มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ จำนวนเชิงซ้อน | น. จำนวนที่มีองค์ประกอบ ๒ ส่วน เขียนได้เป็น a + bi โดย a และ b เป็นจำนวนจริง และ i๒ = -๑. | ได้ | ใช้ประกอบท้ายคำกริยา มีความหมายต่าง ๆ แล้วแต่ความแวดล้อม คือ อาจ, สามารถ, เช่น เดินได้ เขียนได้ | สีสัน | น. สีต่าง ๆ เช่น เสื้อผ้าร้านนี้มีสีสันสดใสดี, เดิมใช้เข้าคู่กับ วรรณะ เป็น สีสันวรรณะ, โดยปริยายหมายความว่า มีชีวิตชีวา มีจุดเด่น หรือมีลักษณะเด่น เช่น เขาจัดงานเลี้ยงได้อย่างมีสีสัน นวนิยายเรื่องนี้เขียนได้อย่างมีสีสัน. |
| pasteurization | การฆ่าเชื้อวิธีปาสเตอร์, การฆ่าเชื้อวิธีปาสเตอร์ สามารถเขียนได้เป็น pasteurisation [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Alexia without Agraphia | เขียนได้ถูกต้องแต่อ่านไม่ออกทั้งๆที่ตามองเห็น, อ่านไม่ออกทั้งๆที่ตามองเห็น [การแพทย์] | Dysphasia | ไม่สามารถพูดให้ผู้อื่นเข้าใจ, ดิย์สฟาเสีย, พูดไม่ได้แต่เขียนได้ [การแพทย์] | ordered pair | คู่อันดับ, คู่ของสมาชิกที่มาจากเซต A และ เซต B เขียนได้ในรูป(a, b) เรียก a ว่าสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับ และเรียก b ว่า สมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | complex number | จำนวนเชิงซ้อน, จำนวนใด ๆ ที่เขียนในรูปคู่อันดับ (a, b) เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงและมีคุณสมบัติต่อไปนี้ 1. (a, b) = (c, d) ต่อเมื่อ a = c และ b = d2. (a, b) + (c, d) = (a + c, b + d)3. (a, b) . (c, d) = (ac - bd, ad + bc) หรือ (a, b) อาจเขียนได้ในรูป a + bi เมื่อ i2 = [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | tree diagram | แผนภาพต้นไม้, แผนภาพที่เขียนเพื่อแสดงการจับคู่ มีลักษณะคล้ายต้นไม้ เช่น แผนภาพแสดงการกระจาย (a + b)3 เขียนได้ดังนี้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | constant function | ฟังก์ชันคงตัว, ฟังก์ชันที่เขียนได้ในรูป f(x) = c เมื่อ c เป็นจำนวนจริง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | exponential function | ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล (ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง), ฟังก์ชันที่สามารถเขียนได้ในรูป y = ax เมื่อ a > 0 และ a ¹ 1 เช่น y = 2x [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | irrational number | จำนวนอตรรกยะ, จำนวนจริงที่ไม่ใช่จำนวนตรรกยะ เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซ้ำ เช่น ¶ = 3.1415926535..., sin 45° = 0.70710678..., tan 140° = -0.8391... [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | rational number | จำนวนตรรกยะ, จำนวนที่เขียนได้ในรูป a/b โดยที่ a และ b ต่างเป็นจำนวนเต็ม และ b ¹ 0 ได้แก่1.จำนวนเต็ม 0, 1, -1, 2, -2, 3, -3, ... , 2.จำนวนที่เขียนไว้ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มโดยที่ตัวหารไม่เป็นศูนย์ เช่น 3.จำนวนที่เขียนไว้ในรูปทศนิยมซ้ำ เช่น หรือ 0.171717 ... [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | scientific notation | สัญกรณ์วิทยาศาสตร์, การเขียนตัวเลขอยู่ในรูปการคูณของเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นสิบและเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม มีรูปทั่วไปเป็น A x 10n เมื่อ 1 ≤ A <10 และ n เป็นจำนวนเต็ม เช่น 123 000 000 เขียนได้เป็น 1.23 x 108 0.000 753 เขียนได้เป็น 7.53 x 10-4 เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Literacy Rate | อัตราผู้อ่านออกเขียนได้ [การแพทย์] |
|
| อ่านออกเขียนได้ | [ān øk khīen dāi] (v, exp) EN: be literate FR: savoir lire et écrire | เขียนได้ | [khīen dai] (v, exp) FR: savoir écrire |
| bilingual | (adj) สามารถพูดหรือเขียนได้สองภาษา | bilingual | (n) คนที่สามารถพูดหรือเขียนได้สองภาษา | fluent | (adj) พูดหรือเขียนได้อย่างคล่องแคล่ว, See also: ราบรื่น, ไหลลื่น, ฉะฉาน, Syn. smooth, flowing, voluble, Ant. slow, stammering | literate | (adj) รู้หนังสือ, See also: อ่านออกเขียนได้, Syn. literary, well-written, Ant. illiterate |
| c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม | clerk | (คลาร์ค, เคลิค) { clerked, clerking, clerks } n. เสมียน, เสมียนขายของ, พนักงานร้านค้า, พระ, คนที่อ่านออกเขียนได้, ผู้คงแกเรียน vi. ทำหน้าที่เป็นเสมียน, See also: clerkish adj. ดูclerk clerkship n. ดูclerk | computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล | fluent | (ฟลู'เอินทฺ) adj. ซึ่งพูดหรือเขียนได้อย่างคล่องแคล่ว, กลมกล่อม, ราบรื่น, ง่าย, หลั่งไหล., See also: fluency n. fluently adv., Syn. smooth | human oriented language | ภาษาแนวมนุษย์หมายถึงภาษาที่ใกล้เคียงภาษามนุษย์ เขียนได้ง่าย เข้าใจง่าย และกระทัดรัด สะดวกในการใช้งาน ภาษานี้มีลักษณะเหมือนภาษาหนังสือ ใช้เขียนสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน แต่คอมพิวเตอร์จะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) ก่อนจึงจะเข้าใจ และนำไปปฏิบัติได้ แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ1. ภาษาระดับสูง (high level language) 2. ภาษาระดับต่ำ (low level language) การใช้ภาษามนุษย์เขียนชุดคำสั่งนี้มีข้อดีคือ ทำได้ง่าย มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่าย เขียนได้สั้น เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลายคำสั่งในภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดีตรงที่สามารถใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่าเพราะไม่เสียเวลาในการแปลดู computer language ประกอบดู machine language เปรียบเทียบ | literacy | (ลิท'เทอระซี) n. ความสามารถอ่านออกเขียนได้, การรู้หนังสือ | writer | (ไร'เทอะ) n. ผู้เขียน, นักเขียน, นักประพันธ์, ผู้สามารถเขียนได้, Syn. litterateur |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |