ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เครา, -เครา- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ขค | [ขะ-คะ] (n) น. ผู้ไปในอากาศ, นก, แมลงที่ไปในอากาศได้ เช่น ผึ้ง ตั๊กแตน ตะวัน, ดาวเคราะห์, อากาศ, ลม, ลูกศร, ลูกธนู. |
|
| เครา | (n) beard, See also: whiskers, Syn. หนวดเครา, Example: เขาเม้มปากจนเครากลายเป็นกระจุกเดียวกัน, Thai Definition: ขนที่ขึ้นตามแก้มหรือขากรรไตร | กินเครา | (n) kind of bird in literature, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ชื่อนกในวรรณคดี | เคราะห์ | (n) fate, See also: luck, fortune, chance, Syn. โชค, ชะตา, โชคชะตา, Example: หมอดูทำนายว่าจะมีเคราะห์ ควรจะต้องไปสะเดาะเคราะห์ด้วยการทำบุญ, Thai Definition: สิ่งที่นำผลมาให้โดยไม่ได้คาดหมาย เช่น เคราะห์ดี เคราะห์ร้าย, มักนิยมใช้ในทางไม่ดี เช่น มีเคราะห์ ฟาดเคราะห์ | เคราแพะ | (n) goatee, Thai Definition: เคราใต้คางที่ไว้ยาวเรียวแหลมคล้ายขนใต้คางของแพะ, เรียกคางที่ไว้เคราเช่นนั้นว่า คางแพะ | หนวดเครา | (n) beard, Example: เขาเม้มปากจนหนวดเครากลายเป็นกระจุกเดียวกัน | นพเคราะห์ | (n) planet, See also: nine celestial bodies, Syn. นวเคราะห์, Count Unit: ดวง, Thai Definition: ดาวพระเคราะห์ทั้ง 9 คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ เกตุ, Notes: (โหราศาสตร์) | พิเคราะห์ | (v) consider, See also: analyze, ponder, deliberate, cogitate, reflect, Syn. วิเคราะห์, พินิจ, พิจารณา, Example: เขาพิเคราะห์ดูเอกสารทุกหน้าอย่างถี่ถ้วนก่อนที่จะลงชื่อ, Thai Definition: ใคร่ครวญหรือพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ | วิเคราะห์ | (v) analyze, See also: contemplate, consider, Syn. พินิจพิจารณา, Example: การจับคนมาขึ้นเขียงเพื่อวิเคราะห์นั้น เราอาจจะทำได้หลายแง่หลายมุม, Thai Definition: พิจารณาอย่างละเอียด | สงเคราะห์ | (v) support, See also: assist, back up, Syn. ช่วยเหลือ, อนุเคราะห์, เกื้อหนุน, สนับสนุน | สงเคราะห์ | (v) aid, See also: help, give a helping hand, assist, support, subsidize, Syn. อุดหนุน, ช่วยเหลือ, Example: ลุงอยากให้เขาสอบได้ หนูดวงช่วยสงเคราะห์ทีเถอะ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | เคราะห์ดี | (v) be lucky, See also: be fortunate, Syn. โชคดี, โชค, Ant. เคราะห์ร้าย, Example: คนเจ็บเคราะห์ดีเพราะมีผู้บริจาคโลหิตช่วยชีวิตไว้ได้ | เคราะห์ดี | (adj) lucky, See also: fortunate, Example: ลูกชาวบ้านถ้ามีโอกาสได้เรียนหนังสือที่วัดก็จัดว่าเป็นเด็กเคราะห์ดี | เคราะห์ดี | (n) luck, See also: fortunateness, luckiness, good luck, good fortune, Syn. โชคดี, โชค, Ant. เคราะห์ร้าย, Example: ท่านบอกว่าเคราะห์ดี เคราะห์ร้ายเกิดจากการกระทำของตนเอง | ดาวเคราะห์ | (n) planet, Syn. ดาวพระเคราะห์, ดาวนพเคราะห์, Example: ดาวเคราะห์ทุกดวงเคลื่อนที่ไปตามวงรี, Thai Definition: ดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ต้องได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ และเป็นบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ มี 9 ดวง คือ พุธ (Mercury) ศุกร์ (Venus) โลก (Earth) อังคาร (Mars) พฤหัสบดี (Jupiter) เสาร์ (Saturn) มฤตยู (Uranus) สมุทร (Neptune) ยม (Pluto) | บาปเคราะห์ | (n) misfortune, See also: bad luck, adversity, Syn. โชคร้าย, เคราะห์, เคราะห์กรรม, เคราะห์ร้าย, Ant. โชคดี, เคราะห์ดี, Example: นึกไม่ถึงว่าบ้านเมืองจะถึงคราวที่ต้องประสบบาปเคราะห์ร้ายแรงเช่นนี้, Thai Definition: สิ่งร้ายที่นำผลมาให้โดยมิได้คาดหมาย | พระเคราะห์ | (n) planet, See also: star, Syn. ดาวนพเคราะห์, ดาวพระเคราะห์, Ant. ดาวฤกษ์, Example: โหรจะทำนายทายทักโชคชะตาราศีโดยใช้วิถีการโคจรของพระเคราะห์เป็นหลัก, Count Unit: ดวง, Thai Definition: ดาวพระเคราะห์ทั้ง 9 คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ เกตุ, Notes: (โหราศาสตร์) | ฟาดเคราะห์ | (v) drive off bad luck, See also: dispel misfortune, Example: เธอฟาดเคราะห์ไปด้วยเงิน 20, 000 บาทเชียวหรือ เฮ้อ! ฉันเสียดายแทนจริงๆ, Thai Definition: ตัดใจยอมเสียสิ่งใดสิ่งหนึ่งไปเพื่อให้หมดเคราะห์, สละสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อให้เคราะห์สูญหายไป | รับเคราะห์ | (v) suffer, See also: have misfortunes, Example: คนไทยใช้ตุ๊กตาเสียกบาลเป็นเครื่องบวงสรวงสะเดาะเคราะห์ หรือทำขึ้น เพื่อรับเคราะห์แทนตน | ศุภเคราะห์ | (n) auspicious planet or lucky star which means an auspicious day or moment, See also: lucky planet, auspicious sign, auspicious time, lucky day, Syn. คราวมงคล, คราวดี, โอกาสดี, Notes: (สันสกฤต) | สังเคราะห์ | (n) synthesis | สังเคราะห์ | (v) synthesize, Example: สีส่วนมากที่ใช้กันในปัจจุบันมักเป็นสีที่สังเคราะห์ขึ้นโดยกรรมวิธีทางวิทยาศาสตร์, Thai Definition: ทำให้ธาตุมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบ, ทำให้สารประกอบมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบอื่น, Notes: (เคมี) | สังเคราะห์ | (adj) synthetic, Example: ยาเสพย์ติดสังเคราะห์เป็นยาเสพย์ติดที่ผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีทางเคมีในห้องทดลอง, Thai Definition: ที่สร้างขึ้นโดยกรรมวิธีทางเคมี, Notes: (เคมี) | อนุเคราะห์ | (v) help, See also: assist, aid, favor, do a good turn, Syn. ช่วยเหลือ, สงเคราะห์, เอื้อเฟื้อ, สนับสนุน, Example: เขามีสปอนเซอร์รายใหญ่อนุเคราะห์เรื่องเครื่องแต่งกาย | โชคเคราะห์ | (n) luck, See also: fortune, fate, lot, destiny, Syn. ชะตากรรม, Example: เขาเชื่อว่าการกระทำนี้เป็นการซัดทอดโชคเคราะห์ไปให้สิ่งอื่นนอกเหนือไปจากตัวเขา, Thai Definition: สิ่งที่ก่อให้เกิดลักษณะเหตุดีหรือชั่ว ที่ผ่านเข้ามาในการดำเนินชีวิต | คราวเคราะห์ | (n) misfortune, See also: bad luck, adversity, hard luck, ill luck, infelicity, Syn. คราวซวย, คราวร้าย, Ant. คราวดี, Example: อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดฝันนั้นเป็นคราวเคราะห์ของผู้ประสบซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้, Thai Definition: คราวที่โชคร้าย | บทวิเคราะห์ | (n) review, See also: critic, Example: บทวิเคราะห์การเมืองในหนังสือพิมพ์ฉบับนี้วิเคราะห์ได้ละเอียดมาก, Count Unit: บท, Thai Definition: ส่วนที่เป็นการพิจารณาวิเคราะห์ | เคราะห์กรรม | (n) destiny, See also: karma, fortune, fate, lot, Syn. ชะตากรรม, โชคชะตา, Example: เราควรมีความเห็นอกเห็นใจแก่ผู้ที่ประสบเคราะห์กรรมหรือปัญหาต่างๆ | เคราะห์ร้าย | (n) misfortune, See also: unfortunate, adversity, bad luck, misadventure, mischance, Syn. โชคร้าย, อัปมงคล, ซวย, เคราะห์, Ant. โชคดี, เคราะห์ดี, มงคล, Example: หมอดูทายฉันว่าจะมีเคราะห์ร้ายเร็วๆ นี้, Thai Definition: โชคไม่ดี, ชะตาไม่ดี | เคราะห์ร้าย | (v) be unlucky, See also: be unfortunate, be ill-fated, be ill-fortuned, Syn. โชคร้าย, อัปมงคล, ซวย, เคราะห์, Ant. โชคดี, เคราะห์ดี, มงคล, Example: หมู่นี้ฉันเคราะห์ร้ายเต็มทนต้องไปรดน้ำมนต์เสียบ้าง, Thai Definition: โชคไม่ดี, ชะตาไม่ดี | เครื่องเครา | (n) accessory, See also: parts, things, Syn. เครื่อง, สิ่ง, สิ่งของ, Example: เขาเอาเครื่องเคราสำหรับหากินไปหมด, Notes: (ปาก) | การพิเคราะห์ | (n) analysis, See also: examination, scrutiny, perusal, consideration, deliberation, Syn. การใคร่ครวญ, การวิเคราะห์, การคิด, การไตร่ตรอง, การใช้เหตุผล, การพิจารณา | จิตวิเคราะห์ | (n) psychoanalysis, Example: ฟรอยด์ใช้หลักจิตวิเคราะห์อธิบายพฤติกรรมของเด็กวัยรุ่นตอนต้น, Thai Definition: ทฤษฎีที่อธิบายพัฒนาการของมนุษย์ตั้งแต่วัยทารกจนถึงวัยผู้ใหญ่ ในด้านลักษณะความขัดแย้งของแรงจูงใจ และปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาของชีวิต | ดาวนพเคราะห์ | (n) planet, Syn. ดาวพระเคราะห์, ดาวเคราะห์, Example: มีการส่งยานอวกาศไปสำรวจดาวนพเคราะห์ต่างๆ, Count Unit: ดวง | นักวิเคราะห์ | (n) analyst, Example: ในอนาคตบริษัทของเราจะจ้างนักวิเคราะห์เกี่ยวกับระบบอีกสามคน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ทำการวิเคราะห์, ผู้เชี่ยวชาญในการวิเคระห์ | นามสงเคราะห์ | (n) glossary, See also: vocabulary, Syn. อภิธาน, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: หนังสือที่รวบรวมคำพูดไว้, Notes: (สันสกฤต) | นามสงเคราะห์ | (n) directory, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: สมุดรายชื่อพร้อมทั้งที่อยู่หรือที่ทำงานของบุคคล, Notes: (สันสกฤต) | สุริยเคราะห์ | (n) solar eclipse, Syn. สุริยุปราคา, สุริยอุปราคา, สุริยคราส, Example: นักดาราศาสตร์ทำนายว่าจะเกิดสุริยเคราะห์ในปีหน้า, Count Unit: ครั้ง, Thai Definition: ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก โคจรมาอยู่ในแนวเดียวกัน ดวงจันทร์จึงบังแสงอาทิตย์ที่ส่องมายังโลก เป็นเหตุให้เห็นดวงอาทิตย์มืดเป็นบางส่วนหรือทั้งหมด | ใยสังเคราะห์ | (n) synthetic fabrics | ดาวพระเคราะห์ | (n) planet, Syn. ดาวเคราะห์, ดาวนพเคราะห์, Example: นักดาราศาสตร์โบราณได้ให้ชื่อชั่วโมงของวันตามดาวพระเคราะห์ 7 ดวง | ผู้รับเคราะห์ | (n) victim, See also: casualty, Example: ถ้ารัฐบาลทำอะไรแล้วขาดทุน ประชาชนก็จะเป็นผู้รับเคราะห์แทนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่ได้รับผลร้ายหรือเรื่องไม่ดีโดยไม่ได้คาดหมายหรือไม่ได้เป็นผู้ก่อเรื่องนั้นขึ้น | สถานสงเคราะห์ | (n) foster home, Example: โรงพยาบาลต้องแยกเด็กแรกเกิดที่ติดเชื้อไปให้สถานสงเคราะห์ดูแลต่อไป, Count Unit: แห่ง, ที่, Thai Definition: สถานที่ซึ่งช่วยเหลือหรือรับอุปการะผู้ที่มีความเดือดร้อน | สถานสงเคราะห์ | (n) welfare | สะเดาะเคราะห์ | (v) exorcise | สะเดาะเคราะห์ | (v) change one's bad fortune through a ceremony, See also: remove one's bad luck with a ceremony, Example: คนไทยมีความเชื่อว่า ถ้าใครมีเคราะห์ ก็ต้องให้พระรดน้ำมนต์ให้ เพื่อสะเดาะเคราะห์, Thai Definition: ทำพิธีผ่อนคลายไม่ให้เกิดโชคร้าย | สะเดาะเคราะห์ | (v) change one's bad fortune through a ceremony, See also: remove one's bad luck with a ceremony, Example: คนไทยมีความเชื่อว่า ถ้าใครมีเคราะห์ ก็ต้องให้พระรดน้ำมนต์ให้ เพื่อสะเดาะเคราะห์, Thai Definition: ทำพิธีผ่อนคลายไม่ให้เกิดโชคร้าย | สังเคราะห์แสง | (v) photosynthesize, Example: ต้นข้าวมีใบไว้สังเคราะห์แสง เพื่อเปลี่ยนแร่ธาตุอาหารน้ำและคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นแป้งเพื่อใช้ในการเจริญเติบโต, Thai Definition: กระบวนการที่พืชสร้างคาร์โบไฮเดรตโดยรวมกับคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ เมื่อมีแสงกับคลอโรฟิลล์ | กริยานุเคราะห์ | (n) auxiliary verb, Syn. กริยาช่วย, Example: คำว่า คงจะ เป็นกริยานุเคราะห์, Thai Definition: คำในหมวดกริยาที่ใช้ประกอบกริยาอื่น เช่น จะ คง | ความอนุเคราะห์ | (v) assistance, See also: help, aid, favour, benevolence, Syn. ความช่วยเหลือ, ความเอื้อเฟื้อ, ความเกื้อหนุน, ความเจือจุน, Example: วงโยธวาทิต โรงเรียนเทพบดินทร์วิทยาเริ่มก่อตั้งเมื่อ ปี 2537 โดยได้รับความอนุเคราะห์สนับสนุนจากหลายท่าน | ประชาสงเคราะห์ | (n) public welfare, See also: social services, Example: ประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนได้รับความช่วยเหลือจากกรมประชาสงเคราะห์, Thai Definition: การช่วยเหลือในด้านสวัสดิการ เช่นการบรรเทาทุกข์ผู้ประสบสาธารณภัยที่รัฐให้แก่ประชาชนที่ตกทุกข์ได้ยาก | ผลการวิเคราะห์ | (n) analysis result, Syn. ผลวิจัย, Example: จากผลการวิเคราะห์ พบว่าการโคจรของดาวเทียมทำให้เรามีสื่อสารที่ก้าวหน้ามากขึ้น, Thai Definition: ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นคว้า ศึกษาข้อมูลอย่างมีระบบ |
| กริยานุเคราะห์ | น. กริยาที่ใช้ช่วยกริยาอื่น เช่น คง จะ ถูก น่า, กริยาช่วย ก็ว่า. | การฌาปนกิจสงเคราะห์ | น. กิจการที่บุคคลหลายคนตกลงเข้าร่วมกันเพื่อทำการสงเคราะห์ซึ่งกันและกันในการจัดการศพ หรือจัดการศพและสงเคราะห์ครอบครัวของบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ตกลงเข้าร่วมกันนั้นซึ่งถึงแก่ความตาย และมิได้ประสงค์จะหากำไรหรือรายได้เพื่อแบ่งปันกัน. | กินเครา | (-เคฺรา) น. ชื่อนกในวรรณคดี เช่น นกพริกจิกจอกกินเครา (สมุทรโฆษ). | เครา | (เคฺรา) น. ขนที่ขึ้นตามแก้มหรือขากรรไกร, ราชาศัพท์ว่า พระทาฐิกะ. | เคราแพะ | น. เคราใต้คางที่ไว้ยาวเรียวแหลมคล้ายขนใต้คางของแพะ, เรียกคางที่ไว้เคราเช่นนั้น ว่า คางแพะ. | เคราหณี | (เคฺราหะนี) น. ครรภ์ เช่น สํสุทธเคราหณี ว่า มีครรภ์เป็นที่ปฏิสนธิอันหมดจดดี. | เคราะห์ ๑ | (เคฺราะ) น. เรียกดาวเฉพาะ ๙ ดวง เรียงตามลำดับมหาทักษา คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ เกตุ ซึ่งถือกันว่ามีเทวดาประจำแต่ละดวง ว่า ดาวพระเคราะห์, เรียกดาวพระเคราะห์ทั้ง ๙ ดวงอย่างรวม ๆ ว่า ดาวนพเคราะห์ ถือว่าเป็นดาวที่ยึดโชคของคน | เคราะห์ ๑ | สิ่งที่นำผลมาให้โดยไม่ได้คาดหมาย เช่น เคราะห์ดี เคราะห์ร้าย, มักนิยมใช้ในทางไม่ดี เช่น มีเคราะห์ ฟาดเคราะห์. | เคราะห์ซ้ำกรรมซัด | ก. มีเคราะห์กรรม. | เคราะห์หามยามร้าย | น. เคราะห์ร้าย. | เคราะห์ ๒ | (เคฺราะ) น. เรียกดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ต้องได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ และเป็นบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ ว่า ดาวเคราะห์ มี ๘ ดวง เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ออกไป คือ พุธ (Mercury) ศุกร์ (Venus) โลก (Earth) อังคาร (Mars) พฤหัสบดี (Jupiter) เสาร์ (Saturn) มฤตยู (Uranus) สมุทร (Neptune). | เครื่องเครา | น. เครื่อง, สิ่ง, สิ่งของ. | โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานข้อเสนอและแนวทางให้หน่วยงานเอกชนรับไปดำเนินงานและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. | ฌาปนกิจสงเคราะห์ | ดู การฌาปนกิจสงเคราะห์. | ดาวเคราะห์ | น. ดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ต้องได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ และเป็นบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ มี ๘ ดวง คือ พุธ (Mercury) ศุกร์ (Venus) โลก (Earth) อังคาร (Mars) พฤหัสบดี (Jupiter) เสาร์ (Saturn) มฤตยู (Uranus) สมุทร (Neptune) มองจากโลกจะเห็นได้ด้วยตาเปล่าเพียง ๕ ดวง คือ พุธ ศุกร์ อังคาร พฤหัสบดี และเสาร์. | ดาวนพเคราะห์ | น. ดาวพระเคราะห์ทั้ง ๙ คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ เกตุ. | ดาวพระเคราะห์ | น. ดาว ๙ ดวงที่ใช้ในทางโหราศาสตร์ ได้แก่ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ เกตุ. | นพเคราะห์ | (นบพะเคฺราะ) น. ดาวพระเคราะห์ทั้ง ๙ คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ เกตุ. | นวครหะ, นวเคราะห์ | (-คฺระหะ, -เคฺราะ) น. นพเคราะห์, ดาวพระเคราะห์ทั้ง ๙ คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ เกตุ. | นามสงเคราะห์ | (นามมะสง-, นามสง-) น. อภิธาน | นามสงเคราะห์ | สมุดรายชื่อพร้อมทั้งที่อยู่หรือที่ทำงานของบุคคล. | นิเคราะห์ | น. นิคหะ, การข่ม, การกล่าวโทษ, การปราบปราม, ตรงข้ามกับ ประเคราะห์ ซึ่งแปลว่า การยกย่อง, การเชิดชู. | บัตรนพเคราะห์ | ดู บัตรพลี. | บาปเคราะห์ | (บาบปะ-) ว. เคราะห์ร้าย. | บาปเคราะห์ | (บาบปะ-) น. ดาวพระเคราะห์ที่ให้โทษ เช่น พระราหู. | ประเคราะห์ | น. ความเพียรที่แก่กล้า | ประเคราะห์ | การยกย่อง, การเชิดชู, ตรงข้ามกับ นิเคราะห์ ซึ่งแปลว่า การข่ม, การกล่าวโทษ, การปราบปราม. | ประเคราะห์ | ก. ยกย่อง, ประคับประคอง. | ประชาสงเคราะห์ | น. การช่วยเหลือในด้านสวัสดิการ เช่นการบรรเทาทุกข์ผู้ประสบสาธารณภัยที่รัฐให้แก่ประชาชนที่ตกทุกข์ได้ยาก. | ปาณิเคราะห์ | น. การจับเจ้าสาวด้วยมือ คือ การแต่งงาน. | พระเคราะห์ | น. ดาวพระเคราะห์. | พิเคราะห์ | ก. ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, พิจารณาอย่างถี่ถ้วนรอบคอบ. | ฟาดเคราะห์ | ก. ทำพิธีปัดสิ่งชั่วร้ายให้ไปจากตัว, สละสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อให้เคราะห์สูญหายไป | ฟาดเคราะห์ | ตัดใจยอมเสียสิ่งใดสิ่งหนึ่งไปเพื่อให้หมดเคราะห์ หรือตัดใจคิดว่าสิ่งที่เสียไปแล้วเป็นการทำให้หมดเคราะห์ ในความเช่น นึกว่าฟาดเคราะห์. | รับเคราะห์ | ก. รับเอาเคราะห์ร้ายของผู้อื่นมาเป็นของตนจะโดยเต็มใจหรือไม่ก็ตาม เช่น ลูกน้องรับเคราะห์แทนเจ้านาย. | รับพระเคราะห์ | ก. ทำพิธีรับเทวดาประจำดาวพระเคราะห์ดวงที่จะมาเสวยอายุเพื่อความสวัสดิมงคลตามความเชื่อทางโหราศาสตร์. | เรขาคณิตวิเคราะห์ | น. เรขาคณิตที่ใช้สมการมาควบคุมเซตของจุดที่เรียงกันเป็นรูปทรงต่าง ๆ แล้วอนุมานผลลัพธ์จากการแก้สมการนั้น ๆ พร้อมทั้งการแปลความหมายด้วย. | วิเคราะห์ | ก. ใคร่ครวญ เช่น วิเคราะห์เหตุการณ์ | วิเคราะห์ | แยกออกเป็นส่วน ๆ เพื่อศึกษาให้ถ่องแท้ เช่น วิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ วิเคราะห์ข่าว. | ศศิเคราะห์ | น. จันทรคราส. | ศุภเคราะห์ | น. คราวมงคล, คราวดี, ทางโหราศาสตร์หมายเอาดาวพระเคราะห์ที่ให้คุณ คือ จันทร์ พุธ พฤหัสบดี ศุกร์. | ส่งพระเคราะห์ | ก. ทำพิธีส่งเทวดาประจำดาวพระเคราะห์ดวงที่กำลังจะสิ้นสุดการเสวยอายุเพื่อความสวัสดิมงคลตามความเชื่อทางโหราศาสตร์. | สงเคราะห์ | (-เคฺราะ) น. การช่วยเหลือ, การอุดหนุน, เช่น ฌาปนกิจสงเคราะห์ | สงเคราะห์ | การรวบรวม เช่น หนังสือนามสงเคราะห์. | สงเคราะห์ | (-เคฺราะ) ก. อุดหนุน เช่น สงเคราะห์เด็กกำพร้า. | สถานธนานุเคราะห์ | น. โรงรับจำนำของกรมประชาสงเคราะห์. | สังคมสงเคราะห์ | (สังคมสงเคฺราะ) น. การดำเนินงานเพื่อช่วยเหลือบุคคลให้สามารถช่วยตนเองได้. | สังเคราะห์ | ก. ทำให้ธาตุมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบ, ทำให้สารประกอบมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบอื่น. | สังเคราะห์ | ว. ที่สร้างขึ้นโดยกรรมวิธีทางเคมี เช่น ใยสังเคราะห์. | สัตยาเคราะห์ | น. การยึดความจริงเป็นหลักการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมในสังคม โดยใช้วิธีดื้อแพ่งไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือคำสั่งที่ไม่ยุติธรรม แต่ไม่ใช้วิธีรุนแรง. |
| | Classification | การวิเคราะห์หนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Content analysis | การวิเคราะห์เนื้อหา , การวิเคราะห์เนื้อหา, Example: Content analysis หมายถึง การวิเคราะห์เนื้อหา เป็นวิธีการในทางสังคมศาสตร์เพื่อการศึกษาเนื้อหาของการสื่อสาร โดยการแยกแยะแจกแจงเนื้อหาหรือแนวคิดที่ปรากฏในตำรา หนังสือ เอกสาร ข่าวสาร สื่อสิ่งพิมพ์ บทสนทนา หรือรูปภาพ วัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ เนื้อหาเพื่อผลิตสื่อการสอน โดยผู้สอนมักมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งเนื้อหาทำให้ทราบโครงสร้าง ลำดับของเนื้อหา และขอบเขตเนื้อหาอย่างละเอียด รวมทั้งทำให้ผู้สอนเห็นการเปลี่ยนแปลงของเนื้อหาในแต่ละช่วงเวลาที่ทำการวิเคราะห์ด้วย และผลจากการแยกแยะแจกแจงเนื้อหาช่วยให้สามารถแบ่งเนื้อหาวิชาออกเป็นหัวเรื่อง หัวเรื่องย่อยและหัวข้อย่อย สำหรับหน่วยในการวิเคราะห์ เพื่อใช้แสดงปริมาณของการวิเคราะห์ จึงมักวิเคราะห์ออกมาเป็น หัวเรื่อง หัวเรื่องย่อยหัวข้อย่อย รวมทั้งปริมาณ เช่น จำนวนแนวคิด จำนวนหน้า เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | System analysis | การวิเคราะห์ระบบ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Classification, Dewey Decimal | การวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้, Example: ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification Syste, - DDC หรือ DC) เป็นระบบการจัดหมู่หนังสือที่เก่าแก่และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ผู้คิดระบบทศนิยมดิวอี้ คือ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1873 และจัดพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1876 ใช้ชื่อว่า A Classicification and Subject Index for Cataloging and Arranging Books and Pamphlets of a Library โดยครอบคลุมการแบ่งย่อยเนื้อหาวิชาจากเรื่องกว้างๆ ไปจนถึงเนื้อเรื่องเฉพาะ นอกเหนือจากฉบับพิมพ์แล้ว ปัจจุบันคือ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 22 ยังมีเป็นแบบออนไลน์อีกด้วย <p> <p> ลักษณะทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นระบบที่คิดขึ้นโดยการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ตามหลักทฤษฎี (Theoretical systems) กล่าวคือ กำหนดการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ในแต่ละหมวดหมู่ โดยคำนึงถึงลำดับพัฒนาการของการเกิดวิชาความรู้ในแต่ละสาขาเป็นสำคัญ เริ่มจาก <p> - ปรัชญา: เป็นเนื้อหาความรู้แรก เป็นเรื่องที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับตน คือใคร มาจากไหน ความดีหรือความชั่ว คืออะไร เป็นอย่างไร <p> - ศาสนา: เป็นวิชาที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับพระเจ้า พระเจ้าคือใคร จะช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร <p> - สังคมศาสตร์: ถัดจากคิดเกี่ยวกับตัวเอง คือ การที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับบุคคลอื่น การอยู่ร่วมกันต้องมีการคิดถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับผู้อื่น <p> - ภาษา: การที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับถ้อยคำและการสื่อสารเพื่อการติดต่อ สมาคม <p> - วิทยาศาสตร์: มนุษย์คิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ทำไมจึงเกิด มีการคิด พิสูจน์ ได้ข้อเท็จจริงที่อธิบายปรากฏารณ์ต่างๆ และบันทึกข้อเท็จจริงนั้นๆ ไว้ <p> - วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี: เมื่อมนุษย์นำความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความสุขสบาย <p> - ศิลปะและนันทนาการ: มนุษย์คิดสร้างสรรค์จากความประทับใจของตนเป็นงานเชิงศิลปะ ดนตรี และความบันเทิง <p> - วรรณกรรมหรือวรรณคดี: งานศิลปะที่สร้างขึ้นถูกมนุษย์นำมาถ่ายทอด และบอกเล่าผ่านทางตัวอักษร <p> - ประวัติศาสตร์: มนุษย์บันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ <p> - ความรู้ทั่วไปหรือเบ็ดเตล็ด: การเอาความรู้อื่นๆ ที่ไม่อาจจัดไว้ในหมวดหมู่อื่นได้ มารวมไว้ด้วยกัน <p> 2. จัดแบ่งหมวดวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วๆ ไป สู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้น แบ่งออกเป็นชั้น ชั้นละ 10 กลุ่ม จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย ดังนี้ <p> 2.1 การแบ่งครั้งที่ 1 (First Summary) คือ แบ่งวิชาความรู้ทุกแขนงวิชาของมนุษยชาติออกเป็นหมวดใหญ่ (Main class) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักร้อย 0-9 เป็นสัญลักษณ์แทนวิชาความรู้ทั้ง 10 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และ ความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 100 ปรัชญาและจิตวิทยา (Philosophy and psychology) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) <p> 400 ภาษา (Languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Science) <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology and applied science) <p> 700 ศิลปะและนันทนาการ (Arts and recreation) <p> 800 วรรณคดี (Literature) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และชีวประวัติ (History, geography and biography) <p> 2.2 การแบ่งครั้งที่ 2 (Second Summary) คือ การแบ่งหมวดวิชาความรู้หมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็นหมวดย่อย (Division) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักสิบ 0-9 แทนความรู้หมวดย่อย เช่น หมวดใหญ่ 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งเป็นหมวดย่อย 10 หมวด คือ <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology (Applied sciences) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences) <p> 620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ (Home economics) <p> 650 การจัดการ (Management) <p> 660 อุตสาหกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้เฉพาะอย่าง (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> ดังนั้น หมวดใหญ่ 10 หมวดจึงแบ่งเป็นหมวดย่อยได้ 100 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 010 บรรณานุกรม (Bibliographies) <p> 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (Library & information sciences) <p>030 หนังสือรวบรวมความรู้ทั่วไป สารานุกรม (Encyclopedias & books of facts) <p> 040 ยังไม่กำหนดใช้ (No longer used) <p> 050 นิตยสาร วารสาร และสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Magazines, journals & serials) <p> 060 สมาคม องค์การและพิพิธภัณฑวิทยา (Associations, organizations & museums) <p> 070 สื่อใหม่ วารสารศาสตร์ และการพิมพ์ (News media, journalism & publishing) <p>080 รวมเรื่อง (General collections) <p> 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสือหายาก (Manuscripts & rare books) <p> 100 ปรัชญา (Philosophy) <p> 110 อภิปรัชญา (Metaphysics) <p> 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตุผล ความเป็นมนุษย์ (Epistemology, causation, humankind) <p> 130 จิตวิทยานามธรรม (Paranormal phenomena) <p> 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม (Specific philosophical schools) <p> 150 จิตวิทยา (Psychology) <p> 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา (Logic) <p> 170 จริยศาสตร์ ศีลธรรม (Ethics (Moral philosophy)) <p> 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก (Ancient, medieval, Oriental philosophy) <p> 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (Modern Western philosophy (19th-century, 20th-century)) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 210 ศาสนาธรรมชาติ (Natural theology) <p> 220 ไบเบิล (Bible) <p> 230 เทววิทยาตามแนวคิดคริสต์ศาสนา (Christian theology) <p> 240 ศีลธรรมชาวคริสต์ การอุทิศเพื่อศาสนา (Christian moral & devotional theology) <p> 250 คริสต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบัติ (Christian orders & local church) <p> 260 สังคมชาวคริสต์ เทววิทยาทางศาสนา (Christian social theology) <p> 270 ประวัติคริสต์ศาสนา (Christian church history) <p> 280 นิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา (Christian denominations & sects) <p> 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่นๆ (Other & comparative religions) <p> 300 สังคมศาสตร์ สังคมวิทยา และ มนุษยวิทยา (Social sciences, Sociology & anthropology) <p> 310 สถิติศาสตร์ (General statistics) <p> 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง (Political science) <p> 330 เศรษฐศาสตร์ (Economics) <p> 340 กฎหมาย (Law) <p> 350 รัฐประศาสนศาสตร์ และวิทยาการทหาร (Public administration) <p> 360 การบริการสังคม และสมาคม (Social services; assoication) <p> 370 การศึกษา (Education) <p> 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนส่ง (Commerce, communications, transport) <p>390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา (Customs, etiquette, folklore) <p> 400 ภาษา (Language) <p> 410 ภาษาศาสตร์ (Linguistics) <p> 420 ภาษาอังกฤษ (English & Old English) <p> 430 ภาษาเยอรมัน (Germanic languages; German) <p> 440 ภาษาโรมานซ์ ; ภาษาฝรั่งเศส (Romance languages; French) <p> 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romantic) <p> 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Protugese languages) <p> 470 ภาษาละติน (Italic languages; Latin) <p> 480 ภาษากรีก (Hellenic languages; Classical Greek) <p> 490 ภาษาอื่นๆ (Other languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p> 510 คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> 520 ดาราศาสตร์ (Astronomy & allied sciences) <p> 530 ฟิสิกส์ (Physics) <p> 540 เคมี (Chemistry & allied sciences) <p> 550 วิทยาศาสตร์โลก (Earth sciences) <p> 560 บรรพชีวินวิทยา (Paleontology; Paleozoology) <p>570 ชีววิทยา (Life sciences) <p> 580 พฤกษศาสตร์ (Plants) <p>590 สัตววิทยา (Zoological sciences/Animals) <p> 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี (Technology (Applied sciences)) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences; Medicine) <p>620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering & applied operations) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว (Home economics & family living) <p> 650 การจัดการธุรกิจ (Management & auxiliary services) <p> 660 วิศวกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 สินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> 700 ศิลปกรรม การบันเทิง (Arts) <p> 710 ภูมิสถาปัตย์ (Civic & landscape art) <p> 720 สถาปัตยกรรม (Architecture) <p> 730 ประติมากรรม (Plastic arts; Sculture) <p> 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ (Drawing & decorative arts) <p> 750 จิตรกรรม ภาพเขียน (Painting & paintings) <p> 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิก (Graphic arts; Printmaking & prints) <p> 770 การถ่ายรูป ภาพถ่าย (Photography & photographs) <p> 780 ดนตรี (Music) <p> 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา (Recreational & performing arts) <p> 800 วรรณกรรม วรรณคดี (Literature) <p> 810 วรรณคดีอเมริกันในภาษาอังกฤษ (Literature rhetoric & criticism) <p> 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ (English & Old English literatures) <p> 30 วรรณคดีภาษาเยอรมัน (Literatures of Germanic languages) <p> 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ (Literatures of Romance languages) <p> 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romanic) <p> 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Portugese literature) <p> 870 วรรณคดีภาษาละติน (Italic literature; Latin) <p> 880 วรรณคดีภาษากรีก (Hellenic literatures; Classical Greek) <p> 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ (Literatures of other languages) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ (History, geography & biography) <p> 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว (Geography & travel) <p> 920 ชีวประวัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (Biography, genealogy, insignia) <p> 930 ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ (History of ancient world) <p> 940 ประวัติศาสตร์ยุโรป โลกตะวันตก (General history of Europe) <p> 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก (General history of Asia; Far East) <p> 960 ประวัติศาสตร์แอฟริกา (General history of Africa) <p> 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ (General history of North America) <p> 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ (General history of South America) <p> 990 ประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ ของโลก (General history of other areas) <p>จากหมวดย่อย 100 หมวด เลขตัวที่ 2 คือเลขหลักสิบของหมวดย่อยทั้ง 100 หมวด เป็นเลข 0-9 เหมือนๆ กัน เพราะหมวดใหญ่แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อยเท่าๆ กัน ซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานของระบบที่ใช้เลขฐาน 10 เป็นหลักในการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้จากหมวดใหญ่ไปหมวดย่อย และเลขหมู่หมวดใหญ่แต่ละหมวด ต่างก็มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาความรู้หมวดย่อยทุกหมวด เช่น หมวด 100 ครอบคลุมวิชาความรู้ในหมวด 110-190 <p> <p>2.3 การแบ่งครั้งที่ 3 (Third Summary) คือ การแบ่งวิชาความรู้ในหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็นหมู่ย่อย (Section) 10 หมู่ย่อย ตัวอย่าง การแบ่งหมวดย่อย 630 <p> 630 เกษตรศาสตร์ <p> 631 เทคนิค อุปกรณ์ และวัสดุ (Techniques, equipment, materails) <p> 632 ความเสียหายของพืชอันเกิดจากเชื้อโรคและสัตว์ (Plant injuries, diseases, pests) <p> 633 การเพาะปลูกพืชไร่ (Field & plantation crops) <p> 634 การทำสวนผลไม้ ผลไม้ และป่าไม้ (Orchards, fruits, forestry) <p> 635 การทำสวนครัว (Garden crops (Horticulture)) <p> 636 สัตวบาล (Animal husbandry) <p> 637 อุตสาหกรรมนมเนย (Processing dairy & related products) <p> 638 การเพาะเลี้ยงแมลง (Insect culture) <p> 639 การล่าสัตว์ การตกปลา การอนุรักษ์ (Hunting, fishing, comservation) <p> ในแต่ละหมู่ย่อย ยังแบ่งวิชาความรู้ออกไปสู่เรื่องที่เฉพาะมากขึ้นได้อีก โดยการกระจายเลขหลังจุดทศนิยมต่อจากเลข 3 หลักดังกล่าว เช่น <p> หมวด 600 Technology (Applied sciences) เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ <p> 610 Medical sciences Medicine (การแพทย์) <p> 611 Human anatomy, cytology, tissues (กายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยื่อ) <p> 630 Agriculture & related technologies (การเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร) <p> 631 Crops & their production (พืชและผลิตผล) <p> 632 Plant injuries, diseases, pests (โรคพืช แมลงศัตรูพืช) <p> 633 Field crops (พืชไร่) <p> 634 Orchards, fruits, forestry (ผลไม้และการทำป่าไม้) <p> .9 Forestry (การทำป่าไม้) <p> .92 Forest economy (ไม้เศรษฐกิจ) <p> .928 Management (การจัดการ) <p> .956 Forestation (การเพาะพันธุ์) <p> .9562 Seeds, seed collecting, seeding (เมล็ดพันธุ์) <p> ตัวอย่าง หนังสือ เรื่อง การปลูกพืชด้วยเมล็ด เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 634.9562 <p> พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 495.913 <p> ระบบทศนิยมดิวอี้มีตารางช่วย (Auxiliary tables) ซึ่งเป็นตารางย่อยใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หนังสือ เพื่อระบุลักษณะเฉพาะของหนังสือมากยิ่งขึ้น ว่าเนื้อเรื่องที่เขียนในลักษณะใด เขียนเป็นภาษาใด เกี่ยวกับพื้นที่หรือท้องถิ่นใด หรือเกี่ยวกับใคร เป็นต้น ช่วยให้สามารถวิเคราะห์เนื้อหาได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น ตารางช่วยดังกล่าวมี 7 ตาราง ได้แก่ <p> ตารางที่ 1 ตารางเลขวิธีเขียน (Standard subdivisions) หรือ ตารางย่อยมาตรฐาน ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ได้ทุกหมวดหมู่ แสดงถึงวิธีเขียน เช่น <p> 01- สำหรับหนังสือที่เขียนในเชิงทฤษฎีและปรัชญา <p> 02- สำหรับหนังสือคู่มือ หนังสือภาพ หนังสือที่มีตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเป็นส่วนประกอบสำคัญ หนังสือนามานุกรม และหนังสือเบ็ดเตล็ดอื่นๆ <p> 03- สำหรับหนังสือพจนานุกรม สารานุกรม บัญชีคำศัพท์ <p> 04- เป็นเลขว่างซึ่งจะกำหนดใช้เพื่อแบ่งย่อยเรื่องเฉพาะของเลขหมู่บางเลขหมู่เท่านั้น <p> 05- สำหรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น หนังสือรายปี รายงานประจำปี วารสารและหนังสือพิมพ์ <p> 06- สำหรับเรื่องของสมาคมและชมรมวิชาชีพ รวมทั้งการดำเนินงานของสมาคมหรือชมรมนั้นๆ <p> 07- สำหรับหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อการศึกษาและการสอน เช่น ตำรา งานวิจัย หลักสูตร สมุดแบบฝึกหัด เป็นต้น <p> 08- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติและพรรณนาเรื่องราวของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มอาชีพ <p> 09- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติของเรื่องราวต่างๆ ในยุคสมัยใดยุคสมัยหนึ่ง และเขียนถึงเรื่องราวต่างๆ ในพื้นที่หรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ คือ ประวัติของพุทธศาสนา <p> พุทธศาสนา (เลขหมู่คือ 294) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> ประวัติ (-09) <p> เลขหมู่ที่กำหนดจากการเติม ได้เป็น 294.309 <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เป็น พจนานุกรมทางวิทยาศาสตร์ <p> วิทยาศาสตร์ (500) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> พจนานุกรม (-03) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 503 <p> ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิศาสตร์ (Areas) ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ที่มีคำอธิบายให้เพิ่มเลขภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงให้ทราบถึงสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องภายในเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นที่ใด ซึ่งอาจจะเป็นทวีป ประเทศ รัฐ เมือง แม่น้ำ มหาสมุทร เป็นต้น <p> -1 เขตภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น เขตมหาสมุทร ทะเล เขตภูมิอากาศ <p> -2 สำหรับหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในเขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่ง <p> -3 ดินแดนสมัยโบราณ เช่น เมโสโปเตเมีย ปาเลสไตน์ อียิปต์ <p> -4 ทวีปยุโรป <p> -5 ทวีปเอเซีย <p> -6 ทวีปแอฟริกา <p> -7 ทวีปอเมริกาเหนือ <p> -8 ทวีปอเมริกาใต้ <p> -9 พื้นที่ส่วนอื่นๆ เช่น หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และดินแดนที่อยู่นอกโลก เช่น อวกาศ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร <p> ตารางที่ 3 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดวรรณคดี ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดวรรณคดีเพื่อระบุลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีนั้นๆ <p> -08 สำหรับหนังสือรวมวรรณคดี เฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -09 สำหรับหนังสือประวัติศาสตร์และวิจารณ์วรรณคดีเฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -1-8 ลักษณะคำประพันธ์ ได้แก่ <p> -1 กวีนิพนธ์ <p> -2 บทละคร <p> -3 นวนิยาย <p> -4 ความเรียง บทความ <p> -5 สุนทรพจน์ ปาฐกถา <p> -6 จดหมาย <p> -7 เรื่องเชิงล้อเลียนและตลกขบขัน <p> -8 งานเขียนเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เช่น บันทึกประจำวัน บันทึกความจำ สุภาษิตคำคม <p> ตารางที่ 4 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดภาษา เป็นตารางเลขย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดภาษาเฉพาะ เพื่อระบุเรื่องเฉพาะของแต่ละภาษานั้น เช่น ไวยากรณ์ภาษา พจนานุกรมภาษา หลักการอ่าน เขียนภาษา เป็นต้น <p> -1 หลักในการเขียนและพูดภาษาต่างๆ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน <p> -2 นิรุกติศาสตร์ <p> -3 พจนานุกรมภาษา <p> -32-39 พจนานุกรมสองภาษา <p> -5 ระบบโครงสร้างหรือหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้เป็นมาตรฐาน <p> -7 ภาษาที่ไม่ได้ใช้เป็นมาตรฐาน เช่น ภาษาถิ่น ภาษาแสลง ภาษาโบราณ <p> -8 ภาษาประยุกต์ (การนำเอาภาษาไปประยุกต์ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น การแปล การสอน) <p> ตัวอย่าง <p> เนื่อเรื่องของหนังสือ เป็นพจนานุกรมภาษาไทย <p> ภาษาไทย (495.91) <p> เรื่องเฉพาะทางภาษา (เลขจากตารางที่ 4) <p> พจนานุกรมภาษาเดียว (-3) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 495.913 <p> ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ กลุ่มชนชาติ เป็นตารางย่อยที่ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางอื่นเพื่อแบ่งย่อยเนื้อเรื่องออกไปตามกลุ่มเชื้อชาติหรือเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ <p> -01 ชนพื้นเมือง <p> -03 กลุ่มเผ่าพันธุ์พื้นฐานของมนุษย์ เช่น คอเคซอยด์ มองโกลอยด์ <p> -1-9 กลุ่มเชื้อชาติของมนุษย์ จัดตามถิ่นกำเนดหรือถิ่นที่อยู่ <p> -1 เชื้อชาติอเมริกันเหนือ <p> -2 เชื้อชาติแองโกล-แซกซอน บริติช อังกฤษ <p> -3 เชื้อชาตินอร์ดดิค เช่น พวกเยอรมัน <p> -4 เชื้อชาติลาตินใหม่ เช่น พวกฝรั่งเศส <p> -5 เชื้อชาติอิตาเลียน <p> -6 เชื้อชาติสเปนและโปรตุเกส <p> -7 เชื้อชาติอิตาลิค เช่น พวกโรมันโบราณ <p> -8 เชื้อชาติกรีก <p> -9 เชื้อชาติอื่นๆ เช่น พวกอินเดียน สลาฟ แอฟริกัน ไทย จีน ญี่ปุ่น ฯลฯ <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เรื่อง ประเพณีการแต่งงานของไทย <p> ประเพณีการแต่งงาน (392.5) <p> เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ (เลขจากตารางที่ 5) <p> เชื้อชาติไทย (-9591) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 392.50899591 <p> ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา กำหนดเพื่อใช้กับเลขหมู่ในตารางช่วยอื่น เพื่อระบุภาษาที่ใช้ในการเขียนเนื้อเรื่องของหนังสือแต่ละเล่ม <p> สังเขปตารางเลขภาษา <p> -1 ภาษาอินโด-ยูโรเปียน <p> -2 ภาษาอังกฤษและแองโกล-แซกซอน <p> -3 ภาษาเยอรมัน <p> -4 ภาษาตระกูลโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส <p> -5 ภาษาอิตาเลียน <p> -6 ภาษาสเปนและโปรตุเกส <p> -7 ภาษาตระกูลอิตาลิค เช่น ภาษาลาติน <p> -8 ภาษาตระกูลเฮลเลนิก เช่น ภาษากรีก <p> -9 ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาฮีบรู เป็นต้น <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ สารานุกรมภาษาไทย <p> สารานุกรมทั่วไป (039) <p> ภาษา (เลขจากตารางที่ 6) <p> ภาษาไทย (-95911) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 039.95911 <p> ตารางที่ 7 ตารางเลขบุคคล เป็นตารางย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางช่วยอื่นเพื่อระบุเรื่องย่อยของหนังสือว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในลักษณะใด เช่น กลุ่มอาชีพ เพศ วัย ชนชั้นทางสังคม ฯลฯ ตาราง 7 จะใช้ประกอบกับเลขหมู่ที่มีคำอธิบายให้เติมเลขบุคคลจากตาราง 7 ช่วย (Add "Persons" notation ...) เช่น Add "Person" notation 04-87 from Table 7 to base number 704 e.g. lawyers as artists 704.344; however, class art dealers in 338.7617; description, critical appraisal, wors, biography of artisits in 709.2 <p> สังเขปตารางเลขบุคคล <p> -01 ปัจเจกบุคคล <p> -02 กลุ่มบุคคลทั่วไปไม่ระบุลักษณะเฉพาะทางอาชีพ เพศ วัย และอื่นๆ <p> -03 กลุ่มบุคคลจัดตามภูมิหลังทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ <p> -04 กลุ่มบุคคลจัดตามเพศและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ <p> -05 กลุ่มบุคคลจัดตามอายุ <p> -06 กลุ่มบุคคลจัดตามลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ <p> -08 กลุ่มบุคคลจัดตามสภาพทางร่างกายและจิตใจ <p> -09 กลุ่มบุคคลที่ไม่จัดอยู่ในวิชาชีพเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักวิจัย นักการศึกษา บรรณารักษ์ และนักสารสนเทศ โดยจะมีตัวเลขแบ่งย่อยอีกตามกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาชีพต่างๆ <p> ตัวอย่าง หนังสือเกี่ยวกับจิตรกรรมและมัณฑนศิลป์ของเด็กนักเรียน <p> จิตรกรรมและมัณฑศิลป์ (704.04-.87) <p> เด็กนักเรียน หาเลขเด็กนักเีรียนจากตาราง 7 (-054 4) <p> เลขหมู่ทีเ่กิดจากการเติม 704.0544 <p> บรรณานุกรม <p>Guide to use of Dewey decimal classification : based on the practice of the Decimal Classification Office at the Library of Congress. 1962. Lake Placid Club, N.Y. : Forest Press. <p>OCLC Online Computer Library Center, Inc. Summaries DDC Dewey Decimal Classification. 2003. Rereive from http://www.oclc.org/dewey/resources/summaries/deweysummaries.pdf. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> ทองหยด ประุทุมวงศ์ และ พรทิยพ์ สุวันทารัตน์. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบทศนิยมดิวอี้ ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 150-217. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Classification, Library of Congress | ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Hazard analysis and critical control point | ระบบวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Speech synthesis | การสังเคราะห์เสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Speech synthesis | การสังเคราะห์เสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Synthesis gas | ก๊าซสังเคราะห์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Text-to-speech synthesis | เทคโนโลยีสังเคราะห์เสียงจากข้อความ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Automatic blood cell analyzer | เครื่องวิเคราะหฺ์เม็ดเลือดอัตโนมัติ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Chemical synthesis in solution | การสังเคราะห์ทางเคมีในสารละลาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electrochemical synthesis | การสังเคราะห์โดยวิธีทางไฟฟ้า-เคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Latent structure analysis | การวิเคราะห์กลุ่มแฝง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Logistic regression analysis | การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Conjoint analysis (Marketing) | การวิเคราะห์คอนจอยท์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Plastic analysis (Engineering) | การวิเคราะห์ด้วยวิธีพลาสติก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Colorimetric analysis | การวิเคราะห์โดยการวัดสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Electrochemical analysis | การวิเคราะห์ทางเคมีำไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Nearest neighbor analysis (Statistics) | การวิเคราะห์เพื่อนบ้านใกล้ที่สุด (สถิติ) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Function point analysis | การวิเคราะห์ฟังก์ชันพอยต์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Diagnosis, Ultrasonic | การวิเคราะห์ด้วยคลื่นเหนือเสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Synthesis | การสังเคราะห์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Photosynthesis | การสังเคราะห์แสง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Biosynthesis | ชีวสังเคราะห์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Asteroid | ดาวเคราะห์น้อย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Latex, Synthesis | น้ำยางสังเคราะห์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Photosynthetic bacteria | แบคทีเรียสังเคราะห์แสง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Activity analysis | การวิเคราะห์กิจกรรม [เศรษฐศาสตร์] | Cost analysis | การวิเคราะห์ต้นทุน [เศรษฐศาสตร์] | Cost-benefit analysis | การวิเคราะห์ต้นทุนต่อผลตอบแทน [เศรษฐศาสตร์] | Analysis | การวิเคราะห์ [เศรษฐศาสตร์] | Economic analysis | การวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] | Chemical analysis | การวิเคราะห์ทางเคมี [เศรษฐศาสตร์] | Comparative analysis | การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ [เศรษฐศาสตร์] | Mathematical analysis | คณิตวิเคราะห์ [เศรษฐศาสตร์] | Monetary analysis | การวิเคราะห์ภาวะการเงิน [เศรษฐศาสตร์] | Discriminant analysis | การวิเคราะห์การจำแนกประเภท [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Regression analysis | การวิเคราะห์การถดถอย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Remote-sensing images | การวิเคราะห์ข้อมูลภาพระยะไกล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Remote sensing | การวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Error analysis (Mathematics) | การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Analysis of variance | การวิเคราะห์ความแปรปรวน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Analysis of covariance | การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Value analysis (Cost control) | การวิเคราะห์คุณค่า (การควบคุมต้นทุนการผลิต) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Structural analysis (Engineering) | การวิเคราะห์โครงสร้าง (วิศวกรรมศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Cluster analysis | การวิเคราะห์จัดกลุ่ม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Complex analysis | การวิเคราะห์เชิงซ้อน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Numerical analysis | การวิเคราะห์เชิงตัวเลข [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Quantitative analysis | การวิเคราะห์เชิงปริมาณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
| อาคารสงเคราะห์ | [ākhān songkhrǿ] (n, exp) EN: housing ; housing project | อนุเคราะห์ | [anukhrǿ] (v) EN: help ; aid ; favor ; do a good turn ; support ; back ; stand by ; subsidize FR: favoriser ; aider | ใบสำคัญแสดงการวิเคราะห์ | [baisamkhan sadaēng kān wikhrǿ] (n, exp) EN: certificate of analysis | บาปเคราะห์ | [bāpkhrǿ] (n) EN: misfortune ; bad luck ; adversity FR: malchance [ f ] | บทวิเคราะห์ | [botwikhrǿ] (n) EN: review ; analysis FR: revue [ f ] | ชาติที่ได้รับอนุเคราะห์ยิ่ง | [chāt thī dāirap anukhrǿ ying] (n, exp) EN: Most favoured nation (MFN) | ดาวเคราะห์ | [dāokhrǿ] (n) EN: planet FR: planète [ f ] | ดาวเคราะห์ชั้นใน | [dāokhrǿ channai] (n, exp) EN: inner planet FR: planète intérieure [ f ] | ดาวเคราะห์ชั้นนอก | [dāokhrǿ channøk] (n, exp) EN: outer planet FR: planète extérieure [ f ] | ดาวเคราะห์หิน | [dāokhrǿ hin] (n, exp) FR: planète rocheuse [ f ] | ดาวเคราะก๊าซ | [dāokhrǿ kāt] (n, exp) EN: gas planet FR: planète gazeuse [ f ] | ดาวเคราะห์แคระ | [dāokhrǿ khrae] (n, exp) EN: dwarf planet FR: planète naine [ f ] | ดาวเคราะห์ในแถบไคเปอร์ | [dāokhrǿ nai thaēp Khaipoē] (n, exp) EN: Kuiper belt planet FR: planète de le ceinture de Kuiper [ f ] | ดาวเคราะห์น้อย | [dāokhrǿ nøi] (n, exp) EN: asteroid ; minor planet FR: astéroïde [ m ] | ดาวเคราะห์ย่อย | [dāokhrǿ yøi] (n, exp) EN: minor planet | ดาวนพเคราะห์ | [dāonopphakhrǿ] (n) EN: planet FR: planète [ f ] | โดยวิธีวิเคราะห์ | [dōi withī wikhrǿ] (adv) FR: analytiquement ; par la méthode analytique | ฟาดเคราะห์ | [fāt khrǿ] (v, exp) EN: drive off bad luck ; dispel misfortune | ฮอร์โมนสังเคราะห์ | [hǿmōn sangkhrǿ] (n, exp) FR: hormone de synthèse [ f ] | การคิดเชิงวิเคราะห์ | [kān khit choēng wikhrǿ] (n, exp) EN: analytical thinking | การสังเคราะห์ | [kān sangkhrǿ] (n) EN: synthesis FR: synthèse [ f ] | การสังเคราะห์ด้วยแสง | [kān sangkhrǿ dūay saēng] (n, exp) EN: photosynthesis FR: photosynthèse [ f ] | การวิเคราะห์ | [kān wikhrǿ] (n) EN: analysis FR: analyse [ f ] | การวิเคราะห์เชิงเหตุผล | [kān wikhrǿ choēng hētphon] (n, exp) EN: causal analysis | การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ | [kān wikhrǿ choēng khunnaphāp] (n, exp) EN: qualitative analysis FR: analyse qualitative [ f ] | การวิเคราะห์เชิงปริมาณ | [kān wikhrǿ choēng parimān] (n, exp) EN: quantitative analysis FR: analyse quantitative [ f ] | การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ | [kān wikhrǿ khā sahasamphan] (n, exp) EN: correlation analysis | การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ | [kān wikhrǿ khunnaphāp nām] (n, exp) FR: analyse de la qualité de l'eau [ f ] | การวิเคราะห์ความแปรปรวน | [kān wikhrǿ khwām praēprūan] (n, exp) EN: analysis of variance (ANOVA) | การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม | [kān wikhrǿ khwām praēprūan ruam] (n, exp) EN: analysis of covariance (ANCOVA) | การวิเคราะห์กระบวนการ | [kān wikhrǿ krabūankān] (n, exp) EN: process analysis | การวิเคราะห์เนื้อหา | [kān wikhrǿ neūahā] (n, exp) EN: content analysis | การวิเคราะห์งาน | [kān wikhrǿ ngān] (n, exp) EN: job analysis | การวิเคราะห์ปัจจัย | [kān wikhrǿ patjai] (n, exp) EN: factor analysis | การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน | [kān wikhrǿ patjai pheūnthān] (n, exp) EN: fundamental analysis | การวิเคราะห์ปัจจัยทางเทคนิค | [kān wikhrǿ patjai thāng thēknik] (n, exp) EN: technical analysis | การวิเคราะห์ภายใน | [kān wikhrǿ phāinai] (n, exp) EN: internal analysis | การวิเคราะห์ภายนอก | [kān wikhrǿ phāinøk] (n, exp) EN: external analysis | การวิเคราะห์พฤติกรรม | [kān wikhrǿ phreuttikam] (n, exp) EN: behavior analysis FR: analyse du comportement [ f ] | การวิเคราะห์พฤติกรรมมนุษย์ | [kān wikhrǿ phreuttikam manut] (n, exp) FR: étude du comportement humain [ f ] | การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค | [kān wikhrǿ phreuttikam phūbøriphōk] (n, exp) FR: analyse du comportement du consommateur [ f ] | การวิเคราะห์ระบบข้อความ | [kān wikhrǿ rabop] (n, exp) EN: system analysis | การวิเคราะห์ระบบข้อความ | [kān wikhrǿ rabop khøkhwām] (n, exp) EN: discourse analysis | การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ | [kān wikhrǿ sahasamphan] (n, exp) EN: correlation analysis | การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย | [kān wikhrǿ sahasamphan yāng-ngāi] (n, exp) EN: simple correlation analysys | การวิเคราะห์สัมพันธสาร | [kān wikhrǿ samphanthasān] (n, exp) EN: discourse analysis | การวิเคราะห์ศัพท์ | [kān wikhrǿ sap] (n, exp) EN: lexical analysis | การวิเคราะห์เศรษฐกิจ | [kān wikhrǿ sētthakit] (n, exp) EN: economic analysis FR: analyse économique [ f ] | การวิเคราะห์ตลาด | [kān wikhrǿ talāt] (n, exp) EN: market analysis FR: analyse de marché [ f ] | การวิเคราะห์ต้นทุน | [kān wikhrǿ tonthun] (n, exp) EN: cost analysis FR: analyse du coût [ f ] |
| nonwoven | (n) ผ้าใยสังเคราะห์ เช่น The Trade organization for technical textiles and nonwovens industries focuses on promoting innovation, research and education., See also: A. woven | haccp | (abbrev) การวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤติที่ต้องควบคุม, มาตรฐานการผลิต ที่มีมาตรการป้องกันอันตรายที่ผู้บริโภคอาจได้รับจากการบริโภคอาหาร ย่อจาก hazard analysis critical control point | payroll tax | (n) เงิน (ภาษี) ส่วนหนึ่งที่หักได้จากเงินเดือนหรือค่าจ้าง และอีกส่วนจากนายจ้าง รัฐบาลหรือส่วนการปกครองท้องถิ่นเก็บเงิน (ภาษี) ส่วนนี้เพื่อเป็นค่าสวัสดิการสังคมสงเคราะห์ต่างๆ เช่น ค่ารักษาพยาบาล (เมื่ออายุมาก) ค่าชดเชยหรือใช้จ่ายขณะว่างงาน เป็นต้น | data science | (n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | data analytics | (n) วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล, ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจำแนกกลุ่ม การดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์แนวโน้ม การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประจำของข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ปรากฏชัดเจนนัก [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
| adversity | (n) เคราะห์กรรม, See also: ความทุกข์ร้อน, Syn. misfortune, reverse, trouble | aid | (vt) ช่วยเหลือ, See also: สงเคราะห์, อนุเคราะห์, Syn. assist, help, assist | aid | (vi) ช่วยเหลือ, See also: เกื้อหนุน, สงเคราะห์, Syn. assist, help, assist | almoner | (n) นักสังคมสงเคราะห์ | almshouse | (n) บ้านสงเคราะห์คนจน, Syn. poorhouse, poverty | analyse | (vt) วิเคราะห์, See also: ศึกษา, ตรวจสอบ, พิจารณา, นำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. analyze, resolve into elements | analysis | (n) การวิเคราะห์, See also: การพิเคราะห์, การนำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. separation, breakdown | analysis | (n) จิตวิเคราะห์, See also: การวิเคราะห์ทางจิตใจ, Syn. psychotherapy, depth psychiatry | analysis | (n) ผลการวิเคราะห์ | analyst | (n) นักวิเคราะห์, Syn. examiner, investigator, interpreter | analyst | (n) นักวิเคราะห์ทางจิต, Syn. psychoanalyst, psychiatrist | analytic | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์, See also: ซึ่งใช้การวิเคราะห์, Syn. analytical, systematic | analytics | (n) วิเคราะห์วิทยา | analyze | (vt) วิเคราะห์, See also: ศึกษา, ตรวจสอบ, พิจารณา, Syn. analyse, examine, resolve into elements | anatomy | (n) การวิเคราะห์อย่างละเอียด | aphelion | (n) จุดไกลสุดของดาวหางหรือดาวนพเคราะห์ที่อยู่ห่างจากพระอาทิตย์ | apogee | (n) จุดไกลสุดของดาวนพเคราะห์หรืออื่น ๆ ที่อยู่ห่างจากโลก | artificial | (adj) เทียม, See also: ปลอม, สังเคราะห์, Syn. unreal, fake, Ant. natural, genuine, real | assay | (n) การวิเคราะห์ทางเคมี | assay | (vt) วิเคราะห์, See also: ตรวจสอบ, Syn. test, analyze | assay | (n) สารที่ใช้วิเคราะห์ | auxiliary verb | (n) กริยานุเคราะห์, See also: กริยาช่วย | beard | (n) เครา | benefit | (n) เงินสงเคราะห์, See also: เงินช่วยเหลือ, เงินส่วนเพิ่ม, เงินชดเชยการประกัน | caseload | (n) จำนวนงานที่รับผิดชอบอยู่ (เช่น ของหมอหรือนักสังคมสงเคราะห์) | cogitate | (vt) พินิจพิเคราะห์, See also: ใคร่ครวญ, พิจารณา, ขบคิด, Syn. consider, contemplate, meditate, ponder | cogitate | (vi) พินิจพิเคราะห์, See also: ใคร่ครวญ, พิจารณา, ขบคิด, Syn. consider, contemplate, meditate, ponder | construe | (vi) วิเคราะห์ (ประโยคหรือข้อความ) | construe | (vt) วิเคราะห์ (ประโยคหรือข้อความ) | contemplate | (vt) สังเกตอย่างพินิจพิเคราะห์, Syn. gaze at, notice | down and out | (idm) ไม่มีเงิน, See also: ไม่ได้รับการช่วยเหลือ, ไม่รับการสงเคราะห์ | damned | (adj) ซึ่งถูกสาปแช่ง, See also: เคราะห์ร้าย, Syn. cursed, condemned | destiny | (n) ชะตากรรม, See also: เคราะห์กรรม, Syn. fortune, karma, doom | dissect | (vt) ชำแหละคน สัตว์หรือพืชเพื่อการศึกษา, See also: ผ่าศพ, ผ่าเพื่อวิเคราะห์, Syn. dismember, operate anatomize, Ant. join, unite | dissect | (vi) ชำแหละคน สัตว์หรือพืชเพื่อการศึกษา, See also: ผ่าศพ, ผ่าเพื่อวิเคราะห์, Syn. dismember, operate anatomize, Ant. join, unite | dissect | (vt) ตรวจสอบ, See also: พินิจพิเคราะห์, วิเคราะห์, Syn. analyze | doom | (n) เคราะห์ร้าย, See also: เคราะห์กรรม, ความหายนะ, ชะตากรรม, ความตาย, Syn. fate, destiny | electrophoresis | (n) การเคลื่อนไหวของอนุภาคคอลลอยด์ที่แขวนอยู่ในของเหลวเนื่องจากอิทธิพลของสนามไฟฟ้าในของเหลวนั้น, See also: วิธีการวิเคราะห์ประเภทของสารโดยการวัดอัตราการเคลื่อนที่ของแต่ละสารประกอบในคอลลอยด์ข | ephemeris | (n) ตารางที่แสดงตำแหน่งของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และดาวเคราะห์ต่างๆ ในช่วงเวลาหนึ่งในอนาคต | epicycle | (n) การเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ตามทฤษฎีระบบสุริยะของเพลโตที่ว่าวัตถุทรงกลมจะเคลื่อนที่ไปตามเส้นรอบวงของวัตถุทรงกลมที่ใหญ่กว่า, Syn. cycle, orbit | epoxy | (n) เรซินสังเคราะห์ มีความเหนียวมาก จะแข็งตัวหลังผ่านความร้อน ใช้เคลือบผิวหรือเป็นตัวเชื่อมวัตถุ, See also: เรซินสังเคราะห์ที่เหนียวมาก เมื่อถูกความร้อนหรือความดันจะแข็งตัว ใช้สำหรับติดหรือเคล | examine | (vt) พินิจพิจารณา, See also: พินิจ, ตรวจ, สังเกต, จับตามอง, พิเคราะห์, Syn. inspect, study | false | (adj) ปลอม, See also: ซึ่งไม่ธรรมชาติ, ซึ่งผลิตขึ้นมา, ซึ่งสังเคราะห์ขึ้นมา, เทียม, Syn. counterfeit, sythetic, unreal, Ant. genuine, real | fey | (adj) ซึ่งหยั่งรู้ถึงเคราะห์กรรม, See also: ที่มีลางสังหรณ์, Syn. eccentric | fixedly | (adv) อย่างจดจ่อ (จ้องดู), See also: อย่างพินิจพิเคราะห์, Syn. intently | fortuitous | (adj) โชคดี, See also: เคราะห์ดี | fortunate | (adj) โชคดี, See also: เคราะห์ดี, Syn. charmed, lucky, Ant. ill-fated, unfortunate, unlucky | fortunately | (adv) อย่างโชคดี, See also: อย่างเคราะห์ดี, Syn. luckily, Ant. unfortunately, unluckily | going-over | (n) การตรวจสอบ (คำไม่เป็นทางการ), See also: การสืบสวน, การวิเคราะห์, Syn. inspection, examination, overhaul | hapless | (adj) เคราะห์ร้าย, See also: อาภัพ, อับโชค, ซวย, Syn. luckless, unfortunate, unlucky, Ant. fortunate, lucky |
| accursed | (อะเคอร์' ซิค) adj. ถูกสาปแช่ง, เคราะห์ร้าย, น่าชิงชัง, อัปรีย์. -accursedness n., Syn. cursed, doomed, condemned | acetaldehyde | (แอสซิแทล' คิไฮดฺ) chem. สารเคมีชนิดหนึ่งที่ ใช้ฉาบแก้วให้เป็นกระจก และใช้ในการสังเคราะห์อินทรียสาร | acetamide | (แอสซิแทม' ไมดฺ) chem. สารเคมีชนิดหนึ่งที่ใช้ในการสังเคราะห์อินทรีย์สาร (acetamid) | acetate | (แอส' ซิเทท) n. เกลือหรือ ester ของ acetic acid, เส้นใยสังเคราะห์ที่ทำจากสารประกอบ acetic ester ของเซลลูโลส | acetic anhydride chem. | สารเคมีชนิดหนึ่งที่ ใช้ในการผลิตพลาสติกและใยสังเคราะห์ | acridine | (แอค' ริดีน) สารเคมีที่ใช้ในการสังเคราะห์สีย้อมและยา | acrolein | (อะโคร' ลีอิน) n., chem. ของเหลวไวไฟชนิดหนึ่ง ใช้สังเคราะห์สีย้อมและยา | acrose | น้ำตาลที่สังเคราะห์จากการจับตัวของ formaldehyde หรือ glucose | acrylic acid | (chem.) เป็นของเหลวที่มีฤทธิ์กัดกร่อนใช้ในการสังเคราะห์ acrylic resins | acrylonitrile | (แอคริโลไน' ทริล) chem. ของเหลวที่เป็นพิษชนิดหนึ่ง ใช้ในการสังเคราะห์บางและเส้นใยผ้า | adversity | (แอดเวอ' ซีที) n. ความเคราะห์ร้าย, ภัยพิบัติ, Syn. misfortune, calamity | aid | (เอด) vt., n. ช่วยเหลือ, สงเคราะห์, อนุเคราะห์, ช่วยฉุกเฉิน, ผู้ช่วย, ผู้อุปถัมภ์, การอาศัย, แรงช่วย, สิ่งช่วย. -aider n. -aidful adj. | albedo | (แอลบี' โด) n. สัดส่วนของแสงที่สะท้อนกลับจากดาวพรเคราะห์กับแสงที่ดาวนั้นได้รับ, อัตราสะท้อนกลับ | algorithm | (แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้ | alizarin | (อะลิซ' ซาริน) n., chem. สีย้อมชนิดหนึ่ง ใช้ในการสังเคราะห์สีย้อมชนิดอื่น | almoner | (แอล' มะเนอะ, อา' เมินเนอะ) n. เจ้าหน้าที่แจกของสงเคราะห์, นักสังคมสงเคราะห์ในโรงพยาบาล | almonry | (แอล' เมินรี, อา' เมินรี) n. สำนักงานสงเคราะห์, สำนักงานแจกของสงเคราะห์ | almshouse | (อาล์มซ' เฮาสฺ) n. บ้านสงเคราะห์คนจน, โรงทานสำหรับคนจน | almsman | (อาล์มซ' เมิน) n., (pl. -men) ผู้รับทาน, ผู้รับของสงเคราะห์, ผู้ให้ทาน, ผู้ให้ของสังเคราะห์ | almswoman | (อาล์มซ' วูเมิน) n., (pl. -women) หญิงผู้รับทาน, หญิงผู้รับของสงเคราะห์, หญิงผู้ให้ทานผู้ให้ของสงเคราะห์ | amberoid | (แอม' เบอรอยดฺ) n. อำพันสังเคราะห์ ที่ทำจากการอัดเรซิน (resins) ณ ที่อุณหภูมิสูง., Syn. ambroid | ampicillin | (แอมพิซิล' ลิน) n. ยาเพนนิซิลลินกึ่งสังเคราะห์ที่มีฤทธิ์ด้านแบคทีเรียชนิดกรัม-บวกและกรัม-ลบ | anabolism | (อะแนบ' โบลิสซึม) n. การสังเคราะห์สารเชิงช้อนจากสารที่เชิงช้อนน้อย กว่าในสิ่งมีชีวิต | anaclisis | (แอนนะไคล' ซิส) n. ขบวนการเลือกแบบหนึ่งทางจิตวิเคราะห์ โดยดูจากปมที่เกี่ยวกับตัณหา (livido) . -anaclitic adj. | analyse | (แอน' นะไลซ) vt. วิเคราะห์, แยกธาตุจำแนกแยกแยะ, วิภาค, วิเคราะห์ | analysis | (อะแนล' ลิซิส) n. การวิเคราะห์, การแยกธาตุ, การจำแนกแยกแยะ, การวิเคราะห์, การวิภาค, Syn. anatomization, dissection | analyst | (แอน' นะลิสทฺ) n. ผู้วิเคราะห์, นักวิเคราะห์, จิตแพทย์ผู้ทำการวิเคราะห์ | analytic | (แอนนะลิท' ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับการวิเคราะห์, เกี่ยวกับการแยกธาตุ, เกี่ยวกับการจำแนกแยกแยะ., Syn. logical | analytics | (แอนนะลิท' ทิคซฺ') n. วิเคราะห์วิทยา | anatomy | (อะแนท' โทมี) n. กายวิภาควิทยา, แบบจำลองสิ่งมีชีวิตเพื่อใช้ศึกษาด้านกายวิภาควิทยา, โครงกระดูก, การตรวจวิเคราะห์อย่างละเอียด | aniline | (แอน' นิลิน -ไลน์) n. ของเหลวชนิดหนึ่งที่ใช้ในการสังเคราะห์สีและยา., Syn. anilin, aniline oil, phenylamine | anisole | (แอน' นิโซล) n. ของเหลวชนิดหนึ่งที่มีกลิ่นหอม , ใช้ในเครื่องหอม ในการสังเคราะห์สารอินทรีย์และเป็นยาฆ่าพยาธิ | aphanite | (แอฟ'ฟะไนท) แร่หินอย่างละเอียดที่ส่วนประกอบต่าง ๆ ของมันไม่สามารถวิเคราะห์ได้ด้วยตาเปล่า. -aphanitic adj. -aphanitism n. (a fine-grainedigneous rock) | aphelion | (อะฟี'ลิอัน, อะเฟ็ล'ลิอัน) n., (pl. aphelia) จุดไกลสุดของดาวหางหรือดาวนพเคราะห์ที่อยู่ห่างจากพระอาทิตย์ (furthest from the sun) | apogee | (แอพ'พะจี) n. จุดไกลสุดของดาวนพเคราะห์หรืออื่น ๆ ที่อยู่ห่างจากโลก. apogeal, apogean, apogeic adj., Syn. climax | assay | (อะเซ') vt. ตรวจสอบ, ทดสอบ, วิเคราะห์, ประเมินค่า, พยายาม. -n. การหาปริมาณของโลหะ (โดยเฉพาะเงินหรือทอง) ในแร่หรือโลหะผสม, สารที่ได้รับวิเคราะห์, รายงานการวิเคราะห์, ความพยายาม -assayer n., Syn. test, analyze, examination | assist | (อะซิสทฺ') vt., vi. ช่วยเหลือ, สงเคราะห์, สนับสนุน, สงเคราะห์, เข้าร่วม. -assister, assistor n., Syn. aid, help, support, tend, Ant. hinder, hamper | assistance | (อะซิส'เทินซฺ) n. การช่วยเหลือ, การสงเคราะห์, การอนุเคราะห์, Syn. aid, help | astrogeology | (แอสโทรจีออล'โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับส่วนประกอบของดาวนพเคราะห์ ดวงดาวและวัตถุอื่นในอวกาศ (astro-geology) | astrophysics | (แอสโทรฟิซ'ซิคซฺ) n. สาขาดาราศาสตร์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติทางฟิสิคส์ของนพเคราะห์และดวงดาวอื่น ๆ -astrophysical adj. -astrophysicaist n. | atmosphere | (แอท'เมิสเฟียร์) n. บรรยากาศ, บรรยากาศรอบโลก, อากาศ, แก๊สรอบดาวนพเคราะห์, ความกดดันบรรยากาศ, ท่าทาง (งานศิลป์) , คุณภาพที่เด่น (the air, surroundings, pervading influence) | auxiliary verb | กริยานุเคราะห์ | bale | (เบล) n. ห่อใหญ่, มัดใหญ่, ม้วนใหญ่, ความชั่ว, ความหายนะ, ความเคราะห์ร้าย, ความทุกข์ทรมาน, ความเสียใจ vt. บรรจุหีบห่อ, See also: baler, n. | barber | (บาร์'เบอร์) { barbered, barbering, barbers } n. ช่างตัดผม, ช่างโกนหนวดเครา, กัลบก, คนที่พูดมาก vt. ตัดหรือโกนหนวดเครา | beard | (เบียร์ด) n. เครา, หนวด, หนวดสัตว์, ขนแหลมที่รวงข้าว, กลุ่มขนบนผลของพืช vt. ดึงหรือถอนเคราหรือหนวด | bioassay n. | vt. (การ) วิเคราะห์ทางชีวภาพของสาร | biopsy | (ไบออพ'ซี) n. การตัดเอาชิ้นเนื้อเยื่อออกจากร่างสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาวิเคราะห์, See also: bioptic adj. ดูbiopsy | blue cross | n. สมาคมกาชาดสีน้ำเงินเกี่ยวกับการสงเคราะห์สัตว์ | bounty | (เบา'ที) n. ความใจบุญ, ความอารี, ของขวัญ, เงินสงเคราะห์, สิ่งที่มอบให้, รางวัล, Syn. gifts, godsend | breakdown | (เบรค'ดาวน์) n. ความล้มเหลว, การล้มเจ็บ, การไม่สบาย, การสลายตัว, การวิเคราะห์, การแบ่งออกเป็นส่วน -Conf.break down เสียหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดทำงาน ซึ่งเกิดจากความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่ง |
| accommodate | (vt) อำนวยความสะดวก, สงเคราะห์, จัดหาที่พักให้ | accursed | (adj) ถูกแช่ง, ถูกสาป, เคราะห์ร้าย, อัปรีย์ | adversity | (n) ความขัดสน, ความทุกข์ยาก, ภัยพิบัติ, ความเคราะห์ร้าย | aid | (n) ความช่วยเหลือ, การสงเคราะห์, การอุปถัมภ์ | aid | (vt) ช่วยเหลือ, อุปถัมภ์, สงเคราะห์ | aider | (n) ผู้ช่วย, ผู้สงเคราะห์, ผู้อุปถัมภ์ | almoner | (n) ผู้บริจาคทาน, นักสังคมสงเคราะห์ | ameliorate | (vt) สงเคราะห์, ช่วยเหลือ, เยียวยา, ผดุง | amelioration | (n) การสงเคราะห์, การเยียวยา, การช่วยเหลือ | analyse | (vt) วิเคราะห์, จำแนก, วิภาค, แยกแยะ | analysis | (n) วิภาค, การแยกแยะ, การวิเคราะห์ | analytic | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์ | analytical | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์ | analyze | (vt) วิเคราะห์, จำแนก, วิภาค, แยกแยะ | anatomize | (vt) วิเคราะห์, แบ่งแยก, ชำแหละ(ร่างกาย) | assay | (n) การพยายาม, การทดสอบ, การทดลอง, การวิเคราะห์ | assay | (vt) พยายาม, ทดสอบ, ตรวจสอบ, ทดลอง, วิเคราะห์ | assist | (vt) ช่วยเหลือ, สงเคราะห์, สนับสนุน | assistance | (n) ความช่วยเหลือ, การอนุเคราะห์, การสงเคราะห์ | asteroid | (n) ดาวเคราะห์ | AUXILIARY auxiliary verb | (n) กริยาช่วย, กริยานุเคราะห์ | beard | (n) หนวดเครา | bearded | (adj) มีหนวดมีเครา | beardless | (adj) ไม่มีหนวด, ไม่มีเครา | construe | (n) การตีความ, การวิเคราะห์ประโยค, การอนุมาน, การอธิบาย | construe | (vt) แปลความ, บรรยาย, อธิบาย, ขยายความ, ชี้แจง, ตีความ, วิเคราะห์ | critic | (n) นักวิจารณ์, นักวิเคราะห์, ผู้ติ | criticism | (n) การวิจารณ์, การวิเคราะห์, การติเตียน, บทวิจารณ์ | criticize | (vt) วิจารณ์, วิเคราะห์, ติเตียน, จับผิด | delineate | (vt) วาดภาพ, วาดเค้าโครง, วาดลายเส้น, วิเคราะห์, พรรณนา | delineation | (n) การวาดภาพ, การวาดเค้าโครง, การวาดลายเส้น, การวิเคราะห์, การพรรณนา | destine | (vt) วางจุดหมาย, กำหนดเป้าหมาย, เป็นเคราะห์กรรม | destiny | (n) โชคชะตา, ชะตากรรม, เคราะห์กรรม, พรหมลิขิต | diagnose | (vt) พิจารณา, วินิจฉัย, วิเคราะห์, ตรวจโรค | diagnosis | (n) การพิจารณา, การวินิจฉัย, การวิเคราะห์, การตรวจโรค | diagnostic | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์โรค, เกี่ยวกับการตรวจโรค | directory | (n) ประชาสงเคราะห์, คณะกรรมการ | discreet | (adj) สุขุม, ระมัดระวัง, รอบคอบ, พินิจพิเคราะห์, ไตร่ตรอง, ยั้งคิด | discriminate | (vi) แยกแยะได้, เห็นความแตกต่าง, รู้จักเลือก, พินิจพิเคราะห์ | dissect | (vt) ผ่า, ตัดออก, ชำแหละ, วิเคราะห์, จำแนก | dissection | (n) การผ่าตัด, การชำแหละ, การผ่าศพ, การวิเคราะห์, การจำแนก | dole | (n) ขอทาน, เงินสงเคราะห์, ส่วนย่อย, ของบริจาค | doom | (n) คำพิพากษา, คำตัดสิน, เคราะห์กรรม, ความหายนะ, ความตาย, ชะตาขาด | electrolysis | (n) การวิเคราะห์สารประกอบเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า | electrolyte | (n) สารประกอบที่ถูกวิเคราะห์ด้วยกระแสไฟฟ้า | explore | (vt) สำรวจ, ตรวจค้น, ตรวจ, วินิจฉัย, วิเคราะห์ | fatal | (adj) เกี่ยวกับเคราะห์กรรม, ร้ายแรง, ถึงตาย, เป็นอันตราย, ร้ายกาจ | fatality | (n) เคราะห์กรรม, อุบัติเหตุ, โชคชะตา, อุปัทวเหตุ | fate | (n) โชคชะตา, พรหมลิขิต, เคราะห์กรรม, เวรกรรม | fate | (vt) ทำให้เกิดเคราะห์กรรม |
| analyzed | (vt) กระบวนการวิเคราะห์ | Chloroprene rubber | (n) ยางคลอโรพรีน เป็นยางที่สังเคราะห์จากมอนอเมอร์ของคลอโรพรีน ภายใต้สภาวะที่เหมาะสม เป็นยางที่มีขั้วเนื่องจากประกอบด้วยอะตอมของคลอรีน ทำให้ยางชนิดนี้มีสมบัติด้านการทนไฟ, ความทนต่อสารเคมีและน้ำมัน ซึ่งผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้งานในลักษณะดังกล่าวได้แก่ ยางซีล, ยางสายพานลำเลียงในเหมืองแร่ เป็นต้น | chromatograph | (n) กรรมวิธีในการวิเคราะห์ทางวิชาเคมี : เทคนิคสำหรับการแยกส่วนประกอบในสารผสม | Diskriminanzanalyse { f } | การวิเคราะห์จำแนกประเภท | hospitalers | (n) สมาชิกคณะสงฆ์และทางทหารตั้งแต่สมัยสงครามครูเสด ผูสงเคราะห์คนเจ็บในโรงพยาบาล | overanalyze | วิเคราะห์มากเกินไป | S.W.O.T | การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true | shelter | (n) สถานสงเคราะห์ | spectroscopy | (n) การใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์สเปกตรัม | swot | (abbrev) SWOT คือ รูปแบบการวิเคราะห์ทางการตลาด เกิดจาก Strengths, Weaknesses, Opportunities และ Threats, Syn. SWOT Analysis | swot | การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจ | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจากมีความแตกต่างด้านสมบัติวัสดุทั้งสองชนิดทำให้เกิดจุดบกพร่องต่างๆทำให้การเชื่อมรอยต่อโลหะทั้งสองได้ค่อนข้างยาก งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัจจัยการเชื่อมที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลความต้านแรงดึงและค่าความแข็งด้วยโปรแกรม ทางสถิติ โดยใช้กระบวนการเชื่อม มิกส์ ลวดเชื่อมสเตนเลสSpeedarc308 Lsi*1.2mm การทดสอบประกอบด้วยโครงสร้างจุลภาค ความแข็ง ความแข็งแรงดึง การดัดโค้ง และการใช้โปรแกรมทางสถิติ กระแสไฟเชื่อม 112A ความเร็วเชื่อ 2 m/s แก๊สปกคลุมแนวเชื่อม Ar 80% + CO2 20 % การทดสอบตามมาตรฐาน ASME BPVC IX ผลการทดสอบค่าความแข็งเฉลี่ย 166.23 HV ความแข็งแรงดึงเฉลี่ย 262.25 MPa การดัดโค้งพบว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นแตกหัก (Broken) ทั้งหมด จึงสรุปได้ว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นไม่สามารถรับแรงดัดโค้งได้ การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางสถิติ เมื่อกำหนดค่า α มีค่าเท่ากับ 0.05 พิจารณาอันตรกิริยาจากค่า P-Value Strength เท่ากับ 0.884 และค่าความแข็ง Hardness เท่ากับ 0.227 การทดลองทั้งหมดมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 95% ทำให้การทดลองครั้งนี้ไม่มีอิทธิพลต่อผลการทดลองอย่างนี้นัยสำคัญ คำสำคัญ: เหล็กคาร์บอน SS400 , เหล็กกล้าไร้สนิม SUS304 , การเชื่อมมิก , โปรแกรมทางสถิติ | อุกาบาต | (n) (แอส'เทอรอยด) n. ดาวเคราะห์น้อย, อุกาบาต, กลุ่มวัตถุในอวกาศที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-480 ไมล์ หรือน้อยกว่าโคจรอยุ่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัส. -adj. คล้ายดาว. -asteroidal adj. (minor planet) หมายเหตุ. ฝรั่งเขาใช่คำว่า asteroid 2014 แต่ไทยใช้คำว่า อุกาบาต 2014, See also: meteorite, pallasite |
| 惑星 | [わくせい, wakusei] (n) ดาวเคราะห์ | 検討 | [けんとう, kentou] (n) การค้นคว้า พิเคราะห์พิจารณา |
| 育児手当 | [いくじてあて, ikujiteate] (n) เงินสงเคราะห์บุตร | 人口甘味料 | [じんこうかんみりょう, jinkoukanmiryou] (n) น้ำตาลเทียม, น้ำตาลสังเคราะห์ | 油井 | [ゆせい, yusei] (n) ดาวนพเคราะห์ | 解析 | [かいせき, kaiseki] (n) การวิเคราะห์ | 解析する | [かいせきする, kaisekisuru] (vt) การวิเคราะห์ | 縁 | [よすが, yosuga] (n, vi, vt) (ชานซฺ) n. โอกาส, หนทาง, ลักษณะที่เป็นไปได้, หนทางสำเร็จ, ความเป็นไปได้, การเสี่ยง, ช่องทาง, ท่าทาง, โชค, วาสนา, เคราะห์, ยถากรรม, ความบังเอิญ. -vi. ถือโอกาส, เสี่ยง, พบโดยบังเอิญ -vt. เกิดขึ้นโดยบังเอิญ, S. happening, risk, opening, happen | 補助 | [ほじょ, hojo] การอนุเคราะห์ ความช่วยเหลือทางการเงิน (ของ)สำรอง | 合成 | [ごうせい, gousei] (n) (n) การปะติดปะต่อ, การสังเคราะห์, การประสม | 費用便益分析 | [ひようべんえきぶんせき, hiyouben'ekibunseki] การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์, See also: R. cost-benefit analysis | 助動詞 | [じょどうし, jodoushi] (n) คำกริยานุเคราะห์, See also: R. auxiliary verb | 人造 | [じんぞう, jinzou] สร้างโดยมนุษย์, สังเคราะห์, เทียม, ประดิษฐ์ |
| 被る | [こうむる, koumuru] TH: รับเคราะห์ EN: suffer | 生やす | [はやす, hayasu] TH: ไว้หนวดเครา EN: to wear beard |
| Pech | (n) |das, nur Sing.| โชคร้าย, การมีเคราะห์ | stachlig | (adj) ที่มีหนามมาก เช่น ein stachliger Kaktus = ต้นกระบองเพชรที่มีหนามทิ่มตำ, ein Bart = หนวดเครา | untersuchen | (vt) |untersuchte, hat untersucht| ตรวจสอบ, ทดสอบ, วิเคราะห์ | analysieren | (vt) |analysierte, hat analysiert| วิเคราะห์, ศึกษาหรือตรวจสอบคุณสมบัติหรือโครงสร้าง เช่น ein Problem analysieren วิเคราะห์ปัญหา | Sozialamt | (n) |das, pl. Sozialämter| กรมสังคมสงเคราะห์ | Planet | (n) |der, pl. Planeten| ดาวเคราะห์ | Satellit | (n) |der, pl. Satelliten| บริวาร, ดาวเทียม, ดาวบริวารของดาวนพเคราะห์ Image: | auswerten | (vt) |wertete aus, hat ausgewertet| วิเคราะห์ออกมา, ประเมินผลออกมา เช่น Seine Gruppe wertete unter anderem aus, wie viele Patente die Unternehmensgründer zusammen mit Kollegen anmeldeten. | Reaktionszentrum | (n) |das, pl. Reaktionszentren| ศูนย์รวมการรับแสงของปฏิกิริยาสังเคราะห์ด้วยแสงในคลอโรพลาสต์ เช่น Die absorbierte Energie wird über eine Vielzahl von Pigmenten zum sogenannten Reaktionszentrum geleitet. Dieser Energietransferprozess ist sehr schnell., In Pflanzen ist jedes Reaktionszentrum der Photosynthese von mehreren hundert Farbstoff-Molekülen umgeben. |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |