ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*เข้าถึง*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เข้าถึง, -เข้าถึง-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
เข้าถึง(v) appreciate, See also: regard, Example: คนพวกนี้เข้าถึงพระผู้เป็นเจ้าได้ง่าย เพราะมีจิตศรัทธามากเหลือเกิน, Thai Definition: เข้าใจหรือรู้ความหมายอย่างลึกซึ้ง
เข้าถึง(v) reach, Example: เด็กไทยไม่ว่าอยู่แสนไกลเพียงใดก็สามารถเข้าถึงเครือข่ายการศึกษาผ่านดาวเทียมได้, Thai Definition: เคลื่อนที่เข้าไปสู่จุดหมาย

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
เข้าถึงก. เข้าใจอย่างซาบซึ้ง เช่น เข้าถึงบท เข้าถึงวรรณคดี, เข้าใกล้ชิดสนิทสนมเพื่อจะได้รู้ซึ้งถึงชีวิตจิตใจและความต้องการเป็นต้น เช่น เข้าถึงประชาชน.
ตัก ๑น. หน้าขาตอนเข่าถึงโคนขาในเวลานั่ง.
ประชิดก. เข้าไปให้ใกล้ เช่น ตั้งค่ายประชิด, เข้าถึงตัว, เข้าชิดตัว, เช่น ผู้ร้ายมาประชิดตัว.
ประเวศ, ประเวศน์น. การเข้ามา, การเข้าถึง, การเข้าสู่.
เพลา ๕(เพฺลา) น. ตัก, ช่วงขาตั้งแต่เข่าถึงโคนขา, ราชาศัพท์ว่า พระเพลา.
สัจธรรม(สัดจะทำ) น. ความจริงแท้ เช่น บรรลุสัจธรรม เข้าถึงสัจธรรม.
อุปบัติ(อุปะบัด, อุบปะบัด) น. การเข้าถึง เช่น คติอุปบัติ = การเข้าถึงคติ, การเกิด.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
para-ข้าง ๆ, ข้างเคียง, เข้าถึง, ต่าง, ยกเว้น, พิการ, ล้ำหน้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
parallel accessการเข้าถึงแบบขนาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
RAM (random access memory)แรม (หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
RAM (random access memory)แรม (หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
random accessการเข้าถึงโดยสุ่ม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
random access memory (RAM)หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม (แรม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
random access memory (RAM)หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม (แรม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
random access storageหน่วยเก็บเข้าถึงโดยสุ่ม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
SAM (sequential access method)แซม (วิธีเข้าถึงโดยลำดับ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
simultaneous accessการเข้าถึงเวลาเดียวกัน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
sequential accessการเข้าถึงโดยลำดับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
sequential access method (SAM)วิธีเข้าถึงโดยลำดับ (แซม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
serial accessการเข้าถึงโดยเรียงตัว [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
access timeช่วงเวลาเข้าถึง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
access timeช่วงเวลาเข้าถึง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
accessibility conditionเงื่อนไขสภาพเข้าถึงได้ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
accessorตัวเข้าถึง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
access armก้านเข้าถึง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
access codeรหัสการเข้าถึง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
access deniedข้อความห้ามเข้าถึง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
access keyกุญแจการเข้าถึง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
access levelระดับการเข้าถึง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
access mechanismกลไกการเข้าถึง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
access method๑. วิธีเข้าถึง๒. โปรแกรมสำหรับเข้าถึง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
access method๑. วิธีเข้าถึง๒. โปรแกรมสำหรับเข้าถึง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
access rightสิทธิที่จะเข้าถึง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
access๑. เข้าถึง๒. การเข้าถึง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
access๑. การเข้าถึง๒. การออกสู่ทางสาธารณะ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
access๑. เข้าถึง๒. การเข้าถึง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
multiaccessเข้าถึงหลายทาง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
multiaccessเข้าถึงหลายทาง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
carrier sense multiple access with collision detection (CSMA/CD)การเข้าถึงหลายทางแบบตรวจรู้พาหะและตรวจหาการชน (ซีเอสเอ็มเอ/ซีดี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
CSMA/CD (carrier sense multiple access with collision detection)ซีเอสเอ็มเอ/ซีดี (การเข้าถึงหลายทางแบบตรวจรู้พาหะและตรวจหาการชน) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
direct accessการเข้าถึงโดยตรง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
direct access method (DAM)วิธีเข้าถึงโดยตรง (แดม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
direct access storageหน่วยเก็บเข้าถึงโดยตรง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
direct memory access (DMA)การเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง (ดีเอ็มเอ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
DAM (direct access method)แดม (วิธีเข้าถึงโดยตรง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
DMA (direct memory access)ดีเอ็มเอ (การเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
direct access storage device (DASD)อุปกรณ์หน่วยเก็บเข้าถึงโดยตรง (แดสดี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
DASD (direct access storage device)แดสดี (อุปกรณ์หน่วยเก็บเข้าถึงโดยตรง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
indirect accessการเข้าถึงโดยอ้อม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
immediate accessการเข้าถึงทันที [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
immediate access storage (IAS)หน่วยเก็บเข้าถึงทันที (ไอเอเอส) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
Internet Access Provider (IAP)ผู้ให้บริการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต (ไอเอพี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
Internet Access Provider (IAP)ผู้ให้บริการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต (ไอเอพี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
IAP (Internet Access Provider)ไอเอพี (ผู้ให้บริการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
IAP (Internet Access Provider)ไอเอพี (ผู้ให้บริการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
IAS (immediate access storage)ไอเอเอส (หน่วยเก็บเข้าถึงทันที) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ISAM (indexed sequential access method)ไอแซม (วิธีเข้าถึงลำดับดรรชนี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Accessการเข้าถึง [เทคโนโลยีการศึกษา]
Access pointจุดเข้าถึง [เทคโนโลยีการศึกษา]
Remote accessการเข้าถึงระยะไกล [เทคโนโลยีการศึกษา]
Accessการเข้าถึง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Access pointจุดเข้าถึง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Remote accessการเข้าถึงระยะไกล, Example: <p>Remote access เป็นความสามารถในการเข้าถึงคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายจากระยะทางไกลผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ผ่าน Remote Access Server (RAS) ซึ่งติดตั้งไว้สำหรับดูแลการเข้าเครือข่ายทางไกลของผู้ใช้ และเป็นส่วนหนึ่งของ VPN <p>VPN ย่อมาจาก Virtual Private Network เป็นเทคโนโลยีการเชื่อมต่อเครือข่ายนอกอาคาร (Wide Area Network : WAN) กับระบบเครือข่ายภายในองค์กร โดยใช้อินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลาง มีระบบเข้ารหัส ป้องกันการลักลอบใช้ข้อมูล เหมาะสำหรับองค์กรขนาดใหญ่ซึ่งต้องการความคล่องตัวในการติดต่อรับส่งข้อมูล นอกจากนี้ยังสามารถกำหนดกลุ่มหมายเลข IP Address เป็นเครือข่ายเดียวกัน และพนักงานที่ปฏิบัติงานนอกหน่วยงาน สามารถ Login เข้ามาใช้เครือข่ายภายในองค์กรได้ <p>Remote access VPN ทำการเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้ที่ไม่ได้อยู่ที่องค์กรหรือบริษัท เข้ากับ Server โดยผ่านทาง ISP (Internet Services Provider) Remote access VPN อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อกับตัวองค์กรหรือบริษัทได้ตลอดเวลา โดยผู้ใช้ทำการเชื่อมต่อผ่านทาง ISP ที่รองรับเทคโนโลยี VPN เมื่อ VPN Devices ของ ISP ยอมรับการ Login ของผู้ใช้แล้ว ทำการสร้างอุโมงค์ข้อมูล (Tunnel) เชื่อมต่อกันระหว่างต้นทางกับปลายทาง ทำให้เสมือนว่าเป็นระบบเน็ตเวิร์คเดียวกัน จากการสร้างระบบเน็ตเวิร์คจำลอง ข้อมูลที่ส่งผ่านมีความปลอดภัยสูง ใกล้เคียงกับการเช่าสายสัญญาณ (Leased line) แต่ค่าใช้จ่ายในการทำ VPN นั้นต่ำกว่าการเช่าสายสัญาณ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Online Public Access Catalogรายการเข้าถึงแบบออนไลน์, Example: <p>คือ ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่ออำนวยความแก่ผู้ใช้ในการสืบค้นและชี้แหล่งรายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยู่ในห้องสมุดว่าห้องสมุดมีทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการหรือไม่ หากมีก็จะแจ้งให้ผู้ใช้ทราบข้อมูลรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ ก่อนตัดสินใจคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ และจะไปหาตัวเล่มบนชั้นต่อไป อีกทั้งยังช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาข้อมูลครั้งเดียวแต่ได้ข้อมูลหลากประเภทในเวลาเดียวกัน เช่น หนังสือ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความวารสาร เป็นต้น จากช่องทางการสืบค้น ต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เลขเรียกหนังสือ เป็นต้น ซึ่งใช้หลักการสืบค้นเช่นเดียวกับการสืบค้นด้วยบัตรรายการ แต่มีความสะดวก รวดเร็วและค้นหาได้ตลอด 24 ชั่วโมง เนื่องจากแหล่งบริการสารสนเทศส่วนใหญ่ใช้ระบบออนไลน์บนอินเทอร์เน็ต อีกทั้งผู้ใช้ยังสามารถสั่งพิมพ์ ดาวน์โหลด หรือ export รายการที่สืบค้นได้ เพื่อส่งผ่านทางอีเมลต่อไป รวมถึงทำให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ทันสมัย เนื่องจากเมื่อห้องสมุดได้รับทรัพยากรใหม่ๆ เข้ามาในห้องสมุด หรือมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล บรรณารักษ์ก็จะทำการปรับปรุงข้อมูลในฐานข้อมูลอยู่เสมอ <p>ตัวอย่างหน้าแรกของ Online Public Access Catalog ของศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-opac-1.jpg" Title="OPAC" alt="OPAC"> <p>ตัวอย่างหน้า Online Public Access Catalog ซึ่งแสดงรายระเอียดทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมเลขเรียกหนังสือ สถานภาพ และสถานที่จัดเก็บ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-opac-2.jpg" Title="OPAC" alt="OPAC"> <p>แหล่งข้อมูล <p>Reitz, Joan M. ODLIS Online Dictionary for Library and Information Science. ABC-CLIO http://www.abc-clio.com/ODLIS/odlis_h.aspx (accessed MArch 27, 2011). [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Access controlการควบคุมการเข้าถึง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Accessเข้าถึง, Example: การเข้าถึงเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อทำงาน หรือเข้าถึงโปรแกรมเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานให้ [คอมพิวเตอร์]
Access timeเวลาเข้าถึง, Example: เวลาที่คอมพิวเตอร์ใช้สำหรับการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการ [เศรษฐศาสตร์]
Code division multiple accessการเข้าถึงแบบหลายทางด้วยการแบ่งรหัส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Time division multiple accessการเข้าถึงแบบหลายทางด้วยการแบ่งเวลา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Explicit knowledgeความรู้ที่อยู่ภายนอก, ความรู้ที่สามารถรวบรวมและถ่ายทอดออกมาในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น หนังสือ คู่มือ ตำรา เอกสารต่างๆ คนทั่วไปสามารถเข้าถึงความรู้ประเภทนี้ได้ง่าย [การจัดการความรู้]
Securityการป้องกัน, มาตรการป้องกันการสูญหาย การลักขโมยวัสดุนิวเคลียร์ หรือวัสดุกัมมันตรังสี รวมถึงการขนย้ายและการเข้าถึงวัสดุดังกล่าวโดยไม่ได้รับอนุญาต (ดู physical protection ประกอบ) [นิวเคลียร์]
Access controlการควบคุมการเข้าถึง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Open accessการเข้าถึงแบบเสรี, Example: <p>ในช่วงเวลา 20 ปี ที่ผ่านมา ห้องสมุดทั่วโลกโดยเฉพาะห้องสมุดในประเทศกำลังพัฒนา ประสบปัญหาเรื่องงบประมาณที่มีจำกัดในการบอกรับวารสารวิชาการที่มีราคาสูง เนื่องจากแนวโน้มราคาวารสารวิชาการมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง โดยเฉพาะวารสารวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์ ห้องสมุดในฐานะที่อยู่ต้นทางในการให้บริการแก่ผู้ใช้ จำเป็นต้องคำนึงถึงวิธีการกำหนดนโยบาย และมาตรการ เพื่อรองรับสถานการณ์ดังกล่าว ซึ่งขณะนี้กระแสวารสารที่เข้าถึงได้แบบเปิด (Open Access) กำลังได้รับความสนใจและมีบทบาทสำคัญมาก จากผู้ที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากภาวะวิกฤติของวารสารวิชาการนั่นเอง <p>Open Access (OA) หมายถึง เอกสารวิชาการแบบดิจิทัล ที่มีการเผยแพร่ให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแบบออนไลน์ได้แบบเสรี (ฟรี) <p>ประเภทของ Open Access <p>1. Open Access Publishing หรือเรียกว่าเป็นถนนสีทอง (Gold OA) ที่นำสู่ OA หมายถึง วารสารที่เปิดให้เข้าถึงบทความในเล่มอย่างอิสระทันทีที่ส่งตีพิมพ์ <p>2. Open Access Self-Archiving หรือ เรียกว่าเป็นถนนสีเขียว (Green OA) หมายถึง วารสารที่ตีพิมพ์ในวารสารของสำนักพิมพ์ทั่วไป แต่ผู้เขียนมีสิทธินำบทความมาจัดเก็บไว้ในเว็บไซต์ของตนเอง หรือ คลังความรู้องค์กร (Institutional Repository) เพื่อนำไปเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตต่อได้ <p>ลักษณะของ OA <p>1. Truly OA หมายถึง ให้ใช้บทความออนไลน์ได้ฟรีทันทีที่พิมพ์ ให้ผู้เขียนบทความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ และให้เผยแพร่บทความออนไลน์ได้โดยไม่มีข้อจำกัด <p>2. Delay OA หมายถึง ให้ใช้บทความออนไลน์ได้ฟรี เฉพาะฉบับย้อนหลัง (Free back issues) หลังจากตีพิมพ์ไปแล้ว <p>3. Dual-mode OA หมายถึง วารสารชื่อเดียวกัน มีทั้ง Print Subscription และ OA Edition <p>4. Hybrid OA หมายถึง ภายในวารสารฉบับเดียวกัน มีทั้งบทความ OA และ Non-OA <p>5. Partial OA หมายถึง OA เฉพาะบางบทความ (มักเป็นการโฆษณาของสำนักพิมพ์) <p>6. Low-income OA หมายถึง OA เฉพาะประเทศในกลุ่ม Low-income economies โดยให้บริการวารสารผ่านโครงการช่วยเหลือต่าง ๆ เช่น Hinari, AGORA <p>บรรณานุกรม <p>รุจเรขา อัศวิษณุ. แหล่งสารสนเทศวารสารแบบเสรี (Open Access). การสัมมนาเครือข่ายความร่วมมือ Journal Link, 24 สิงหาคม 2550, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. <p>รังสิมา เพ็ชรเม็ดใหญ่. (2551). แหล่งสารสนเทศวิชาการที่เข้าถึงได้แบบเปิด : Open Access (OA) Resources. สารเนคเทค, 15(175), 49-56. <p>พรพรรณ บุญยะทิม. (2551). วิกฤติวารสารวิชาการ (The Journals / Serials Crisis). สารเนคเทค, 15(177), 63-67. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Assistive Technologyเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก, เครื่องมือ อุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือบริการที่ใช้สำหรับคนพิการหรือผู้สูงวัย หรือที่มีการดัดแปลงหรือปรับใช้ให้ตรงกับความต้องการจำเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล เพื่อเพิ่ม รักษา คงไว้ หรือพัฒนาความสามารถและศักยภาพที่จะเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร การสื่อสาร รวมถึงกิจกรรมอื่นใดในชีวิตประจำวันเพื่อการดำรงชีวิตอิสระ [Assistive Technology]
Digital Divideความเหลื่อมล้ำ (ช่องว่าง) ในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้, ความเหลื่อมล้ำระหว่างประชากรกลุ่มต่างๆ ภายในประเทศ ที่มีโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้แตกต่างกัน เช่น ระหว่างประชากรในเมือง ใหญ่กับประชากรในชนบท ระหว่างกลุ่มประชากรที่มีเพศ อายุ ต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่ต่างกัน รวมถึงโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ของผู้พิการ ที่อาจน้อยกว่าบุคคลทั่วไปอีกด้วย หรืออาจะไปเปรียบเทียบความเหลื่อมล้ำระหว่างคนในประเทศต่างๆ เพราะประเทศที่มั่งคั่ง จะมีความพร้อมมากกว่าประเทศยากจน [Assistive Technology]
e-bookหนังสืออิเล็กทรอนิกส์, สื่อข้อมูลดิจิทัลที่สามารถอ่านได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์พกพา อาจจะเป็นข้อความอย่างเดียว&nbsp;หรือข้อความและภาพ หรือข้อความ ภาพ และเสียง&nbsp;โดยเน้นให้ทุกคนเข้าถึงได้ โดยเฉพาะคนพิการจะได้รับประโยชน์ในการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ชนิดนี้ [Assistive Technology]
Access controlการควบคุมการเข้าถึง [TU Subject Heading]
Convention on Access to Information, Public Participation in Decision-making, and Access to Justice in Environmental Mattersอนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1, อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1998) [TU Subject Heading]
Digital divideความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ [TU Subject Heading]
Health services accessibilityการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ [TU Subject Heading]
Random access memoryหน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม [TU Subject Heading]
Remote accessการเข้าถึงระยะไกล [TU Subject Heading]
Access and Benefit Sharingการแบ่งปันผลประโยชน์และการเข้าถึง [การทูต]
Cultural Diplomacyการทูตวัฒนธรรม หมายถึง กิจกรรมด้านวัฒนธรรมในกรอบกว้าง ทั้งภาษา ความคิด อุดมการณ์ ทัศนคติ ประเพณี วิทยาการความรู้ การกีฬาและวิถีชีวิต (ไม่เพียงแต่การส่งคณะนาฏศิลป์ไปแสดงในต่างประเทศเท่านั้น) ทั้งนี้ เพื่อ ใช้สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องมือสร้างความรู้สึกที่ดีต่อกัน โดยใช้แนวทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในลักษณะซึมลึกเพื่อให้เข้าถึงประชาชน [การทูต]
food securityความมั่นคงทางด้านอาหาร หมายถึง การที่ประชากรโลกมีอาหารเพียงพอกับความต้องการ (availibility) มีเสถียรภาพ (stability) และสามารถเข้าถึงได้ (accessibility) แนวความคิดเรื่องความมั่นคงทางด้านอาหารนี้ เป็นผลสืบเนื่องมาจากการรับรองปฏิญญากรุงโรม ของที่ประชุมสุดยอด อาหารโลก เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2539 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่จะขจัดความหิวโหย และลดปัญหาทุโภชนาการของประชากรโลก โดยตั้งเป้าหมายที่จะลดจำนวนประชากรที่ขาดอาหารให้เหลือครึ่งหนึ่งจากที่มี อยู่ในปัจจุบัน ภายในปี พ.ศ. 2558 [การทูต]
Open and Caring Societiesสังคมเปิดและเอื้ออาทร เป็นส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์อาเซียนปี พ.ศ. 2563 ที่ได้เล็งเห็นว่า ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยรวมในปีดังกล่าวจะมีสังคมเปิดที่ประชาชน ยึดมั่นในเอกสักษณ์แห่งชาติของตนและเข้าถึงโอกาสของการพัฒนาความเป็นมนุษย์ อย่างสมบูรณ์ได้อย่างเท่าเทียมกัน และจะเป็นสังคมเอื้ออาทรที่ความหิวโหยทุกข์โภชนาการ การสูญเสียและความยากจนจะไม่ใช่ปัญหาพื้นฐาน และเป็นสังคมที่มีสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็ง [การทูต]
Knowledge Accessการเข้าถึงความรู้ [การจัดการความรู้]
Choice of Access Pointsการเข้าถึงรายการวัสดุสารสนเทศ, Example: <p>การกำหนดรายการทางบรรณานุกรมเพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ และสามารถใช้บริการสารสนเทศนั้นได้ถ้าตรงกับความต้องการ การกำหนดรายการบรรณานุกรมเพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ ได้นั้น บรรณารักษ์หรือนักเอกสารสนเทศจำเป็นต้องวิเคราะห์สารสนเทศเพื่อกำหนดตัวแทนของเนื้อหาหรือของสารสนเทศนั้น ตัวแทนของเนื้อหามักจะเป็นคำ กลุ่มคำ รหัส ฯลฯ ซึ่งทำหน้าที่เสมือนเป็นช่องทางหรือจุดเข้าถึงรายการบรรณานุกรมของสารสนเทศที่ต้องการ รายการเข้าถึงนี้ช่วยให้ผู้ใช้บริการสามารถค้นหาทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ ได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวางมากขึ้น รายการเข้าถึงนี้จำแนกได้เป็นรายการหลักและรายการเพิ่ม การกำหนดเลือกว่าจะเป็นรายการใดนั้น ใช้หลักเกณฑ์ในการพิจารณา คือ การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน (Anglo-American Cataloging Rules) <p>รายการ หลัก คือ รายการแรกที่ลงในรายการบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ โดยทั่วไปรายการหลักจำแนกออกเป็นรายการหลักชื่อบุคคล นิติบุคคล และชื่อเรื่อง <p>รายการเพิ่ม คือ รายการเข้าถึงที่กำหนดเพิ่มนอกเหนือรายการหลักที่มีอยู่ โดยอาจทำภายใต้ชื่อบุคคล ชื่อนิติบุคคล ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ตลอดจนรายการจำแนกหรือรายการเพิ่มอื่นๆ ที่เห็นว่าจะช่วยให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศนั้น ๆ ได้มากยิ่งขึ้น <p>ใน การกำหนดรายการเพื่อการเข้าถึงนั้น AACR2R (Anglo-American Cataloging Rules 2nd ed. 1988 Revision) ได้กำหนดหลักเกณฑ์ในการเลือกใช้เพื่อเป็นรายการเข้าถึง ทั้งที่เป็นรายการหลักและรายการเพิ่มไว้ให้เป็นแนวทางในการพิจารณา โดยที่หลักเกณฑ์ดังกล่าวมีรายละเอียดมาก ทั้งนี้จะมีตั้งแต่ <p> 1. การแจ้งถึงแหล่งข้อมูลสำคัญ (Chief source of information) ที่ใช้ในการเลือกรายการเข้าถึง <p> 2. การเลือกรายการ (ชื่อบุคคลที่เป็นเจ้าของผลงานตั้งแต่ 1 คนขึ้นไปแต่ไม่ถึง 3 คน / ผลงานที่มีผู้รับผิดชอบมากกว่า 3 คน / ผลงานที่มีผู้รับผิดชอบที่ทำหน้าที่แตกต่างกัน / การลงรายการนิติบุคคล / การลงรายการชื่อเรื่องที่เป็นรายการหลัก / การลงรายการชื่อเรื่องแบบฉบับ เป็นต้น) <p> 3. รูปแบบในการลงรายการ เช่น รูปแบบการลงชื่อบุคคลชาวต่างประเทศ ชื่อพระมหากษัตริย์ ชื่อพระบรมวงศานุวงศ์ พระภิกษุ / รูปแบบการลงรายชื่อนิติบุคคล / รูปแบบการลงรายการชื่อภูมิศาสตร์ เป็นต้น <p> ตัวอย่าง ในหน้าปกใน หรือ Title page ซึ่งถือว่าเป็นแหล่งข้อมูลสำคัญในการพิจารณาเลือกลงรายการที่ปรากฏอยู่ใน หน้านี้เป็นสำคัญ ถ้าไม่สามารถหาข้อมูลจากแหล่งนี้ได้ให้หาจากส่วนอื่น ๆ ในตัวอย่างนี้หน้าปกในปรากฏเพียง <p> ฉลาดเลือก ฉลาดใช้ OpenSource Software <p> แต่จะมีปรากฏชื่อผู้แต่ง คือ บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ บุญเกียรติ เจตจำนงนุช และ นพพร ม่วงระย้า ในหน้าคำนิยม <p> รายการหลักคือ บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ <p> รายการเพิ่ม (บุคคล) คือ บุญเกียรติ เจตจำนงนุช <p> รายการเพิ่ม (บุคคล) คือ นพพร ม่วงระย้า <p> รายการเพิ่ม (นิติบุคคล) คือ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ <p> รายการเพิ่ม (ชื่อเรื่อง) คือ ฉลาดเลือก ฉลาดใช้ OpenSource Software <p> รายการเพิ่ม (ชื่อเรื่อง) คือ OpenSource Software <p> รายการเพิ่ม (หัวเรื่อง) คือ 1.โอเพนซอร์สซอฟต์แวร์, 2. ซอฟต์แวร์รหัสเปิด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Accessการเข้าถึง [การแพทย์]
Accessibilityการจัดบริการให้ทั่วถึง, การเข้าถึง, การบริการเข้าถึงประชาชน, ความเข้าถึง [การแพทย์]
Approachการเริ่มตรวจค้น, การเข้าใกล้ผู้ป่วย, การเข้าถึง [การแพทย์]
Web Accessibility Initiativeคณะริเริ่มดำเนินการทำให้เว็บเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ [Assistive Technology]
Web Content Accessibility Guidelinesข้อกำหนดการทำให้เนื้อหาเว็บสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ [Assistive Technology]
Knowledge accessibilityการเข้าถึงความรู้ [การจัดการความรู้]
Bibliographic instructionการสอนการเข้าถึงบรรณานุกรม, Example: <b>การสอนการเข้าถึงบรรณานุกรม (Bibliographic instruction)</b> เป็นบริการที่บรรณารักษ์ต้องเป็นผู้ให้ บริการแก่ผู้ใช้โดยการสอนหรือสร้างทักษะการรู้สารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประกอบด้วยโปรแกรมการเรียนการสอนที่ออกแบบมาเพื่อสอนผู้ใช้ห้องสมุดเกี่ยวกับวิธีการค้นหาข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเป็นการช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศได้ด้วยตนเอง ในการสอนมักจะครอบคลุมถึงระบบของห้องสมุด โครงสร้างของวรรณกรรมในสาขา วิธีการวิจัยที่เหมาะสมในสาขาวิชา ทรัพยากรโดยเฉพาะ และเครื่องมือที่ใช้ในการค้นหา (บัตรรายการห้องสมุด ดัชนีและบริการสาระสังเขป ฐานข้อมูลบรรณานุกรม ฯลฯ ) โดยการสอนแนวคิดและตรรกะในการเข้าถึงสารสนเทศและการประเมินผล และโดยสนับสนุนความเป็นอิสระของสารสนเทศและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสอนการใช้ห้องสมุดเกิดขึ้นในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ในชั้นเรียนแบบเป็นทางการ ในกลุ่มขนาดเล็ก การพบกันแบบตัวต่อตัว การนำเสนอด้วยวีดิทัศน์และคอมพิวเตอร์ช่วยสอน<br> <br>ในห้องสมุดมหาวิทยาลัย การสอนการเข้าถึงบรรณานุกรมอาจเป็นการสอนโดยให้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาหรือเป็นการสอนแบบบูรณาการกับรายวิชาอื่นในหลักสูตร ห้องสมุดที่มีห้องปฏิบัติการการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ที่มีอุปกรณ์ครบครันสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการสอนเกี่ยวกับการใช้บัตรรายการออนไลน์ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม และทรัพยากรอินเทอร์เน็ต ซึ่งหน้าที่สอนการเข้าถึงรายการบรรณานุกรมเป็นหน้าที่หลักสำคัญของบรรณารักษ์ผู้ให้บริการที่ได้รับการฝึกอบรมเป็นพิเศษและมีประสบการณ์ในด้านวิธีการสอน อย่างไรก็ตามการสอนการเข้าถึงบรรณานุกรมโดยให้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาที่เรียนในหลักสูตรนั้น คณาจารย์อาจต้องร่วมมือกับบรรณารักษ์ของห้องสมุด เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีค้นสารสนเทศด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป นอกจากนั้นห้องสมุดมหาวิทยาลัยบางแห่งอาจจัดช่วงเวลาให้กับผู้ใช้ที่ทำวิจัย โดยบรรณารักษ์จะทำงานกับผู้ใช้แบบหนึ่งต่อหนึ่งเพื่อช่วยให้คำปรึกษาการทำวิจัยแก่ผู้ใช้ที่ทำวิจัยโดยเฉพาะ [Assistive Technology]
fourth-generation languages( 4GLs )โฟร์ทจีแอล, กลุ่มของภาษาที่แตกต่างจากภาษาเชิงกระบวนความ ที่เน้นให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลได้โดยง่าย ภาษาจะมีความคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษที่ใช้กันอยู่ ตัวอย่างของภาษา 4GL เช่น ภาษาเอสคิวแอล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Internetอินเทอร์เน็ต, เครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กรธุรกิจ หน่วยงานของรัฐบาล สถานศึกษา ตลอดจนเชื่อมโยงบุคคลต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน ทำให้ข้อมูล สารสนเทศ สินค้า และบริการที่นำเสนอผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์เหล่านี้สามารถเข้าถึงได้จากคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
search engineโปรแกรมค้นหา, ใช้สำหรับค้นหาเว็บเพจที่ต้องการ โดยระบุคำหลักหรือคำสำคัญ (keyword) เพื่อนำไปค้นในฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งรวบรวมเว็บเพจต่างๆ ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นรายการเว็บเพจที่ประกอบด้วยคำหลักที่ระบุ ช่วยให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลทุกประเภท หลากหลายรูปแบบ เพื่อการศึกษาหรือเพื [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
electronic commerce (e-commerce)พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, การทำธุรกรรมซื้อขาย หรือแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการบนอินเทอร์เน็ต โดยใช้เว็บไซต์เป็นสื่อในการนำเสนอสินค้าและบริการต่างๆ รวมถึงการติดต่อกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ทำให้ผู้เข้าใช้บริการจากทุกที่ทุกประเทศ หรือทุกมุมโลกสามารถเข้าถึงร้านค้าได้ง่ายและตลอด 24 ชั่ว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
web hostingเว็บโฮสติง, บริการพื้นที่สำหรับสร้างเว็บบนอินเทอร์เน็ต และจัดเก็บเว็บไซต์ของหน่วยงาน หรือบุคคลทั่วไป เพื่อให้บุคคลอื่นเข้าถึงได้ผ่านอินเทอร์เน็ต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
World Wide Web (WWW)เวิลด์ไวด์เว็บ, การให้บริการข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์ ที่ประกอบไปด้วยเอกสารจำนวนมากที่มีการเชื่อมโยงกัน ซึ่งเป็นแหล่งของข้อมูลขนาดใหญ่ที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถเข้าถึงผ่านโพรโทคอลที่เรียกว่า เอชทีทีพี นอกจากนี้องค์กร W3C ได้นิยามคำว่าเว็บคือ จักรวาลของสารสนเทศที่สามารถเข้า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
static RAM (SRAM)สแตติกแรม, หน่วยความจำประเภท RAM ที่พัฒนามาจากทรานซิสเตอร์ มีคุณสมบัติสามารถเก็บรักษาข้อมูลไว้ในหน่วยความจำตราบเท่าที่ยังมีไฟเลี้ยงอยู่ และทำงานได้โดยที่ไม่ต้องมีการเขียนข้อมูลลงไปซ้ำหลายครั้งเพื่อรักษาข้อมูลภายในอยู่ตลอดเวลา อีกทั้งยังมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลที [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Group Approachการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายแบบเป็นกลุ่ม, [การแพทย์]
Individual Approachการให้สุขศึกษาแบบรายบุคคล, ให้เป็นรายบุคคล, การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเป็นรายบุคคล [การแพทย์]
Last mileวงจรสื่อสารสำหรับการเข้าถึงโครงข่ายระยะสุดท้าย, Example: วงจรสื่อสารสำหรับการเข้าถึงโครงข่ายระยะสุดท้ายที่สามารถใช้เทคโนโลยีสื่อสารหลายประเภทเพื่อเชื่อมต่อโครงข่ายหลักกับผู้ใช้ปลายทาง ซึ่งถือเป็นส่วนที่ยากในการลงทุนที่สุดของโครงข่ายเนื่องจากต้องกระจายออกจากโครงข่ายหลักไปสู่ผู้ใช้จำนวนมาก กล่าวคือ เป็นช่วง “หนึ่งไมล์สุดท้าย” และ “หนึ่งไมล์แรกของการสื่อสาร” [เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ]
Mass Media Approachการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายโดยทางสื่อมวลชน [การแพทย์]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
การเข้าถึง[kān khaotheung] (n) EN: access  FR: accès [ m ]
เข้าถึง[khaotheung] (v) EN: access  FR: accéder
เข้าถึงได้ง่าย[khaotheung dāi ngāi] (adj) EN: accessible  FR: accessible
สิทธิที่จะเข้าถึง[sitthi thī ja khaotheung] (n, exp) EN: access right  FR: droit d'accès [ m ]

English-Thai: Longdo Dictionary
virtual organization(n) องค์การเสมือนจริง, เครือข่ายขององค์การซึ่งเชื่อมโยงกันด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อที่จะแลกเปลี่ยนทักษะ ทรัพยากร สินค้า บริการ การเข้าถึงตลาด และเพื่อลดต้นทุน

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
approachable(adj) ที่เข้าถึงได้ง่าย, See also: ที่เป็นมิตร, ที่สนิทได้ง่าย, Syn. friendly, receptive, sanction
above someone's head(idm) ยากเกินกว่าจะเข้าใจ, See also: ฉลาดเกินกว่า บางคน จะเข้าถึง
get inside(phrv) เข้าถึง, See also: เข้าใจรู้ซึ้ง
get out of(phrv) เอื้อมไม่ถึง, See also: เปลี่ยนหรือเคลื่อนย้ายจนเกินจะเอื้อมถึงหรือเข้าถึง
get out of(phrv) เอื้อมไม่ถึง, See also: เปลี่ยนหรือเคลื่อนย้ายจนเกินจะเอื้อมถึงหรือเข้าถึง
hearken after(phrv) เข้าถึง (คำเก่า)
nave(n) ทางเดินยาวระหว่างที่นั่งในโบสถ์จากประตูเข้าถึงแท่นบูชา
reach(vi) ครอบงำ, See also: มีอิทธิพลหรือผลกระทบต่อ, เข้าถึง, Syn. control, dominate
reach(vt) ครอบงำ, See also: มีอิทธิพลหรือผลกระทบต่อ, เข้าถึง, Syn. control, dominate
reachable(adj) ซึ่งเอื้อมถึง, See also: ซึ่งเข้าถึงได้, Syn. attainable
reach after(phrv) พยายามไปถึง, See also: เข้าถึง
take up to(phrv) ทำให้สามารถเข้าถึง / ไปถึง, Syn. get to, get up to
website(n) ที่อยู่ของเว็บบนระบบค้นหาและเข้าถึงข้อมูลบนอินเตอร์เนต
World Wide Web(n) ระบบค้นและเข้าถึงข้อมูลบนอินเตอร์เนต
wash over(phrv) เข้าถึง (จิตใจ) ของ

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
access armก้านเข้าถึง <คำแปล>หมายถึง อุปกรณ์ในหน่วยบันทึก มีลักษณะเป็นก้านที่ต่อกับหัวอ่าน/บันทึก (read / write head) ที่ใช้เจาะเข้าไปที่จานบันทึก เพื่ออ่านข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล หรือเพื่อบันทึกข้อมูลลงในจานบันทึก มีลักษณะคล้ายเข็มของเครื่องเล่นจานเสียง
access keyกุญแจการเข้าถึงหมายถึง รหัส หรือคำหลักที่ใช้เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลที่มีเก็บไว้ได้ ข้อมูลบางอย่างต้องทำเป็นการเฉพาะ และจะยอมให้เรียกมาใช้ได้เฉพาะคนบางกลุ่ม จึงต้องมีกุญแจที่จะให้รู้กันเฉพาะคนในกลุ่ม ผู้ที่ไม่รู้กุญแจ ก็ไม่สามารถเรียกเอาข้อมูลออกมาดู หรือมาใช้หรือแก้ไขได้
access mechanismกลไกการเข้าถึง <คำแปล>หมายถึง กลไกของอุปกรณ์ที่ใช้รองรับ และเคลื่อนย้ายก้านเข้าถึง (access arm) ของหน่วยจานบันทึก (disk drive) ไปบนพื้นผิวของจาน เพื่อให้สามารถเข้าถึงข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมา หรือบันทึกข้อมูลลงจานบันทึก
access methodวิธีเข้าถึงโปรแกรมสำหรับเข้าถึงหมายถึง ระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งสำหรับการเก็บและเรียกใช้ข้อมูลมี 2 วิธี คือ วิธีการเข้าถึงโดยตรง (direct) หรือโดยสุ่ม (random) และวิธีการเข้าถึงโดยอ้อม (indirect) หรือโดยลำดับ (sequential) ดู direct และ indirect access ประกอบ
access timeช่วงเวลาเข้าถึง (ข้อมูล) หมายถึง เวลาที่ใช้ในการที่หัวอ่าน (บางทีเรียกหัวเข็ม) ของหน่วยบันทึกจะสามารถอ่านแฟ้มข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล เช่น จากจานบันทึก หรือฮาร์ดดิสก์ หากใช้เวลาเข้าถึงข้อมูลน้อย ก็หมายความว่า อ่านได้เร็ว ดู direct access, indirect access, random access, sequential access, immediate access ประกอบ
cache(แค?) { cached, caching, caches } n. ที่ซ่อน, ที่เก็บ, สิ่งที่ซ่อนไว้ vt. ซ่อน, เก็บ หน่วยความจำแคชหมายถึง ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำ (memory) ที่ถูกกันไว้เก็บข้อมูลที่จะต้องการใช้เป็นการชั่วคราว การเข้าถึงหน่วยความจำส่วนนี้จะทำได้เร็วกว่าธรรมดามาก ในการโฆษณาขายเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ มักจะมีบ่งบอกไว้ด้วยเสมอว่า หน่วยความจำแคชนี้มีขนาดความจุเท่าใด เช่น 256 K cache เป็นต้น เพราะเป็นการแสดงถึงประสิทธิภาพของเครื่องอย่างหนึ่ง บางทีเรียก cache memory
common user accessการเข้าถึงผู้ใช้ร่วมกันใช้ตัวย่อว่า CUA หมายถึง ตัวชี้นำ (guidelines) ที่ เครื่องไอบีเอ็มสร้างขึ้นมา ใช้เพื่อทำให้การเข้าสู่โปรแกรมมีลักษณะเป็นแบบเดียวกัน แม้แต่เครื่องแมคอินทอชก็ใช้ตัวชี้นำนี้
computer securityความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้สามารถดึงข้อมูล ซึ่งบางทีเป็นความลับออกมาดู หรือแอบนำไปเผยแพร่ได้ ฉะนั้น จึงต้องมีการจัดระบบความปลอดภัย ส่วนใหญ่ใช้รหัส ซึ่งจะทำให้ทุกคนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลทั้งหมดได้ เราอาจอนุญาตเฉพาะคนบางคน หรือกลุ่มคนบางคน ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยต้องรู้รหัส ฉะนั้นในขณะที่มีการสร้างฐานข้อมูล ก็ควรคำนึงถึงเรื่องนี้ไว้ด้วย
dasd(แดสดี) ย่อมาจาก direct access storage device (แปลว่า อุปกรณ์หน่วยเก็บแบบเข้าถึงโดยตรง) หมายถึงสื่อที่ใช้เก็บข้อมูลที่สามารถเข้าถึงได้โดยตรง (direct access) หรือทันที ไม่ว่าข้อมูลนั้นจะถูกบันทึกไว้ในส่วนใด เช่น จานบันทึก (disk) ดู direct access ประกอบ
data encryption standardsมาตรฐานการเข้ารหัสใช้ตัวย่อว่า DES หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานในการเข้าถึงข้อมูลที่รัฐบาลเป็นผู้กำหนดขึ้น โดยวิธีใช้รหัส ผ่าน (password) ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล
des1. abbr. disequilibrium syndrome 2. (ดีอีเอส) ย่อมาจากคำ data encryption standards (แปลว่า มาตรฐานการเข้ารหัสลับข้อมูล) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานในการเข้าถึงข้อมูลที่รัฐบาลเป็นผู้กำหนดขึ้น โดยวิธีใช้รหัสผ่าน (pass word) ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล
direct accessการเข้าถึงโดยตรงหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากดู indirect access เทียบ
direct access storage devอุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูลเข้าถึงโดยตรงใช้ตัวย่อว่า DASD (อ่านว่าแดสดี) หมายถึงหน่วยเก็บข้อมูลที่ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง ไม่ว่าข้อมูลนั้นจะถูกบันทึกไว้ ณ ส่วนใด เช่น จานบันทึก ดู direct access ประกอบ
drum(ดรัม) { drummed, drumming, drums } n. กลอง, เสียงกลอง, เยื่อแก้วหู vt., vi. ตีกลอง, เคาะจังหวะ. ดรัม <คำอ่าน>หมายถึงสื่อเก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นวัสดุรูปทรงกระบอกที่หมุนรอบแกนด้วยความเร็ว ที่ผิวนอกฉาบด้วยสารแม่เหล็ก การบันทึกข้อความลงเก็บ จะต้องบันทึกลงบนผิวดรัม ผ่านหัวบันทึก (write head) และอ่านข้อความออกโดยหัวอ่าน (read head) จึงเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูล (input) และหน่วยแสดงผล (output) มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล สูงกว่าเทปแม่เหล็ก (magnetic tape) แต่ยังช้ากว่าจานแม่เหล็ก (magnetic disk) โดยปกติจะต้องเรียกเต็ม ๆ ว่า magnetic drum
erase headหัวลบเป็นกลไกส่วนหนึ่งในหน่วยบันทึกข้อมูล (drive) อยู่ติดกับก้านเข้าถึง (access arm) ใช้ลบข้อมูล หรือแฟ้มข้อมูลออกจากจานบันทึก ดู read/write head
extended memory specificaข้อกำหนดหน่วยความจำแบบขยายใช้ตัวย่อว่า XMS (อ่านว่า เอกซ์เอ็มเอส) เป็นมาตรฐานการจัดการเกี่ยวกับหน่วยความจำแบบหนึ่งที่ยอมให้โปรแกรมระบบดอส เข้าถึงส่วนความจำขยายได้ โปรแกรมในดอสที่จัดการเรื่องนี้ มีชื่อว่า Himem.Sys
front endเสริมหน้าหมายถึง โปรแกรมหนึ่งโปรแกรมใด หรือคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเครื่องใดที่ซ่อนรายละเอียดของการเข้าถึงข้อมูลเอาไว้ สรุปง่าย ๆ ได้ว่า ตัวโปรแกรมนั้นเองที่มีตัวเสริมหน้า เป็นตัวกันมิให้ใครเข้าถึงข้อมูลได้ นอกจากจะรู้จักคำสั่งต่าง ๆ
hashing(แฮชชิง) หมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมให้จานบันทึกเก็บข้อมูลได้โดยอาศัยวิธีการคำนวณ การจะเข้าถึงข้อมูลได้ จะต้องรู้เลขประจำตำแหน่งต่าง ๆ เหล่านี้ อย่างไรก็ตาม ถ้าคิดเพียงจะเป็น ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ก็ไม่จำเป็นต้องรู้จักคำนี้เลยก็ได้
httpคำย่อ hypertext transfer protocol โปรโตคอลหลังฉากที่ส่งข้อมูลโดยทาง WWW (World Wide Web) โปรโตคอลนี้ทำให้ผู้ใช้เข้าถึงโปรแกรมลูกค้าเข้าสู่ URL หรือเข้าหาไฮเพอเทกซ์
immediate accessหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากมีความหมายเหมือน direct access
indexed sequential accessวิธีการเข้าถึงลำดับดรรชนีใช้ตัวย่อว่า ISAM (อ่านว่า ไอแซม) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่ง เพื่อให้สามารถเรียกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง ใช้ในโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล
isam(ไอแซม) ย่อมาจาก indexed sequential access method (แปลว่า วิธีการเข้าถึงลำดับดรรชนี) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอย่างหนึ่ง เพื่อให้สามารถเรียกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง ใช้ในโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล
magnetic drumดรัมแม่เหล็กหมายถึง วัสดุรูปทรงกระบอกที่หมุนรอบแกนด้วยความเร็ว ที่ผิวนอก ฉาบด้วยสารแม่เหล็ก ในการบันทึกข้อมูลลงบนพื้นผิวของดรัม จะบันทึกผ่านหัวบันทึก (write head) และอ่านข้อความออกโดยหัวอ่าน (read head) ดรัมจึงเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูล (input) และหน่วยแสดงผล (output) มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลน้อยกว่าแถบบันทึก (tape) แต่ยังช้ากว่าจานบันทึก (disk)
magnetic tapeแถบบันทึกแม่เหล็กหมายถึง แถบที่ทำด้วยพลาสติกฉาบออกไซด์ของโลหะ มีลักษณะคล้ายเทปหรือแถบบันทึกเสียง ม้วนอยู่บนวงล้อ มีหลายขนาด เป็นต้นว่า ขนาดยาว 2, 400 ฟุต 1, 200 ฟุต และ 600 ฟุต ตัวเทปกว้าง ? นิ้ว บันทึกข้อมูลได้ประมาณ 800-1, 600 ตัวอักษรต่อความยาวของเนื้อเทป 1 นิ้ว เทปหรือแถบบันทึกนี้สามารถเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล คอมพิวเตอร์จะมีเครื่องมือที่ใช้อ่านและบันทึกข้อมูลลงในเทป เรียกว่า หน่วยขับเทป (tape drive) เราสามารถบันทึกข้อมูลใหม่ลงทับบนข้อมูลเก่าได้เหมือนการบันทึกเพลง ข้อมูลเดิมจะหายไปโดยอัตโนมัติ ข้อเสียของเทปก็คือ การค้นหาข้อมูลทำได้ช้า เพราะต้องเริ่มตั้งแต่ต้นเทปเสมอ ถ้าข้อมูลอยู่ปลายเทป ก็จะเสียเวลานาน การค้นหาแบบนี้เรียกว่าการเข้าถึงแบบเรียงลำดับ (sequential access) ซึ่งตรงข้ามกับการเข้าถึงแบบสุ่ม (direct access) ของจานบันทึก
pathเส้นทางเป็นคำสั่งในระบบดอส ใช้ในแฟ้มข้อมูล autoexec.bat เพื่อให้สามารถเข้าถึงแฟ้มข้อมูลที่เก็บอยู่ได้ โดยไม่ต้องบอกที่เก็บทุกครั้ง ตัวอย่าง เช่นPATH=C:\DOS; C: \WINDOWS ; C:\ WINWORD ; C: \EXCEL
protected storageหน่วยเก็บมีการอารักขาหมายถึง หน่วยเก็บข้อมูลที่จะเข้าถึงได้ เฉพาะเมื่อรู้คำหลัก (keyword) เราจะใช้หน่วยเก็บนี้เมื่อต้องการเก็บข้อมูลที่เป็นความลับ
proxy serverตัวบริการแทนหมายถึง คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลในอินเตอร์เน็ต หากสถานีปลายทางเครื่องใดต้องการข้อมูล ก็จะสามารถเรียกได้จากตัวบริการแทนนี้ จะทำให้เข้าถึงข้อมูลได้เร็วกว่าเรียกหาเอง
ram(แรม) n. แกะตัวผู้, กลุ่มดาวแกะ, เครื่องกระทุ้ง, เครื่องกะแทก, เครื่องตอกเสาเข้ม, การยัดเยียดเรื่องราวลงในสมอง., แรมย่อมาจาก random access memory แปลว่า หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม เป็นหน่วยความจำประเภทหนึ่งที่เราสามารถเข้าถึงได้โดยวิธีการสุ่ม การเข้าถึงโดยสุ่ม หมายถึง การเข้าถึงหน่วยความจำทุกจุดได้ โดยใช้เวลาในการเข้าถึงเท่ากันหมด ไม่ต้องตั้งต้นใหม่ทุกครั้งแล้วรอไปตามลำดับ (อย่างแถบบันทึกหรือเทป) "แรม" จะหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์วัดขนาดกันเป็นกิโลไบต์ หรือเมกะไบต์ ทำงานได้รวดเร็วมาก แต่เมื่อปิดไฟ ข้อมูลในนี้ก็จะหายไปหมด ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ขายทั่วไปมักจะต้องมีข้อความบอกว่า มีแรมขนาดใด ยิ่งมีแรมมาก ก็จะยิ่งทำงานได้เร็ว ดู ROM เปรียบเทียบ vt. กระทุ้ง, ตอก, กระแทก, ยัด, ยัดเยียด, ดันอย่างแรง., See also: rammer n., Syn. strike, batter, cram
ram diskจานแรมหมายถึง ส่วนของหน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำงานแบบเข้าถึงโดยสุ่มเหมือนแรม แต่ใช้เก็บแฟ้มข้อมูลเพื่อให้เรียกมาใช้ได้เหมือนจานบันทึก จานแรมนี้จะทำงานได้เร็วกว่าจานบันทึกธรรมดามาก อย่างไรก็ตาม ข้อเสียก็คือถ้าปิดไฟที่เครื่อง ข้อมูลเหล่านี้จะหายหมด โดยปกติ จะมีการแบ่งจานแรมนี้ ออกมาจากแรมส่วนหนึ่ง เพื่อใช้เก็บแฟ้มที่ต้องการเรียกใช้โปรแกรม สำเร็จสมัยปัจจุบันมักจะมีขนาดใหญ่ และต้องการใช้เนื้อที่ในแรมมาก ทำให้คอมพิวเตอร์ที่มีแรมต่ำเกือบจะใช้ไม่ได้อีกต่อไป หรือไม่ก็ทำงานช้ามาก อาจจะแก้ไขได้ด้วยวิธีการเพิ่มแรมมีความหมายเหมือน virtual disk ดู RAM ประกอบ
random accessการเข้าถึงโดยสุ่มการเข้าถึงข้อมูลที่บันทึกไว้โดยสุ่มหมายความว่าเข้าถึงได้ทุก ๆ จุดได้โดยทันทีทันใด เป็นต้นว่า การเข้าถึงข้อมูลที่เก็บในจานบันทึก ซึ่งจะใช้เวลาเท่ากันหมดไม่ว่าเก็บไว้ที่จุดไหน ต่างกับการเข้าถึงข้อมูลที่เก็บไว้ในแถบบันทึกหรือเทป ถ้าข้อมูลที่ต้องการอยู่ตอนปลาย ก็จะต้องรอให้เทปเดินหน้าไปจนถึงจุดนั้นเสียก่อน การเข้าถึงข้อมูลโดยวิธีนี้ จะมีหัวอ่าน/บันทึก (read head) ต่อกับก้านโลหะที่เคลื่อนเข้า/ออกได้ เหนือจานที่หมุนรอบแกนอีกทีหนึ่ง เปรียบเทียบ) ถ้าเปรียบกับการฟังเพลงจากจานเสียงและเทป จะทำให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น กล่าวคือ ถ้าเป็นเทปหรือแถบบันทึก หากจะฟังเพลงที่อยู่ในลำดับท้าย ๆ ก็จะต้องรอให้เทปหมุนผ่านเพลงในลำดับแรก ๆ ไปก่อน แต่ถ้าเป็นจานเสียง เราต้องการฟังเพลงใด ก็สั่งได้ทันทีดู sequential access เปรียบเทียบ
random access memoryหน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่มใช้ตัวย่อว่า RAM (อ่านว่า แรม) เป็นหน่วยความจำประเภทหนึ่งที่เราสามารถเข้าถึงได้โดยวิธีการสุ่ม การเข้าถึงโดยสุ่มหมายถึง การเข้าถึงหน่วยความจำทุกจุดได้ โดยใช้เวลาในการเข้าถึงเท่ากันหมด ไม่ต้องตั้งต้นใหม่ทุกครั้งแล้วรอไปตามลำดับ (อย่างแถบบันทึกหรือเทป) "แรม" จะหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ วัดขนาดกันเป็นกิโลไบต์ หรือเมกะไบต์ ทำงานได้รวดเร็วมาก แต่เมื่อปิดไฟ ข้อมูลในนี้ก็จะหายไปหมด ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ขายทั่วไปมักจะต้องมีข้อความบอกว่า มีแรมขนาดใด ยิ่งมีแรมมาก ก็จะยิ่งทำงานได้เร็ว ในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ที่วางขายทั่วไปจะมีแรมประมาณ 1 - 8 เมกะไบต์ ปัจจุบันโปรแกรมสำเร็จใหญ่ ๆ หลายโปรแกรม เจาะจงว่าจะต้องใช้กับคอมพิวเตอร์ที่มีแรมอย่างน้อย 8 เมกะไบต์ดู read only memory เปรียบเทียบ
random access storageหน่วยเก็บเข้าถึงโดยสุ่มเป็นหน่วยความจำประเภทหนึ่งที่เราสามารถเข้าถึงได้โดยวิธีการสุ่ม การเข้าถึงโดยสุ่มหมายถึง การเข้าถึงหน่วยความจำทุกจุดได้ โดยใช้เวลาในการเข้าถึงเท่ากันหมด ไม่ต้องตั้งต้นใหม่ทุกครั้งแล้วรอไปตามลำดับ (อย่างแถบบันทึกหรือเทป) หน่วยเก็บในที่นี้หมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ วัดขนาดกันเป็นกิโลไบต์ หรือเมกะไบต์ ทำงานได้รวดเร็วมาก แต่เมื่อปิดไฟ ข้อมูลในนี้ก็จะหายไปหมด นอกจากนั้นยังหมายถึงจานบันทึก ซึ่งใช้เวลาในการเข้าถึงข้อมูลเท่ากันหมดเช่นกัน
samแซม <คำอ่าน>ย่อมาจาก sequential access method แปลว่า วิธีเข้าถึงโดยลำดับ เป็นวิธีเก็บข้อมูลและดึงข้อมูลมาใช้วิธีหนึ่ง หมายถึง การเข้าถึงหน่วยเก็บข้อมูลหรือสื่อบางชนิด เช่น แถบแม่เหล็ก (tape) ซึ่งจะเก็บข้อมูลไว้โดยเรียงไปตามลำดับ วิธีที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลขึ้นอยู่กับระยะทางของตำแหน่งของข้อมูลที่บรรจุไว้ในสื่อนั้น หากข้อมูลถูกเก็บอยู่ตอนปลาย กว่าจะเข้าถึงข้อมูล ก็ย่อมจะเสียเวลานาน
scratchpad memoryหน่วยความจำใช้งานชั่วคราวหมายถึง เรจิสเตอร์เอนกประสงค์ชุดหนึ่งหรือตำแหน่งซึ่งใช้เป็นที่เก็บคำสั่ง (instruction) หรือผลลัพธ์ที่เกิดในขณะนั้นจากการคำนวณเชิงคณิตศาสตร์หรือตรรกะ ข้อมูลในหน่วยความจำชุดนี้จะเข้าถึง (access) ได้เร็วกว่าในหน่วยความจำหลักมากมีความหมายเหมือน cache memoryดู register ประกอบ
sequential access methodวิธีเข้าถึงโดยลำดับใช้ตัวย่อว่า SAM (อ่านว่า แซม) หมายถึง การเข้าถึงหน่วยเก็บข้อมูลหรือสื่อบางชนิด เช่น แถบแม่เหล็ก (tape) ซึ่งจะเก็บข้อมูลไว้ตามลำดับ วิธีที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลขึ้นอยู่กับระยะทางของตำแหน่งของข้อมูลที่บรรจุไว้ในสื่อนั้น หากข้อมูลถูกเก็บอยู่ตอนปลาย กว่าจะเข้าถึงข้อมูล ก็ย่อมจะเสียเวลานานดู random access เปรียบเทียบ
sequential fileแฟ้มลำดับหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่จะเข้าถึงได้ไปตามลำดับ (sequential) สื่อตัวอย่างที่เห็นง่ายก็คือ แถบบันทึกเพลง (tape) กว่าจะเข้าไปถึงเพลงลำดับท้าย ๆ ก็ต้องหมุนผ่านเพลงแรก ๆ ไป ก่อน ต้องรอจนกว่าจะถึงเพลงที่ต้องการ (ตรงข้ามกับ จานเสียงหรือซีดี (CD) ที่เราสามารถเลือกฟังเพลงที่ต้องการได้ทันที)
temporary storageหน่วยเก็บชั่วคราวหมายถึง หน่วยความจำที่จัดไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่ต้องการใช้เป็นการชั่วคราว ทั้งนี้เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหาและเข้าถึง (access) เพื่อจะได้นำไปประมวลผลได้เร็วขึ้นไปอีก โดยปกติแล้ว จะมีอยู่เฉพาะในสื่อที่เก็บแบบเข้าถึงโดยตรงได้ (direct access storage) เป็นต้นว่า จานบันทึก (disk) ส่วนแถบบันทึก (tape) ก็มีบ้าง แต่น้อยมาก
xmsเอกซ์เอ็มเอสย่อมาจาก extended memory specification (ข้อกำหนดหน่วยความจำแบบขยาย) เป็นมาตรฐานการจัดการเกี่ยวกับหน่วยความจำแบบหนึ่งที่ยอมให้โปรแกรมระบบดอส เข้าถึงส่วนความจำขยายได้ โปรแกรมในดอสที่จัดการเรื่องนี้ มีชื่อว่า Himem.Sys

English-Thai: Nontri Dictionary
access(n) วิธีเข้าถึง
accessible(adj) ซึ่งสามารถเข้าถึงได้
accession(n) การยอมรับ, การเข้าถึง, การครอบครอง
approach(vi, vt) เข้าใกล้, เข้าหา, ประชิด, ทาบทาม, เข้าถึง
approachable(adj) ซึ่งเข้าถึงได้, ไปมาสะดวก, พูดง่าย

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Backdoor account(n) บัญชีลับหรือประตูหลัง ในภาษาทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง รูรั่วของระบบหรือซอฟแวร์ นักพัฒนาระบบจงใจสร้างทิ้งไว้ เพื่อให้ซอฟแวร์คอยส่งข้อมูลจากอุปกรณ์ที่มันติดตั้งอยู่ กลับไปหาโปรแกรมเมอร์ผู้พัฒนา หรือเป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลภายในได้
global town square(n) เครือข่ายสังคมออนไลน์ (social media) นำมาเปรียบเทียบเป็นเสมือนจัตุรัสแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแบ่งปันข้อมูลข่าวสารที่สามารถเข้าถึงได้จากทั่วโลก แทนที่จะจำกัดแค่คนในพื้นที่ตามความหมายของคำว่า town square เดิม
SASD(jargon, slang) อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบเรียงลำดับ ไม่สามารถเข้าถึงโดยตรงได้ เช่น สายเทปบันทึกเสียง

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
達する[tassu ru] เข้าถึง、บรรลุ

Japanese-Thai-English: Saikam Dictionary
アクセス[あくせす, akusesu] TH: การเข้าถึง(ยังเครือข่าย)  EN: access

French-Thai: Longdo Dictionary
accéder(vt) นำไปถึง ex: Cette porte accède au jardin. เข้าถึง(สถานที่), ไปถึง, Syn. parvenir, atteindre

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top