, Syn. เถิด, เหอะ, Example: เราแยกกันตรงนี้เถอะ ขืนไปด้วยกันคงไม่รอด, Thai Definition: คำประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงตกลง วิงวอน หรือชักจูง | ดูเถอะ | (int) see!, See also: look!, Syn. ดูเถิด | เอาเถอะ | (int) okay, See also: all right, Example: เอาเถอะ รถเที่ยวนี้ผมจะเหมาคนเดียว, Thai Definition: คำพูดแสดงความยินยอม | ช่างเถอะ | (adv) forget it, See also: that's all right, don't worry, it's nothing, never mind, Syn. ไม่เป็นไร, ช่างเถิด, Example: ช่างเถอะ เรื่องของผม ใครจะคิดอย่างไรก็ช่าง | ช่างมันเถอะ | (int) Let it be!, See also: So be it!, Example: ช่างมันเถอะคุณก็รู้อยู่แล้วว่าหนังสือพิมพ์กับโทรทัศน์บ้านเราชอบเสนอข่าวแบบไหน |
| ดูเถอะ, ดูเถิด | คำบอกกล่าวให้รับรู้ไว้. | เถอะ | ว. คำประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงตกลง วิงวอน หรือชักจูง เช่น เอาเถอะ มาเถอะ กินเถอะ, เถิด ก็ว่า, พูดเพี้ยนเป็น เหอะ ก็มี. | เถอะน่า | ว. คำประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงชักชวนหรือวิงวอนเป็นต้น เช่น ไปเถอะน่า, เถิดน่า ก็ว่า, พูดเพี้ยนเป็น เหอะน่า ก็มี. | เมินเสียเถอะ, เมินเสียเถิด | คำกล่าวอย่างตัดเยื่อใยไมตรี ไม่ให้มีความหวังอยู่เลย. | เสียเถอะ, เสียเถิด | ว. คำประกอบท้ายกริยา แสดงการเกลี้ยกล่อมหรือขอร้อง เช่น ไปเสียเถิด. | เสียเถอะ, เสียเถิด | คำประกอบท้ายกริยา แสดงการเกลี้ยกล่อมหรือขอร้องเป็นต้น เช่น ไปเสียเถิด. | เอาเถอะ, เอาเถอะ ๆ, เอาเถิด ๑, เอาเถิด ๆ | น. คำพูดแสดงความยินยอมหรือแสดงความประนีประนอม. | เขี่ย | เขียนหรือวาดอย่างหวัด ๆ เช่น ช่วยเขี่ย ๆ ประวัติเรื่องนี้ให้หน่อยเถอะ ลายมือเป็นไก่เขี่ย | คำกร่อน | น. คำที่ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ โดยยังคงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรควบอักษรกล้ำไว้ มักจะเกิดในคำสองพยางค์ที่พยางค์แรกออกเสียงเบา เช่น หมากม่วง เป็น มะม่วง ต้นเคียน เป็น ตะเคียน อันหนึ่ง เป็น อนึ่ง แจ้นแจ้น เป็น จะแจ้น ขวักไขว่ เป็น ขวะไขว่ โครมโครม เป็น คระโครม, และมีปรากฏในคำพยางค์เดียวด้วย เช่น เสีย เป็น ซะ แล้ว เป็น ละ, แต่บางกรณีก็ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง เออะ หรือ อึ เช่น เถิด เป็น เถอะ หรือ เป็น รึ. | โดนดี | คำพูดเชิงประชด มีความหมายต่าง ๆ แล้วแต่ข้อความแวดล้อม (ใช้ในทางไม่ดี) เช่น ระวังเถอะเดี๋ยวจะโดนดี. | ตาดำ ๆ | น. ผู้น่าสงสาร, ผู้ขาดที่พึ่ง, เช่น ขอให้เห็นแก่ตาดำ ๆ เถอะ. | เถิด | ว. คำประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงตกลง วิงวอน หรือชักจูง เช่น เอาเถิด มาเถิด กินเถิด, เถอะ ก็ว่า. | เถิดน่า | ว. คำประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงชักชวนหรือวิงวอนเป็นต้น เช่น ไปเถิดน่า, เถอะน่า ก็ว่า. | พ่น | ก. ห่อปากเป่าให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งในปากออกมาเป็นฝอยเป็นต้น, อาการที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น พ่นไฟ พ่นสี, (ปาก) พูดมาก เช่น รีบ ๆ เข้าเถอะ อย่ามัวพ่นอยู่เลย. | รับผิดชอบ | ก. ยอมรับผลทั้งที่ดีและไม่ดีในกิจการที่ตนได้ทำลงไปหรือที่อยู่ในความดูแลของตน เช่น สมุห์บัญชีรับผิดชอบเรื่องเกี่ยวกับการเงิน, รับเป็นภารธุระ เช่น งานนี้เขารับผิดชอบเรื่องอาหาร เธอจะไปไหนก็ไปเถอะ ฉันรับผิดชอบทุกอย่างในบ้านเอง. | ไว้ธุระ | ก. รับทำงานเอง เช่น เรื่องนี้ไว้ธุระฉันเถอะ จะจัดการให้เอง, มอบงานให้ผู้อื่นทำ เช่น เรื่องอาหารไว้ธุระคุณนะ. | ไว้เนื้อเชื่อใจ | ว. ที่ไว้วางใจได้, ที่เชื่อใจได้, เช่น มีอะไรก็พูดกับเขาเถอะ เขาเป็นคนไว้เนื้อเชื่อใจได้. | เหอะ ๑ | ว. เถอะ. | เหอะน่า | เถอะน่า, คำประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงชักชวนหรือวิงวอนเป็นต้น, เฮอะน่า ก็ว่า. |
| เอาเถอะ | [ao thoe] (interj) EN: okay ; all right FR: c'est bien ! | ช่างมันเถอะ | [chang man thoe] (x) EN: Let it be! ; So be it! FR: peu importe ! ; oubliez ! | ช่างเถอะ | [chang thoe] (x) EN: forget it ; that's all right ; don't worry ; it's nothing ; never mind FR: ça m'est égal ; ce n'est rien | ... กันเถอะ | [... kan thoe] (x) EN: Let's ... [ imperative : moderate order, invitation ] FR: ...ons ! [ impératif modéré, invitation : 1ère pers. pl. ] | ไปกันเถอะ | [pai kan thoe] (x) EN: let's go ! ; let's go together ! FR: allons-y ! | ไป ... กันเถอะ | [pai ... kan thoe] (x) EN: let's go to ... FR: allons à/au ... | ถ่ายรูปกันเถอะ | [thāirūp kan thoe] (v, exp) EN: let's take photographs FR: prenons une photo ! | เถอะ | [thoe] (x) EN: let's ; let us FR: donc ! ; [ indicateur de l'impératif atténué ] |
| damn it! | (phrase) เป็นคำสบถ แปลว่า ฉิบหาย ให้ตายเถอะ (ดีกรีความหยาบคาย ขึ้นกับอารมณ์ผู้พูดขณะนั้น และแปลตรงจากภาษาอังกฤษ คือ แช่งมันไปเลย) | YOLO | [โย โล่] (jargon, slang) ย่อมาจากประโยคที่ว่า You only live once ซึ่งหมาายถึง เรามีชีวิตอยู่แค่ครั้งเดียว หรือ เกิดมาแค่หนเดียว, จะทำอะไรก็ทำไปเถอะเพราะเกิดมาแค่ครั้งเดียว ต้องใช้ชีวิตให้คุ้มค่า |
| all right | (int) ตกลง, See also: ดีละ, เอาเถอะ, Syn. yes | bags | (int) ปล่อยให้ฉันทำเถอะ (มักใช้ในวลี Bags I!) (คำสแลง), See also: ฉันทำเอง เธอไม่ต้อง | get on with | (phrv) ปล่อยให้เป็นไป, See also: ปล่อยเถอะ, ช่างเถอะ | never mind | (idm) ไม่ต้องห่วง, See also: ลืมซะเถอะ, ไม่ต้องสนใจ | take it easy | (sl) อย่ารุนแรง, See also: ใจเย็นๆ, ปล่อยไปเถอะ, ช่างเถอะ | take it from me | (idm) เชื่อเถอะ, See also: เชื่อฉัน |
| notwithstanding | (นอทวิธสแทน'ดิง) prep. โดยไม่คำนึงถึง, แต่กระนั้นก็ตาม, แม้ว่า. -adv. อย่างไรก็ตาม, ก็เถอะ, Syn. nevertheless, yet |
| やれやれ | [โย โล่, yareyare] (exp) ให้ตายให้ตาย, ให้ตายเถอะ, ให้ตายสิ |
| eben | เป็นคำที่ใช้เสริมเพื่อบ่งว่าต้องยอมรับเหตุการณ์นั้นๆ เช่น Er kann gar nicht schaffen. Er ist eben mein Bruder. เขาไม่เป็นโล้ไม่เป็นพาย อย่างนั้นก็เถอะเขาก็เป็นน้องชายของฉัน, Syn. halt | Komm zur Sache! | (phrase) เข้าเรื่องกันเถอะ (อาจแปลได้ว่า อย่ามัวพล่ามน้ำท่วมทุ่ง! ในเวลาที่คนพูดเริ่มอารมณ์ไม่ดี) | verraten | (vi, vt) |verrät, verriet, hat verraten| เผยความลับ, บอกความจริง, ช่วยแนะ อธิบาย ตัวอย่างการใช้ คำ 1° Yujin, ich will dir verraten, dass Junsang dich sehr mag! = นี่ ยูจิน, เธอนะ ไม่รู้รู้เลยใช่มั้ย ว่าจุนซางเค้าชอบเธอมากเลยน้า (จาก winter love song แฮะๆ ) 2° Unser Geheimnis darfst du keinem verraten! = ความลับระหว่างเรานะ เธอ ห้ามไปบอก ใครเชียวนะ! ( กรรมตรง คือ unser Geheimnis, กรรมรอง คือ keinem, Dativ! ) 3° Können Sie mir bitte verraten, wie ich am schnellsten zum Bahnhof komme? = เอ่อ คุณครับ กรุณาเถอะครับ ช่วยบอกทางผมไปสถานีรถไฟให้ด่วนที่สุดจะได้มั้ยครับ? ( คำว่า bitte จะช่วยให้คุณไปถึงสถานีรถไฟได้เร็ว จริงๆน้า..), See also: die Sache aufklären, A. verheimlichen, still sein, Syn. das Geheimnis sagen |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |