ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เกียจ, -เกียจ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ | หลาว | (vt) ข้าม เลย เว้น ค่อย เดียวค่อย ขี้คร้านอาบน้ำ หลาว ก่อนล่าวคืนนี้(รอบต่อไปทีเดียว รวบไว้ทำรอบต่อไป) คือ ขี้เกียจอาบน้ำ เว้น ก่อนคืนนี้(ค่อยอาบพรุ่งนี้ทีเดียว) |
| ขี้เกียจ | (adj) lazy, See also: idle, Syn. เกียจคร้าน, สันหลังยาว, Ant. ขยัน, Example: ครูส่วนใหญ่มักไม่ชอบเด็กขี้เกียจเป็นธรรมดาอยู่แล้ว, Thai Definition: ไม่อยากทำงาน | ขี้เกียจ | (v) lazy, See also: idle, Syn. เกียจคร้าน, สันหลังยาว, Ant. ขยัน, Example: เมียของเขาขี้เกียจจะตาย จนเขาออกปากบ่นอยู่เรื่อย, Thai Definition: ไม่อยากทำงาน | เกียจคร้าน | (adj) lazy, See also: idle, inactive, indolent, Syn. ขี้เกียจ, ขี้คร้าน, คร้าน, Ant. ขยัน, ขยันขันแข็ง, Example: คนที่มีเวลาว่างมากแล้วก็ไม่รู้จะทำอะไร เป็นคนเกียจคร้านบ้าง เป็นคนที่ไม่ฉลาดบ้าง ถึงต้องจัดให้เวลาว่างนี้เป็นประโยชน์, Thai Definition: ความรู้สึกไม่อยากจะทำหรือคิดหรือไม่อยากแสดงอาการใดๆ | เกียจคร้าน | (v) be lazy, See also: be indolent, be idle, be slothful, be inert, be inactive, Syn. ขี้เกียจ, ขี้คร้าน, คร้าน, Ant. ขยัน, ขยันขันแข็ง, Example: คนบางพวกเกียจคร้านที่จะประกอบสัมมาอาชีพ คอยจ้องแต่จะลักขโมย เบียดเบียนคนอื่น, Thai Definition: ความรู้สึกไม่อยากจะทำหรือคิดหรือไม่อยากแสดงอาการใดๆ | ข้อรังเกียจ | (n) objection, See also: offensive, Example: เขาถูกตั้งข้อรังเกียจว่าเป็นคนทุจริต, Thai Definition: สิ่งที่รู้สึกเกลียดหรือไม่พอใจ | น่ารังเกียจ | (adj) disgusting, See also: hateful, Syn. น่าสะอิดสะเอียน, น่าเกลียด, น่าขยะแขยง, Ant. น่ารัก, น่าพึงพอใจ, Example: ฉันยอมรับพฤติกรรมน่ารังเกียจของเพื่อนร่วมงานคนนี้ไม่ได้ | น่ารังเกียจ | (v) be disgusting, See also: be hateful, be repulsive, Syn. น่าสะอิดสะเอียน, น่าเกลียด, น่าขยะแขยง, Ant. น่ารัก, น่าพึงพอใจ | บิดขี้เกียจ | (v) stretch, See also: stretch oneself, Example: เขาบิดขี้เกียจอยู่นาน หลังเสร็จจากการสับผักกองสูงท่วมหัว, Thai Definition: บิดร่างกายไปมา เพราะความเกียจคร้านหรือเพื่อแก้เมื่อย | ไม่รังเกียจ | (v) do not mind, See also: approve | ความขี้เกียจ | (n) laziness, See also: slothfulness, indolence, Syn. ความเฉื่อยชา, Ant. ความขยัน, ความพากเพียร, Example: บุคคลที่มีความขี้เกียจอยู่ในตัวไม่มีทางจะได้ดี | ความรังเกียจ | (n) dislike, See also: hate, hatred, detestability, loathing, Syn. ความเกลียด, ความเกลียดชัง, Ant. ความชอบ, Example: หากเราแสดงความรังเกียจต่อผู้ป่วยโรคเอดส์ จะทำให้กำลังใจของผู้ป่วยลดลง |
|
| เกียจ | (เกียด) ก. คด, ไม่ซื่อ, โกง, คร้าน. | เกียจกล | ก. ซ่อนกล. | เกียจคร้าน | ก. ขี้เกียจ, ไม่อยากทำงาน. | ขี้เกียจ | ก. มีนิสัยไม่ชอบทำงาน เช่น เด็กคนนี้ขี้เกียจ, เกียจคร้าน ก็ว่า, รู้สึกไม่อยากทำเพราะไม่เห็นประโยชน์เป็นต้น เช่น ขี้เกียจเถียง | ขี้เกียจ | เชื่อว่าเป็นเช่นนั้น (ใช้ในความประชดประชัน), ใช้เข้าคู่กับคำ จะ เป็น ขี้เกียจจะ เช่น พอให้เงินเข้าหน่อย ขี้เกียจจะรีบทำเสียอีก, ขี้คร้าน หรือ ขี้คร้านจะ ก็ว่า. | ขี้เกียจสันหลังยาว, ขี้เกียจหลังยาว | ก. เกียจคร้านเอาแต่นอน. | บิดขี้เกียจ | ก. บิดร่างกายไปมาเพราะความเกียจคร้านหรือเพื่อแก้เมื่อยเป็นต้น. | รังเกียจ | ก. เกลียดเพราะรู้สึกขยะแขยงหรือไม่ชอบใจเป็นต้น. | รังเกียจเดียดฉันท์ | ก. ลำเอียงด้วยความรังเกียจ. | รังเกียจรังงอน | ก. ตั้งแง่ตั้งงอนทำเป็นรังเกียจเพราะไม่ชอบใจ. | กระเลียด | (-เหฺลียด) ก. ชัง, รังเกียจมาก, เช่น ไยเยาวเคียดและกระเลียด ฤเหลือบพระพักตร์ผิน (สรรพสิทธิ์). | กรีส ๑ | (กะหฺรีด) น. อาหารเก่า, อุจจาระ, เช่น หนึ่งน้ำมูตรกรีส ฤๅเกียจฤๅกีด คำคนติฉิน (สรรพสิทธิ์). | กำเนียจ | (กำเหฺนียด) ว. เกียจ, คด, ไม่ซื่อ, โกง | เกลียด | (เกฺลียด) ก. ชัง, รังเกียจมาก, ไม่ชอบจนรู้สึกไม่อยากพบอยากเห็นเป็นต้น, บางทีใช้คู่กับคำ ชัง เป็น เกลียดชัง. | เกียง | ก. เกี่ยง, รังเกียจ, ไม่ลงรอย, เกี่ยงแย่ง, เกี่ยงแย้ง, เช่น คนใดอันรังร้าย จิตรพิศเกียงกล (จารึกวัดโพธิ์), โดยมากใช้เป็น เกี่ยง. | โกสัช | (-สัด) น. ความเกียจคร้าน. | ขยะแขยง | (ขะหฺยะขะแหฺยง) ก. เกลียดเมื่อได้เห็นหรือถูกต้องสิ่งที่สกปรก น่ารังเกียจ หรือน่าเกลียดน่ากลัว หรือเมื่อนึกถึงสิ่งนั้น, แขยง ก็ว่า. | ขยัน ๑ | (ขะหฺยัน) ก. ทำการงานอย่างแข็งขันไม่ปล่อยปละละเลย, ทำหรือประพฤติเป็นปรกติสมํ่าเสมอ, ไม่เกียจคร้าน | ขี้ | ว. ใช้ประกอบหน้าคำที่แสดงความหมายในทางที่ไม่ดี เช่น ขี้เกียจ ขี้เหนียว, หรือมักเป็นเช่นนั้น เช่น ขี้หัวเราะ ขี้ขอ ขี้ลืม ขี้หึง. | ขี้คร้าน | ก. เชื่อว่าเป็นเช่นนั้น (ใช้ในความประชดประชัน) เช่น พอให้เงินเข้าหน่อย ขี้คร้านรีบทำเสียอีก, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ จะ เป็น ขี้คร้านจะ เช่น พอยอเข้าหน่อย ขี้คร้านจะทำให้ทุกอย่าง, ขี้เกียจจะ ก็ว่า. | ขี้หน้า | น. หน้า (ใช้แสดงความไม่ชอบหรือรังเกียจ) เช่น เกลียดขี้หน้า เบื่อขี้หน้า. | ขี้หน้า | น. หน้า (ใช้ในความหมั่นไส้ รังเกียจ หรือดูหมิ่น) เช่น เกลียดขี้หน้า ขายขี้หน้า. | แขยง ๒ | (ขะแหฺยง) ก. เกลียดเมื่อได้เห็นหรือถูกต้องสิ่งที่สกปรก น่ารังเกียจ หรือน่าเกลียดน่ากลัว หรือเมื่อนึกถึงสิ่งนั้น, ขยะแขยง ก็ว่า. | คร้าน | (คฺร้าน) ว. มีความรู้สึกไม่อยากจะทำหรือคิดหรือไม่อยากแสดงอาการใด ๆ, ตามปรกติเมื่อใช้พูดมักมีคำ ขี้ ประกอบหน้า เช่น ขี้คร้าน และมักใช้เข้าคู่กับคำ เกียจ เป็น เกียจคร้าน ขี้เกียจขี้คร้าน หมายความว่า ไม่อยากทำงาน. | คลื่นไส้ | (คฺลื่น-) ก. ปั่นป่วนในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ชวนให้อาเจียน, โดยปริยายหมายความว่า น่ารังเกียจ, น่าสะอิดสะเอียน. | งอมืองอตีน | ก. เกียจคร้าน, ไม่สนใจขวนขวายทำการงาน, ไม่คิดสู้. | ซึมกะทือ | ว. ซึมเซา ง่วงเหงา หรือเกียจคร้าน. | เดียดฉันท์ | ก. ไม่พอใจด้วย, รังเกียจ, ลำเอียง. | เต็มไม้เต็มมือ | โดยสนิทใจ, ไม่มีความรังเกียจ, ไม่ขยะแขยง, เช่น จับสิ่งสกปรกได้เต็มไม้เต็มมือ. | ถือผิว | ก. รังเกียจผู้ที่มีสีผิวต่างกับตน (มักใช้แก่พวกผิวขาวที่มีความรู้สึกรังเกียจพวกที่มีผิวสีอื่น). | ทันธ-, ทันธ์ | (ทันทะ-) ว. ช้า ๆ, เงื่อง, เกียจคร้าน | ทุเรศ ๑ | ว. ลักษณะที่ขัดหูขัดตา น่ารังเกียจ หรือน่าสมเพช เป็นต้น, (ปาก) คำที่เปล่งออกมาแสดงการไม่ยอมรับหรือแสดงความรังเกียจ. | โทษ, โทษ- | (โทด, โทดสะ-) น. ความไม่ดี, ความชั่ว, เช่น โทษแห่งความเกียจคร้าน, ความผิด เช่น กล่าวโทษ, ผลแห่งความผิดที่ต้องรับ เช่น ถูกลงโทษ, ผลร้าย เช่น ยาเสพติดให้โทษ. | นอนกินบ้านกินเมือง | ก. นอนตื่นสายด้วยความเกียจคร้าน (ใช้เป็นคำประชด). | นอนเอือก | ก. นอนอืดอย่างเกียจคร้าน. | นาง ๑ | คำเรียกหรือคำนำหน้าชื่อหญิงที่มีพฤติกรรมไม่ดีหรือน่ารังเกียจเป็นต้น เช่น นางแพศยา มักออกเสียงสั้นว่า นัง เป็น นังแพศยา | น้ำหน้า | น. หน้า (ใช้ในความแดกดัน รังเกียจ หรือดูหมิ่น เป็นต้น) เช่น นํ้าหน้าอย่างนี้ทำไม่สำเร็จดอก เกลียดนํ้าหน้า ชังนํ้าหน้า | บรม, บรม- | อย่างที่สุด เช่น โง่บรม บรมขี้เกียจ. | บัดสี, บัดสีบัดเถลิง | (-ถะเหฺลิง) ว. น่าอับอายขายหน้า เป็นที่น่ารังเกียจ. | บิด ๑ | หลีกเลี่ยงเพราะความเกียจคร้านเป็นต้น เช่น บิดงาน บิดการ, เอานิ้วมือบีบเนื้ออย่างแรงทำนองแหนบแล้วหมุน เช่น บิดเนื้อ บิดหู | แบหลา | (แบหฺลา) ว. อาการที่นอนแผ่กางมือกางเท้า ในคำว่า นอนแบหลา เช่น อันข้าวเหนียวกินดีแต่ขี้เกียจ ลงนอนเหยียดแบหลาไม่ว่าขาน (นิ. พระปฐม). | แบะปาก | ก. แสยะปากทำอาการรังเกียจเป็นต้น. | ปฏิกูล | ว. สกปรกน่ารังเกียจ เช่น สิ่งปฏิกูล. | เป็นอัตรา | ว. เป็นปรกติ, เป็นประจำ, เช่น ขยันเป็นอัตรา ขี้เกียจเป็นอัตรา. | เปื้อน | ก. ติดสิ่งที่ทำให้เกิดสกปรก น่ารังเกียจ หรือไม่ต้องการ เช่น เปื้อนโคลน เปื้อนแกง เปื้อนเลือด. | เปื้อน | ว. มีสิ่งสกปรก น่ารังเกียจ หรือไม่ต้องการติดอยู่ เช่น มือเปื้อน ผ้าเปื้อน. | แผล็บ ๑ | (แผฺล็บ) น. ชั่วเวลานิดเดียว เช่น โผล่แผล็บ ทำแผล็บเดียวเสร็จ, แพล็บ ก็ว่า, ลักษณนามใช้เรียกชั่วเวลานิดเดียว เช่น เด็กคนนี้ขี้เกียจจริง ๆ ทำงานแผล็บ ๒ แผล็บ ก็เลิกเสียแล้ว. | ใฝ่ร้อนจะนอนเย็น ใฝ่เย็นจะดิ้นตาย | ก. มุ่งหวังจะสบายต้องทำงาน ถ้าเกียจคร้านจะลำบากยากจน. | ฟอนเฟะ | ว. เละเทะ, เป็นที่น่ารังเกียจ, เช่น มีความประพฤติฟอนเฟะ สังคมฟอนเฟะ. | มนท-, มนท์ | ขี้เกียจ. |
| | New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] | Amblyopia | สายตามัว, ตาขี้เกียจ, การสูญเสียการเห็นอย่างถาวร, ตาบอด, ตาเสียถาวร, สายตาเสื่อม [การแพทย์] | Laziness | เกียจคร้าน [การแพทย์] | Lethargy | ไม่มีแรง, อิดโรย, ซึม, เกียจคร้าน, แขนขาอ่อนแรง, อ่อนเพลียซึม [การแพทย์] |
| บิดขี้เกียจ | [bitkhīkīet] (v) EN: stretch oneself FR: s'étirer ; se détendre | ขี้เกียจ | [khīkīet] (adj) EN: lazy ; indolent ; idle ; inactive FR: paresseux ; indolent ; fainéant ; inactif ; oisif | คนเกียจ | [khon kīet] (n, exp) EN: lazy person FR: personne paresseuse [ f ] ; fainéant [ m ] ; fainéante [ f ] | ความขี้เกียจ | [khwām khīkīet] (n) EN: laziness ; slothfulness ; indolence ; inactivity FR: paresse [ f ] ; fainéantise [ f ] ; indolence [ f ] | ความเกียจคร้าน | [khwām kīetkhrān] (n) FR: paresse [ f ] | ความน่ารังเกียจ | [khwām nārangkīet] (n) EN: nastiness | เกียจ | [kīet] (adj) EN: lazy ; idle ; indolent FR: nonchalant ; indolent | เกียจคร้าน | [kīetkhrān] (adj) EN: lazy ; idle ; inactive ; indolent FR: paresseux ; oisif | เกียจคร้านมากมาย | [kīetkhrān mākmāi] (adj) FR: paresseux comme une couleuvre (loc.) ; très paresseux | น่ารังเกียจ | [nārangkīet] (adj) EN: disgusting ; hateful FR: déplaisant ; désagréable | รังเกียจ | [rangkīet] (v) EN: conceive a dislike ; hate FR: abhorrer ; avoir horreur de ; avoir du dégoût pour | รังเกียจ | [rangkīet] (v) EN: object to ; mind ; take offence = offense (Am.) ; complain FR: être gêné ; être incommodé ; objecter | รังเกียจไหม | [rangkīet mai] (xp) FR: avez-vous une objection ? | ทำให้ขี้เกียจ | [thamhai khīkīet] (v, exp) FR: acagnarder (vx) | อย่างเกียจคร้าน | [yāng kīetkhrān] (adv) FR: paresseusement |
| abominable | (adj) เลวทรามต่ำช้า, See also: น่าชัง, น่ารังเกียจ, Syn. hatful | anathema | (adj) เป็นที่รังเกียจ, Syn. detested, hated | averse | (adj) ซึ่งไม่ชอบ, See also: ซึ่งรังเกียจ, ซึ่งคัดค้าน, Syn. unfavorable, Ant. agreeable | aversion | (n) การเกลียดชัง, See also: การรังเกียจ, Syn. dislike, antipathy, repugnance, Ant. attraction, affinity | aw | (int) คำอุทานแสดงการคัดค้าน ไม่เชื่อ หรือรังเกียจ | bah | (int) คำอุทานแสดงความรังเกียจหรือดูถูก | beastly | (adj) น่ารังเกียจ (คำล้าสมัย) (คำไม่เป็นทางการ), See also: ไม่น่าพอใจ, Syn. awful, horrid | bum | (n) คนเกียจคร้าน, See also: คนพเนจร, พวกขอทาน, Syn. tramp | cardinal sin | (n) หนึ่งในบาปที่ร้ายแรง 7 ประการในศาสนาคริสต์ (หยิ่งยโส, ราคะ, อิจฉา, โมหะ, โลภ, ตะกละ, เกียจคร้าน) | carrion | (n) สิ่งที่น่ารังเกียจ | cocksucker | (n) คนที่น่ารังเกียจ (คำสแลง) | contempt | (n) การดูถูก, See also: ความรู้สึกรังเกียจอย่างมาก, Syn. disdain, scorn | creep | (n) บุคคลที่น่ารังเกียจ (คำสแลง) | cursed | (adj) น่ารำคาญ, See also: น่ารังเกียจ, Syn. hateful, detestable | daw | (n) คนขี้เกียจ, See also: คนโง่ | dead | (adj) เฉื่อยชา, See also: เงื่องหงอย, อยู่นิ่งๆ, เกียจคร้าน, Syn. inert, stagnant, stagnating, sluggish, static, inactive, dull | despicable | (adj) เลวทราม, See also: ระยำ, ชั่วร้าย, ชั่วช้า, เลว, ต่ำช้า, น่ารังเกียจ, Syn. abject, contemptible, mean | detest | (vt) เกลียดมาก, See also: ไม่ชอบมาก, รังเกียจ, Syn. abhor, dislike, loathe, Ant. love, like | detestable | (adj) ที่เกลียดชัง, See also: ที่รังเกียจ, Syn. dislikeable | detestation | (n) ความเกลียดอย่างมาก, See also: ความรังเกียจ, ความไม่ชอบอย่างมาก, Syn. hate, hatred, loathing, Ant. attraction | disdain | (n) การดูถูกเหยียดหยาม, See also: ความรังเกียจ, Syn. contempt, despise, scorn, Ant. honor, respect | disdain | (vt) ดูถูกเหยียดหยาม, See also: รังเกียจ, Syn. scorn, mock, ridicule, Ant. honor, respect, esteem | disdainful | (adj) ซึ่งแสดงการดูถูกเหยียดหยาม, See also: ซึ่งแสดงความรังเกียจ, Syn. snobbish, scornful, Ant. respectful | disgust | (n) ความขยะแขยง, See also: ความน่ารังเกียจ, ความสะอิดสะเอียน, ความไม่สบอารมณ์, Syn. loathing, abhorrance, dislike, distaste | disgust | (vt) ทำให้ขยะแขยง, See also: ทำให้น่ารังเกียจ, ทำให้สะอิดสะเอียน, ทำให้ไม่สบอารมณ์, Syn. displease, upset, revot, horrify, traumatize, Ant. please, delight, enchant | disgusted | (adj) ซึ่งน่าสะอิดสะเอียน, See also: ซึ่งน่ารังเกียจ, Syn. displeased, offended, Ant. attracked | disgusting | (adj) น่ารังเกียจ, See also: น่าเกลียด, น่าสะอิดสะเอียน, น่าขยะแขยง, Syn. loathsome, repellent, Ant. attracktive | disgustingly | (adv) อย่างน่ารังเกียจ, See also: อย่างน่าขยะแขยง, อย่างสะอิดสะเอียน | distaste | (n) ความรังเกียจ, Syn. aversion | distasteful | (adj) เป็นที่น่ารังเกียจ, See also: ที่ไม่ชอบ, Syn. unpleasant, offensive | dog | (n) คนน่าเบื่อ (คำไม่เป็นทางการ), See also: คนหัวโบราณ, คนเชย, คนน่ารังเกียจ, Syn. scoundrel | faugh | (int) คำอุทานแสดงความรังเกียจ ดูถูกหรือรำคาญ | feckless | (adj) ซึ่งไร้ประสิทธิภาพ, See also: ซึ่งใช้การไม่ได้, ซึ่งไม่เอาไหน, ซึ่งไม่ได้เรื่อง, ขี้เกียจ, Syn. unconcerned | fink | (n) คนที่น่ารังเกียจ (คำสแลง), Syn. unpleasant person | foul | (adj) น่ารังเกียจ, See also: น่าขยะแขยง, น่าคลื่นไส้, ชวนคลื่นเหียน, Syn. disgusting, revolting, repulsive | grotty | (adj) ไม่พอใจ (คำสแลง), See also: สกปรก, น่ารังเกียจ, Syn. unpleasant, dirty, nasty, ugly | gruesome | (adj) น่ากลัว, See also: น่าขยะแขยง, น่าสยดสยอง, น่าสะอิดสะเอียน, น่ารังเกียจ, Syn. dredful, grisly, ghastly, horrid, Ant. pleasant | hateable | (adj) น่ารังเกียจ | idle | (adj) เกียจคร้าน, See also: ขี้เกียจ, ซึ่งไม่ทำอะไร, Syn. lazy, indolent, slothful | idleness | (n) ความเกียจคร้าน, See also: ความขี้เกียจ, Syn. indolence, laziness | idler | (n) คนเกียจคร้าน, See also: คนขี้เกียจ, Syn. drone, loafer, lounger | idly | (adv) อย่างเกียจคร้าน, See also: อย่างขี้เกียจ, อย่างเอ้อระเหย, Syn. infolently, lazily, slothfully | ignominious | (adj) น่าอับอาย, See also: น่าอัปยศอดสู, น่ารังเกียจ, Syn. disgraceful, dishonorable, mean, Ant. graceful, honorable | inaction | (n) ความเฉื่อยชา, See also: ความเกียจคร้าน, Syn. idleness, inertness, Ant. action | inactivate | (vt) ทำให้เฉื่อยชา, See also: ทำให้ขี้เกียจ, ทำให้หยุดทำงาน, Ant. activate | inactive | (adj) เกียจคร้าน, See also: ขี้เกียจ, เฉื่อยชา, Syn. idle, lazy, sluggish, Ant. active | indolence | (n) ความขี้เกียจ | indolent | (adj) ขี้เกียจ, See also: เกียจคร้าน, สังหลังยาว | inoffensive | (adj) ไม่เป็นภัย, See also: ไม่ทำอันตราย, ไม่รุกราน, ไม่ทำร้ายคนอื่น, ไม่น่ารังเกียจ, Syn. friendly, harmless, innocuous, Ant. offensive | laze away | (phrv) ขี้เกียจ |
| abhor | (แอบฮอร์') vt. เกลียดชัง, รังเกียจ, ชิงชัง -abhorrer n., Syn. loathe, hate | abominable | (อะบอม' นินะเบิล) adj. น่ารังเกียจ, น่ารำคาญ, เลวมากที่สุด, Syn. hateful, odious | ad nauseam | (แอคนอ' เซียม) น่าคลื่นไส้, น่าชัง, น่ารังเกียจ | averse | (อะเวิร์ส') adj. คัดค้าน, ไม่ชอบ, รังเกียจ, ไม่ยินยอม, ไม่สมัครใจ, หันไปด้านตรงกันข้ามกับต้น, Syn. opposed, hostile | aversion | (อะเวอ'เชิน) n. ความรังเกียจ, ความไม่ชอบ, คำไม่พอใจ. -aversive adj. | aw | (ออ) interj. คำอุทานแสดงความรู้สึกคัดค้านไม่เชื่อ รังเกียจ (an exclamation) | awfully | (ออ'ฟูลลี) adv.มาก ๆ , มากเหลือเกิน, น่ากลัวน่ารังเกียจ, น่ายำเกรง (very, extremely) | bum | (บัม) { bummed, bumming, bums } n. คนพเนจร, คนเกียจคร้าน, ก้น, ตะโพก vt. เอาหรือยืมโดยไม่คืน, ขอทาน, อ้อนวอน vi. พเนจร, ดื่มเหล้ามาก adj. เลว, มีคุณภาพเลว, เก๊, ปลอม, หลอกลวง, Syn. idler | contemptible | (คันเทมพฺ'ทะเบิล) adj. น่าดูถูก, น่าเหยียดหยาม, น่าชัง, น่ารังเกียจ., See also: contemptibility n. ดูcontemptible -Conf. contemptuous | contemptuous | (คันเทมพฺ'ชุอัส) adj. น่าดูถูก, น่าชัง, น่ารังเกียจ, หยิ่งยโส, โอหัง. n., Syn. acornful, Ant. respectful | crud | (ครัด) { crudded, crudding, cruds } n. สิ่งสะสมหรือคราบที่สกปรกโสมม, คนที่สกปรกโสมม, สิ่งที่ไร้ค่า, น่ารังเกียจ น่าขยะแขยง vt., vi. ทำให้เป็นนมเปรี้ยวหรือนมที่เข้มข้น | crumb | (ครัมพฺ) n. เศษขนมปัง, เศษ, คนที่ไร้ค่า, คนที่น่ารังเกียจ. vt. ใส่เศษเล็กเศษน้อย adj. มีเศษเนย, เครื่องเทศและน้ำตาลบนพื้นหน้า | currish | (เคอ'ริช) adj. มีอารมณ์ร้าย, ชอบทะเลาะ, เลว, น่ารังเกียจ., See also: currishness n. | cursed | (เคอร์ซฺทฺ) adj. ซึ่งถูกสาปแช่ง, ชั่วร้าย, น่ารังเกียจ, See also: cursedness n. ดูcursed, Syn. damned, Ant. laudatory | curst | (เคิร์สทฺ) v. กิริยาช่อง2และช่อง3ของcurse adj. ซึ่งถูกสาปแช่ง, น่ารังเกียจ | cussed | (คัส'ซิด) adj. ซึ่งถูกสาปแช่ง, ซึ่งถูกแช่ง, น่ารังเกียจ. | damnable | (แคม'นะเบิล) adj. น่าสาปแช่ง, น่ารังเกียจ, อัปรีย์, น่าเบื่อหน่าย., See also: damnability n., Syn. detestable -A.good | damned | (แดมดฺ) adj. แย่มาก, ซึ่งถูกสาปแช่ง, เคราะห์ร้าย, ลงนรก, น่ารังเกียจ, อัปรีย์. -adv. อย่างยิ่ง, อย่างมาก, ถึงที่สุด, Syn. condemned | despicable | (เดส'พิคะเบิล) adj. น่ารังเกียจที่สุด, เลวทราม, น่าเหยียดหยาม, น่าดูหมิ่น, See also: despicableness n. ดูdespicable, Syn. mean, Ant. admirable | disapproval | (ดิสอะพรู'เวิล) n. ความไม่เห็นด้วย, การไม่อนุญาต, ความไม่พอใจ, ความรังเกียจ, สีหน้าความรู้สึกหรือคำพูดที่ไม่เห็นด้วย, Syn. blame | disapprove | (ดิสอะพรูฟว') vt. ไม่เห็นด้วย, ไม่พอใจ, รังเกียจ, ไม่อนุญาต., See also: disapprover n. ดูdisapprove, Syn. criticize | disdain | (ดิสเดน') { disdained, disdaining, disdains } vt. ดูถูก, ดูหมิ่น, เหยียดหยาม, รังเกียจ. n. การดูถูก, การดูหมิ่น, ความรู้สึกที่รังเกียจ, Syn. scorn, contempt | disdainful | (ดิสเดน'ฟูล) adj. เป็นการดูถูก (ดูหมิ่น, เหยียดหยาม, รังเกียจ) ., Syn. contemptuous, aloof | disgust | (ดิสกัสทฺ') n. ความน่ารังเกียจ, ความน่าขยะแขยง, ความสะอิดสะเอียน, ความน่าชัง. vt. ทำให้อาเจียน, ทำให้น่าชัง, ทำให้น่าขยะแขยง., See also: disgustedness n. ดูdisgust, Syn. offend, irk, repulsion | disgustful | (ดิสกัส'ฟูล) adj. น่ารังเกียจ, น่าชัง, น่าอาเจียน, น่าขยะแขยง, น่าสะอิดสะเอียน | disgusting | (ดิสกัส'ทิง) adj. น่ารังเกียจ, น่าชัง, น่าอาเจียน, น่าขยะแขยง., Syn. offensive, odious, Ant. attractive | disprize | vt. ดูหมิ่น, ดูถูก, รังเกียจ | disrelish | (ดิสเรล'ลิช) vt., n. (การ) ไม่ชอบ, รังเกียจ | distaste | (ดิสเทส') n. ความไม่ชอบ, ความไม่พอใจ. vt. ไม่ชอบ, ไม่พอใจ, รังเกียจ, Syn. aversion, dislike, Ant. liking, taste | distasteful | (ดิสเทส'ฟูล) adj. ไม่พอใจ, น่ารังเกียจ, น่าเบื่อหน่าย, ไม่ถูกรส., See also: distastefulness n., Syn. disgusting, repugnant | faugh | (ฟอ) int. คำอุทานรังเกียจเช่นฮึ่ม!, ว้า! | feckless | (เฟค'ลิส) adj. ไม่ได้ผล, ใช้การไม่ได้, อ่อนแอ, ไร้ค่า, ไม่เอาถ่าน, ขี้เกียจ., See also: fecklessness n., Syn. ineffective | fed | (เฟด) v. กิริยาช่อง2และ3ของfeed, See also: fed up น่าเบื่อหน่าย, น่ารังเกียจ | filthy | (ฟิล'ธี) adj. สกปรก, โสมม, ลามก, หยาบคาย, ชั่วช้า, เลว, ทุจริต, น่ารังเกียจ., See also: filthily adv. -filthiness n., Syn. unclean | frightful | (ไฟรทฺ'ฟูล) adj. น่ากลัว, น่าขนลุก, สยองขวัญ, น่าหวาดเสียว, น่ารังเกียจ, น่าเบื่อหน่าย, อย่างยิ่ง, อย่างมาก., See also: frightfully adv. frightfulness n., Syn. dreadful | fulsome | adj. น่ารังเกียจ, น่ารำคาญ, มากเกินไป, See also: fulsomness n., Syn. gross, Ant. subtle | gruesome | (กรู'เซิม) adj. น่ากลัว, น่ารังเกียจ, น่าขยะแขยง, See also: gruesomeness, grewsomeness n., Syn. grisly, frightful | hatable | (เฮ'ทะเบิล) adj. น่ารังเกียจ | hate | (เฮท) vt., vi., n. (ความ) เกลียด, ชัง, รังเกียจ, ไม่ชอบ, ไม่เต็มใจ., Syn. abominate, abhor | hateable | (เฮ'ทะเบิล) adj. น่ารังเกียจ | hateful | (เฮท'ฟูล) adj. น่ารังเกียจ, น่าชัง, น่ารำคาญ, See also: hatefulness n., Syn. detestable | hellish | (เฮล'ลิช) adj. เหมือนนรก, ร้ายกาจ, อัปรีย์, โหดเหี้ยม, น่ารังเกียจ., See also: hellishness n., Syn. atrocious, brutal | hilding | (ฮิล'ดิง) n. บุคคลที่น่าดูถูก, คนต่ำช้า adj. ต่ำช้า, น่ารังเกียจ, น่าดูถูก | idle | (ได'เดิล) adj. ไม่ทำงาน, ว่าง, เฉย ๆ , เกียจคร้าน, อยู่ว่าง, ไม่มีเหตุผล, ไร้ผล, ไม่มีประโยชน์, ไร้สาระ, หมุนเปล่า ๆ (เครื่องยนต์) . vi. ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยไปโดยเปล่าประโยชน์, เดินเตร่, (เครื่องยนต์) หมุนเปล่า. vt. ทำให้เสียเวลาไปเปล่า ๆ , ทำให้ไม่ทำงาน. คำศัพท์ย่อย: | idler | (ไอ'ดฺเลอะ) n. คนเกียจคร้าน | ignominious | (อิก'นะมิน'เนียส) adj. น่าอับอาย, อัปยศอดสู, เสียชื่อเสียง, น่ารังเกียจ, น่าดูถูก, See also: ignominiousness n., Syn. humiliating, degrading | ignominy | (อิก'นะมินนี) n. ความน่าอับอาย, ความอัปยศอดสู, ความน่าดูถูก ความรังเกียจ, Syn. disgrace, shame | ill | (อิล) adj., adv. ไม่สบาย, ป่วย, เป็นโรค, เลว, ชั่ว, น่ารังเกียจ, ไม่เหมาะสม, ยุ่งยาก, ไม่ชำนาญ, มุ่งร้าย. n. ความเลว, ผลร้าย, อันตราย, โชคร้าย, บาดเจ็บ, โรคบาป., See also: illilly adv., Syn. sick, evil, harm | inaction | (อิคแอค' เชิน) n. ความขี้เกียจ, การไม่ทำอะไร, การไม่ดำเนินกิจการ, การอยู่เฉย ๆ, Syn. idleness, immobility, rest | inactivate | (อินแอค' ทะเวท) vt. ทำให้เฉื่อยชา, ทำให้ขี้เกียจ, หยุดยั้งการปฏิบัติงานของ., See also: inactivation n. |
| abhor | (vt) รังเกียจ, ขยะแขยง, เกลียดชัง, ชิงชัง | abhorrence | (n) ความรังเกียจ, ความขยะแขยง, ความเกลียดชัง, ความชิงชัง | abhorrent | (adj) น่ารังเกียจ, น่าขยะแขยง, น่าเกลียดชัง, น่าชิงชัง | abominable | (adj) น่าขยะแขยง, น่ารังเกียจ, น่าชัง, น่าเกลียด | abominate | (vt) ขยะแขยง, รังเกียจ, เกลียด | abomination | (n) ความขยะแขยง, ความรังเกียจ, ความเกลียด | averse | (adj) ไม่ถูกใจ, ไม่ชอบใจ, เกลียด, รังเกียจ, ไม่สมัครใจ | aversion | (n) ความรังเกียจ, ความไม่ชอบ, ความเกลียดชัง | contemptuous | (adj) น่ารังเกียจ, น่าดูถูก, น่าชัง | despicable | (adj) น่ารังเกียจ, น่าชัง, น่าเหยียดหยาม, น่าดูถูก | disapproval | (n) การไม่อนุญาต, ความรังเกียจ, ความไม่ชอบ | disapprove | (vt) ไม่พอใจ, ไม่ชอบ, ไม่อนุญาต, รังเกียจ | disdain | (n) การดูถูก, การรังเกียจ, การเหยียดหยาม, ความไม่ชอบ | disdain | (vt) ดูถูก, รังเกียจ, เหยียดหยาม, ไม่ชอบ | disgust | (n) ความขยะแขยง, ความรังเกียจ, ความสะอิดสะเอียน, ความชั่ว | disgust | (vt) ทำให้ขยะแขยง, รังเกียจ, ทำให้สะอิดสะเอียน, ทำให้น่าชัง | disrelish | (n) ความรังเกียจ, ความไม่ชอบ, ความเบื่อหน่าย | disrelish | (vt) ไม่ชอบ, รังเกียจ, เบื่อหน่าย | distaste | (n) ความไม่ถูกใจ, ความไม่พอใจ, ความรังเกียจ | distasteful | (adj) ไม่ถูกปาก, ไม่อร่อย, ไม่ถูกรส, ไม่ถูกใจ, ขมขื่น, น่ารังเกียจ | hate | (n) ความเกลียด, ความรังเกียจ, ความชัง, ความไม่ชอบ, โทสาคติ | hate | (vt) เกลียด, ไม่ชอบ, รังเกียจ, ชัง, เกลียดชัง | hateful | (adj) น่ารังเกียจ, น่าชัง, น่าเกลียดชัง | hater | (n) ผู้เกลียด, ผู้รังเกียจ, ผู้ชัง | hatred | (n) ความเกลียด, ความชัง, ความรังเกียจ, ความเกลียดชัง, โทสาคติ | hideous | (adj) น่าขยะแขยง, น่ารังเกียจ, น่าเกลียด, เขย่าขวัญ, น่าสยดสยอง | hideousness | (n) ความขยะแขยง, ความรังเกียจ, ความน่าเกลียด, ความสยดสยอง | idle | (adj) เกียจคร้าน, อยู่เฉยๆ, ไร้ผล, ไม่มีธุระ | idleness | (n) ความเกียจคร้าน, การอยู่ว่างๆ, การผลาญเวลา | idler | (n) คนเกียจคร้าน, คนเหลวไหล, คนเอื่อยเฉื่อย | idly | (adv) อย่างเกียจคร้าน, อย่างเหลวไหล, อย่างเปล่าๆ | inaction | (n) ความเฉื่อยชา, ความเกียจคร้าน, การอยู่เฉย | inactive | (adj) อยู่เฉย, เฉื่อยชา, เกียจคร้าน | inactivity | (n) ความอยู่เฉย, ความเฉื่อยชา, ความเกียจคร้าน | indolence | (n) ความเกียจคร้าน | indolent | (adj) อยู่เฉยๆ, เกียจคร้าน | inert | (adj) เฉื่อย, เกียจคร้าน, ซึมเซา, ชักช้า | inertia | (n) ความเชื่องช้า, ความเฉื่อย, ความเกียจคร้าน | inoffensive | (adj) ไม่น่ารังเกียจ, ไม่ทำอันตราย, ไม่รุกราน | laziness | (n) ความเกียจคร้าน, ความเฉื่อยชา | lazy | (adj) เกียจคร้าน, เฉื่อยชา, เชื่องช้า | lethargic | (adj) ซบเซา, เซื่องซึม, ง่วง, สลบไสล, เกียจคร้าน, เฉื่อยชา | lethargy | (n) ความซบเซา, ความเซื่องซึม, ความง่วง, ความเกียจคร้าน, ความเฉื่อยชา | loafer | (n) คนเสเพล, คนไม่เอาถ่าน, คนขี้เกียจ | loath | (adj) ไม่เต็มใจ, รังเกียจ, เกลียด, ลังเล | loathe | (vt) เกลียดชัง, รังเกียจ, ไม่ชอบ | loathsome | (adj) น่าเกลียด, น่ารังเกียจ, น่าขยะแขยง | mawkish | (adj) น่ารังเกียจ, น่าหมั่นไส้, น่าคลื่นไส้, ไม่มีชีวิตชีวา, จืดชืด | mind | (vt) ระวัง, เอาใจใส่, สนใจ, สังเกต, ตั้งใจฟัง, รังเกียจ | nasty | (adj) สกปรก, น่ารังเกียจ, น่าสะอิดสะเอียน, ฉุนเฉียว |
| amblyopia | (n) ตาขี้เกียจ ตาที่มีความชัดเจนในการมองเห็นน้อยกว่าปกติ เกิดจากการพัฒนาที่ไม่สมบูรณ์ของระบบการมองเห็น สามารถรักษาได้ในเด็กที่อายุไม่เกิน 6 ปี | connotation | (n) ความหมายพิเศษของคำซึ่งมีอยู่กับผู้ใช้ภาษาแต่ละคน เช่น "แมว" บางคนอาจนึกถึงความสะอาดน่ารัก ขณะที่บางคนอาจนึกถึงการกินหนูซึ่งสกปรกน่ารังเกียจ | flaneurs | (vi, vt) คนขี้เกียจ , คนไม่เอาถ่าน | noob | (n, colloq) ในวงการเกมส์ DotA ใช้เรียกบุคคลซึ่งเล่นมานานแล้วยังไม่เก่ง แล้วยังอวดดี ชอบสั่งในขณะเล่นเกมส์ ทำตัวน่ารักเกียจ หรืออาจออกจากเกมส์เมื่อเห็นว่าตัวเองเสียเปรียบ ซึ่งจะไม่เหมือนกัน newbie ซึ่งเป็นผู้หัดเล่นใหม่เท่านั้น ดังนั้น newbie จึงไม่เหมือนกันกับ noob |
| 怠ける | [なまける, namakeru] (vt) ขี้เกียจ |
| 嫌な奴 | [いやなやつ, iyanayatsu] (n) ไอ้ขี้ฟ้อง ไอ้น่ารังเกียจ (คนที่น่ารังเกียจในหมู่) |
| 怠る | [おこたる, okotaru] TH: ขี้เกียจ EN: to be off guard |
| widerlich | (adj) (กลิ่น) น่ารังเกียจ | faulenzen | (vi) |faulenzte, hat gefaulenzt| เกียจคร้าน ปล่อยเวลาให้ผ่านไปเฉยๆ เช่น Am Wochenende habe ich oft gefaulenzt z.B. im Bett gelesen und ferngesehen. วันเสาร์อาทิตย์ฉันมักอยู่ว่างๆ เฉยๆ ตัวอย่างเช่น โดยการอ่านหนังสือบนเตียงและดูทีวี | Schwein-Hund überwinden | (slang) เอาชนะความเกียจคร้านของตัวเอง เช่น Um die Prüfung zu bestehen, muss du zuerst deinen Schwein-Hund überwinden, weißt!! = ก่อนจะสอบให้ผ่านอ่ะนะ เธอต้องรู้จักเอาชนะความเกียจคร้านของตัวเองให้ได้ซะก่อน รู้มั้ย!! | scheußlich | (adj) ไม่น่าภิรมย์, น่ารังเกียจ | abstoßend | (adj) น่ารังเกียจ, ไม่น่าคบ, น่าชัง เช่น Ich finde diese Leute nur abstoßend. | faul | (adj) ขี้เกียจ, เกียจคร้าน |
| farniente | (n) |m| การอยู่ว่างๆ เฉยๆ, การทำตัวขี้เกียจ, การปล่อยให้เวลาผ่านไปเฉยๆ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |