ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เกิดผล, -เกิดผล- |
เกิดผล | (v) be effective, See also: take effect, yield result, bear fruit, Ant. ไร้ผล, ไม่เป็นผล, Example: การเสี่ยงภัยที่แท้จริงเกิดผล 2 ทาง คือ ขาดทุน และเสมอตัว, Thai Definition: บังเกิดผล, ปรากฏผล | บังเกิดผล | (v) succeed, See also: be successful, come off, take effect, work, Syn. เกิดผล, สำเร็จ, เป็นผล, Ant. ไม่สำเร็จ, ไม่เกิดผล, ไม่ได้ผล, Example: ความพยายามของผมเริ่มบังเกิดผลบ้างแล้ว |
|
| กระทำ ๑ | ทำการใด ๆ ที่เกิดผลในทางกฎหมาย แต่การงดเว้นการกระทำใด ๆ ที่กฎหมายกำหนดให้ต้องกระทำ ก็ถือว่าเป็นการกระทำด้วย เช่น บิดามารดามีหน้าที่ดูแลบุตรซึ่งยังเล็กอยู่ การที่บิดามารดาอยู่เฉยไม่หาอาหารให้ ก็อาจถือว่าเป็นการกระทำได้. | จดทะเบียน | ก. ลงบันทึกข้อความไว้กับทางราชการเพื่อให้การใดเกิดผล บังคับกันได้ ได้รับการคุ้มครอง หรือเป็นหลักฐานตามที่กฎหมายกำหนด เช่น จดทะเบียนรถยนต์ จดทะเบียนสมรส จดทะเบียนหุ้นส่วนและบริษัท จดทะเบียนเครื่องจักร. | ใช้ | เอามาทำให้เกิดผลหรือประโยชน์ เช่น ใช้เวลา ใช้เรือ ใช้รถ | ดอก ๑ | น. ส่วนหนึ่งของต้นไม้ที่ผลิออกจากต้นหรือกิ่ง มีหน้าที่ทำให้เกิดผลและเมล็ดเพื่อสืบพันธุ์ มีเกสรและเรณูเป็นเครื่องสืบพันธุ์ | ตบมือข้างเดียวไม่ดัง | ก. ทำอะไรฝ่ายเดียวไม่เกิดผล. | บรรสพ | (บัน-) ก. เกิดผล, ได้. | บังฟัน | ก. ใช้เวทมนตร์ไปทำร้ายผู้อื่นด้วยวิธีเอาดาบเป็นต้นฟันสิ่งที่สมมุติเป็นตัวผู้ที่ตนประสงค์จะทำร้าย เพื่อให้เกิดผลเป็นทำนองเดียวกันแก่ผู้นั้น. | ประสพ | (ปฺระสบ) น. การเกิดผล. | ประสิทธิภาพ | น. ความสามารถที่ทำให้เกิดผลในการงาน. | ปัจจัย | น. เหตุอันเป็นทางให้เกิดผล, หนทาง, เช่น การศึกษาเป็นปัจจัยให้เกิดความรู้ความสามารถ, องค์ประกอบ, ส่วนประกอบ, เช่น ปัจจัยในการผลิต, คำ “ปัจจัย” กับ คำ “เหตุ” มักใช้แทนกันได้ | มายาการ | น. ความเชื่อถือและการปฏิบัติที่มุ่งให้เกิดผลด้วยการใช้พลังหรืออำนาจเหนือธรรมชาติ เช่นของขลัง พิธีกรรม หรือหลักลี้ลับ บังคับให้เป็นไปตามที่ตนต้องการ. | ยาเสพติดให้โทษ | น. สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ รวมทั้งพืช ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกาย แล้วทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสำคัญ เช่นต้องเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเป็นลำดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา. | เล่นสกปรก | ก. กระทำสิ่งที่ไม่สุจริต ใช้เล่ห์อุบายให้เกิดผลร้ายแก่ผู้อื่นหรือทำลายฝ่ายตรงข้าม. | เวท, เวท- | ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตโบราณซึ่งเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ยุคแรก มี ๔ คัมภีร์ ได้แก่ ๑. ฤคเวท ว่าด้วยบทสวดสรรเสริญเทพเจ้าทั้งหลาย ตอนท้ายกล่าวถึงการสร้างโลก ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นต้นแบบความเชื่อของชาวอินเดีย ๒. ยชุรเวท ว่าด้วยรายละเอียดการประกอบยัญพิธีและลำดับมนตร์ที่นำมาจากคัมภีร์ฤคเวทเพื่อสวดในขั้นตอนต่าง ๆ ของพิธี ๓. สามเวท ว่าด้วยบทขับที่คัดเลือกมาจากประมาณหนึ่งในหกของฤคเวท และใช้เฉพาะในพิธีที่บูชาด้วยน้ำโสม ๔. อถรรพเวท หรือ อาถรรพเวท เป็นเวทมนตร์คาถาเพื่อให้เกิดผลดีแก่ฝ่ายตนหรือผลร้ายแก่ฝ่ายศัตรู ตลอดจนการบันดาลสิ่งที่เป็นมงคลหรืออัปมงคล การทำเสน่ห์ การรักษาโรค และอื่น ๆ สามคัมภีร์แรกเรียกว่า ไตรเวท หรือ ไตรเพท ต่อมารับอถรรพเวทหรืออาถรรพเวทเข้ามารวมเป็นสี่คัมภีร์เรียกว่า จตุรเวท หรือ จตุรเพท, เรียกยุคแรกของศาสนาพราหมณ์จนถึงประมาณสมัยพุทธกาลว่า ยุคพระเวท มีวรรณกรรมหลักประกอบด้วยคัมภีร์พระเวท คัมภีร์พราหมณะ คัมภีร์อารัณยกะและคัมภีร์อุปนิษัทรุ่นแรก. | เสร็จ | เกิดผลร้าย เช่น ขืนเสนอเรื่องนี้ขึ้นไป มีหวังเสร็จแน่. | เหตุ | (เหด) น. สิ่งหรือเรื่องที่ทำให้เกิดผล, เค้ามูล, เรื่อง | ออกดอกออกผล | ก. ทำให้เกิดผลประโยชน์หรือกำไรเพิ่มพูนขึ้น. |
| | Stochastic effect of radiation | ผลไม่ชัดเจน , ผลของรังสีที่คาดคะเนจากข้อมูลทางสถิติของผู้ที่ได้รับรังสี โดยโอกาสเกิดผลกระทบจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับปริมาณรังสี แต่ความรุนแรงของผลกระทบไม่ขึ้นกับปริมาณรังสี เช่น โอกาสของการเกิดมะเร็งจะเพิ่มขึ้นเมื่อได้รับปริมาณรังสีสูงขึ้น [นิวเคลียร์] | Roentgen equivalent man | หน่วยเดิมที่ใช้วัดปริมาณรังสีสมมูล, เป็นผลคูณระหว่างปริมาณรังสีดูดกลืนที่มีหน่วยเป็นแร็ด กับค่าปรับเทียบที่แตกต่างกันตามชนิดและพลังงานของรังสี (อาร์บีอี) สำหรับรังสีเอกซ์หรือแกมมา ค่าปรับเทียบมีค่าใกล้เคียงกับ 1 (ในทางปฏิบัติใช้ค่า 1) นั่นคือ เมื่อรังสีก่อไอออนชนิดใดก็ตามที่ก่อให้เกิดผลทางชีวภาพต่อเซลล์ที่มีชีวิตเทียบเท่ากับการรับรังสีเอกซ์หรือแกมมา 1 แร็ด เรียกว่าได้รับปริมาณรังสีสมมูล 1 เรม ปัจจุบันหน่วยเรมนี้ใช้หน่วยซีเวิร์ตแทน โดย 1 ซีเวิร์ตเท่ากับ 100 เรม (ดู equivalent dose, H$_T$ และ sievert, Sv ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Radioprotector | สารลดผลของรังสี, สารหรือยาลดประสิทธิภาพของรังสีในการทำลายเซลล์ เช่น สารประกอบที่มีกลุ่มซัลฟ์ไฮดริล (sulfhydryl, -SH) ทั้งนี้เซลล์จะต้องมีสารกลุ่มนี้อยู่ในขณะที่ได้รับรังสีจึงจะเกิดผลในการป้องกันการทำลายเซลล์ ถึงแม้เซลล์ได้รับสารนี้ในทันทีหลังการได้รับรังสี ก็จะไม่มีผลในการป้องกันใดๆ [นิวเคลียร์] | Oxygen enhancement ratio | อัตราส่วนการเสริมผลของออกซิเจน, โออีอาร์, อัตราส่วนเปรียบเทียบปริมาณรังสีที่มีผลต่อเซลล์หรือสิ่งมีชีวิตเมื่อไม่มีและมีออกซิเจน ที่ก่อให้เกิดผลทางชีววิทยาเหมือนกัน ภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน <br> OER = ปริมาณรังสีเมื่อไม่มีออกซิเจน / ปริมาณรังสีเมื่อมีออกซิเจน </br> <br>(ดู radiosensitizer ประกอบ)</br>, Example: [นิวเคลียร์] | Relative Biological Effect | ผลทางชีววิทยาสัมพัทธ์, การเปรียบเทียบปริมาณรังสีของรังสีชนิดหนึ่งกับรังสีเอกซ์ 250 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ หรือรังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60 ที่ก่อให้เกิดผลทางชีววิทยาเหมือนกัน ภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน $ RBE = \frac{ ปริมาณรังสีจากรังสีเอกซ์ 250 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ หรือรังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 }{ ปริมาณรังสีจากรังสีชนิดอื่น } $ [นิวเคลียร์] | Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Inju | Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Injurious or to Have Indiscriminate Effects = อนุสัญญาห้ามอาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้เกิดการบาด เจ็บร้ายแรงเกินความจำเป็นหรือก่อให้เกิดลโดยไม่จำกัดเป้าหมาย มีสาระสำคัญเกี่ยวกับการห้ามหรือหารจำกัดการใช้อาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้ เกิดผลกระทบร้ายแรงด้านมนุษยธรรม โดยสาระสำคัญของการ คอบคุมอาวุธตามแบบแต่ละชนิดจะถูกกำหนดไว้ในพิธีสารแต่ละฉบับต่างหาก ซึ่งในชั้นนี้ มีพิธีสาร 5 ฉบับ และรัฐต่างๆ สามารถเลือกยอมรับพิธีสารต่อท้ายอนุสัญญาฯ ฉบับใดก็ได้อย่างน้อยจำนวน 2 ฉบับ [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Intellectual Property | ทรัพย์สินทางปัญญา " หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ซึ่งผู้เป็นเจ้าของสามารถถือครอง และ/หรือเก็บเกี่ยวสิทธิประโยชน์ได้ นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ - Patent สิทธิบัตร หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างใหม่ ยังไม่เคยมีการเปิดเผยมาก่อน และเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น และการประดิษฐ์นั้นสามารถประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรมได้ - Copy Rights ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรี งานภาพยนต์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ - Neighboring Rights สิทธิข้างเคียง เป็นความคุ้มครองที่แตกแขนงมาจากลิขสิทธิ์ เนื่องจากงานที่สร้างขึ้นไม่สามารถถูกจัดเข้าเป็นงานลิขสิทธิ์ได้โดยตรง เพราะผลงานที่เกิดขึ้นนั้นได้มีบุคคลอื่นเข้ามาเป็นสื่อกลาง และก่อให้เกิดผลงานโดยใช้ เครื่องมือในทางวิชาชีพสร้างงานขึ้นมา ดังนั้น บุคคลผู้ที่เข้ามาเป็น สื่อกลางเพื่อผลิตงานให้แก่ผู้สร้างงานจึงควรมีสิทธิในผลงานนั้นเหมือนกับ เจ้าของงานลิขสิทธิ์ด้วย - Trade Marks เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือตราที่ใช้กับสินค้าเพื่อให้ประชาชนทั่วไปแยกแยะได้ว่าสินค้านั้นเป็นของ ผู้ใด ใครเป็นเจ้าของ และมีความแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งโดยทั่วไปจะเรียกว่า ยี่ห้อ สำหรับเครื่องหมายการค้านั้น จะเป็นภาพ เป็นคำ หรือเป็นตัวอักษรก็ได้ Service Marks เครื่องหมายบริการ เป็นเรื่องที่เกิดใหม่เนื่องจากสินค้าบริการได้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น การให้บริการด้านการเงิน การโทรคมนาคม จึงทำให้ผู้ให้บริการต้องการที่จะใช้เครื่องหมาย เพื่อชี้ให้เห็นถึงการบริการของตน เช่นเดียวกับการใช้เครื่องหมายการค้า " [การทูต] | New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] | Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] | no regret option | ทางเลือกในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบทางลบ, Example: เป็นการกำหนดทางเลือกในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม [เศรษฐศาสตร์] | Crystal Growth | การเติบโตของผลึก, การเกิดผลึก, การเจริญของผลึก [การแพทย์] | Crystallization | การตกผลึก, การเกิดผลึก, น้ำเป็นผลึก [การแพทย์] | Digitalis Effect | เกิดผลเต็มที่ [การแพทย์] | Does More Good Than Harm | ก่อให้เกิดผลดีมากกว่าผลเสีย [การแพทย์] | crystallization | การตกผลึก, การเกิดผลึก, กระบวนการที่ทำให้สารเป็นผลึก เป็นวิธีหนึ่งที่ใช้แยกสารและทำสารให้บริสุทธิ์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | pollution | มลพิษ, สภาพหรือสารที่ก่อให้เกิดผลกระทบที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งแวดล้อม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | cleaner technology | เทคโนโลยีสะอาด, การพัฒนา เปลี่ยนแปลง ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ วิธีการ กระบวนการ หรือการบริการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดผลกระทบหรือความเสี่ยงต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด โดยใช้เครื่องมือ เช่น 3R คือ ใช้น้อย(reduce) ใช้ซ้ำ(reuse) และแปรรูปแล้วนำกลับมาใช้ใหม่(recycle) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Growth, Slow | การเกิดผลึกช้าๆ [การแพทย์] | Ideas, Morbid | ความคิดที่ก่อให้เกิดผลเสีย [การแพทย์] |
| บังเกิดผล | [bangkoēt phon] (v, exp) EN: bear fruit ; have an effect ; be successful FR: porter ses fruits | บังเกิดผล | [bangkoēt phon] (v, exp) EN: effective |
| placebo | (n) ยาที่บังเกิดผลทางจิตใจแต่ไม่มีฤทธิ์รักษาโรค |
| all roads lead to Rome | (idm) มีหลายวิธีที่จะทำให้เกิดผลอย่างเดียวกัน, See also: ทำให้เกิดผลอย่างเดียวไม่ว่าจะด้วยวิธีใดก็ตาม | bring something into force | (idm) ทำให้มีผลบังคับใช้ (กฎหมาย), See also: ทำให้เกิดผล | causation | (n) การเป็นสาเหตุให้เกิดผลขึ้น, Syn. causing, cause | effect | (vt) ก่อให้เกิด, See also: ทำให้เกิด, บังเกิดผล, ออกฤทธิ์, Syn. bring about, cause | effective | (adj) ได้ผลดี, See also: มีประสิทธิผล, ชะงัด, เกิดผล, มีผล, Syn. efficient, productive, sufficient | factor | (n) ปัจจัย, See also: ตัวประกอบ, ปัจจัยที่ทำให้เกิดผลหรือมีอิทธิพลต่อสิ่งต่างๆ, Syn. constituent, determinant, portion | fecundate | (vt) ทำให้เกิดผล, See also: ทำให้มีลูกมาก, ทำให้ดินดี, Syn. fertilize, reproduce | fertilization | (n) การผสมพันธุ์, See also: การทำให้เกิดผล, Syn. insemination, impregnation, implantation | fruition | (n) การบรรลุผล, See also: การบังเกิดผล, Syn. accomplishment, completion, filfillment | interact with | (phrv) มีปฏิกิริยากับ, See also: มีผลกับ, เกิดผลกับ | lie fallow | (phrv) มึน, See also: พัก, ตื้อ, ไม่เกิดผลผลิต, ไม่สร้างสรรค์ต่อ | make play with | (idm) เอ่ยถึงบางสิ่งเพื่อให้เกิดผลบางอย่าง | operant | (adj) ที่มีผล, See also: ที่เกิดผล | operate | (vi) ก่อให้เกิดผล | operative | (adj) พร้อมใช้งาน, See also: ที่เกิดผล, Syn. effective, in use, Ant. useless, inactive | productive | (adj) ที่ก่อให้เกิดผล | productively | (adv) อย่างก่อให้เกิดผล, See also: อย่างมีประสิทธิภาพ | result | (vi) เป็นผล, See also: บังเกิดผล, ให้ผล, Syn. appear, ensue, happen | stillborn | (adj) ไม่ได้ผล, See also: ซึ่งไม่ประสบความสำเร็จ, ซึ่งไม่เกิดผล, Syn. abortive, unseccessful, Ant. successful | succeed | (vi) สำเร็จ, See also: ประสบความสำเร็จ, บังเกิดผล, สัมฤทธิ์ผล, Syn. achieve, accomplish, prosper, Ant. fail | ation | (suf) การกระทำ, See also: ภาวะ, เงื่อนไข, ผลิตภัณฑ์, ผล, สิ่งที่ทำให่เกิดผล | telling | (adj) ที่เกิดผล, See also: มีผล, ได้ผล, Syn. effective, important, crucial | transient | (adj) เกิดผลกระทบนอกจิตใจ | unleash | (vt) ก่อให้เกิดผลรุนแรง | well-intentioned | (adj) ซึ่งเจตนาดี (แต่มักจะก่อให้เกิดผลที่ไม่ค่อยดีตามมา), Syn. well-meaning |
| act | (แอคทฺ) n., vt., vi. การกระทำ, พฤติการณ์, ฉาก, องก์ (ละคร) , การเล่นละคร, ฤทธิ์, อำนาจ, การดำเนินคดี, การปฏิบัติหน้าที่, การบังเกิดผล, การแกล้งทำ, เหตุการณ์ในละครหรือหนังสือ, เครื่องจักร, การเคลื่อนไหว, การรบ, Syn. perform, do, pl abbr. activated clotting enzyme | alert box | ช่องข้อความเตือนหมายถึงช่องข้อความที่คอมพิวเตอร์จะแสดงให้เห็นบนจอภาพ มีข้อความเตือนในเรื่องการใช้คำสั่งบางประการที่อาจทำให้เกิดผลเสีย เช่น เครื่องพิมพ์ไม่มีกระดาษ ข้อความบางตอนอาจศูนย์หาย ฯ เป็นต้น | authenticate | (ออเธน'ทิเคท) vt. ทำให้น่าเชื่อถือ, รับรองเป็นของแท้, ทำให้เกิดผล. -authentication n. -authenticator n., Syn. certify, validate, Ant. falsify | backfire | (แบค'ไฟเออะ) { backfired, backfiring, backfires } vi., n. (การ) ระเบิดถัง (เครื่องยนต์ที่มีเชื้อเพลิงเผาไหม้ไม่สมบูรณ์) , เผาบริเวณหนึ่งเพื่อสกัดการลุกลามของไฟที่กำลังมา, เกิดผลที่ไม่ต้องการให้เกิด, Syn. boomerang, Ant. succeed | blind | (ไบลนดฺ) adj., adv., vi., vt., n. (ทำให้, สิ่งที่ทำให้) ตาบอด, ไม่สามารถเข้าใจ, ไร้เหตุผล, ไร้สติ, เมาเหล้า, มืด, ไม่บังเกิดผล, ซ่อนเร้น, ลึกลับ, ดูไม่ออก, เข้าใจยาก, อุดตัน, ไม่มีทางออก, ตัวล่อ, นกต่อ, See also: blindness n. ดูblind, Syn. s | causation | (คอเซ'เชิน) n. การทำให้เกิดขึ้น, ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุผล, สิ่งทำให้เกิดผล, สิ่งทำให้เกิดผล, สาเหตุ | causative | (คอส'ซะทิฟว) adj. เป็นเหตุ, ทำให้เกิดผล, กลายเป็นสาเหตุ, ก่อให้เกิดขึ้น | crystalline | (คริส'ทะลิน, -ทะไลนฺ') adj. เกี่ยวกับผลึก, โปร่งแสง, ใสแจ๋ว, เกิดจากการตกผลึก, ประกอบด้วยผลึก, เกี่ยวกับการเกิดผลึก, See also: crystalility n. ดูcrystalline | cure | (คิว'เออะ) { cured, curing, cures } vt. รักษาให้หาย, แก้ให้หาย vi. บังเกิดผลในการบำบัดรักษา, ผ่านกรรมวิธีไม่ให้เน่า (ย่าง, บ่ม, อบ, รม, ผึ่ง) n. การรักษาให้หาย, Syn. treatment | data processing | n. กระบวนการหรือเทคนิคการป้อนข้อมูล ใช้ตัวย่อว่า DP (อ่านว่า ดีพี) หมายถึง การนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่น จัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการ หรือ ผลที่จะนำไปใช้ต่อไป โดยปกติจะใช้คำเต็ม ๆ ว่า electronic data processing หรือ EDP ซึ่งหมายเฉพาะถึง การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น | dp | (ดีพี) ย่อมาจาก data processing (แปลว่า การประมวลผลข้อมูล) หมายถึงการนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่นจัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามต้องการหรือผลที่จะนำไปใช้ต่อไปได้ โดยปกติจะหมายถึงการประมวลผลโดยใช้คอมพิวเตอร์เท่านั้น | effect | (อิเฟคทฺ') { effected, effecting, effects } n. ผล, อิทธิพล, ปรากฎการณ์ที่ลวงตา, ความหมาย, ทรัพย์สิน vt. ทำให้เกิดผล, ทำให้เกิด., See also: effectible adj. ดูeffect -Phr. of no effect ไร้ผล -Phr. take effect ทำให้เกิดผล -S... | effete | (อีฟิท') adj. อ่อนเปลี้ยเพลียแรง, ขาดกำลังวังชา, เป็นหมัน, ไร้สมรรถภาพ, ล้าสมัย, ไม่สามารถทำให้เกิดผล. | efficacy | (เอฟ'ฟะคะซี) n. ประสิทธิภาพ, ความสามารถที่ทำให้เกิดผล, Syn. effectiveness | fecund | (ฟี'เคินดฺ) adj. ทำให้เกิดผล, มีผลหรือลูกดก, อุดมสมบูรณ์, ดินดี, สร้างสรรค์ | fertilise | (เฟอ'ทะไลซ) vt. ผสมพันธุ์, ทำให้มีลูก, ทำให้เกิดผล, ทำให้ที่ดินอุดมสมบูรณ์, See also: fertilizable, fertilisable adj. | fertilization | (เฟอทะไลเซ'เชิน) n. การผสมพันธุ์, การทำให้มีลูก, การทำให้เกิดผล, การทำให้ดินอุดมสมบูรณ์, ความอุดมสมบูรณ์., Syn. fertilisation, fecundation | fertilize | (เฟอ'ทะไลซ) vt. ผสมพันธุ์, ทำให้มีลูก, ทำให้เกิดผล, ทำให้ที่ดินอุดมสมบูรณ์, See also: fertilizable, fertilisable adj. | implementation | การทำให้เกิดผลหมายถึง การลงมือทำเพื่อให้โครงการหรืองานอย่างใดอย่างหนึ่งประสบผลสำเร็จ อาจใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือบางชนิดช่วยก็ได้ | inefficacy | (อินเอฟ'ฟะคะซี) n. การไร้อำนาจหรือความสามารถที่จะทำให้เกิดผลเป็นที่พอใจ, การไม่ได้ผล | mindblowing | (ไมด'โบลอิง) adj. ประหลาดใจ, ท่วมท้น, ทำให้เกิดผลเหมือนยาหลอนประสาท. | misfire | (มิสไฟ'เออะ) vi., n. (การ) ไม่ติดไฟ, (เครื่อง) ไม่ติด, ไม่เกิดผล, ไม่ระเบิด, Syn. miscarry, fail | parthenocarpy | n. การเกิดผลโดยไม่มีการปฏิสนธิ. | productive | (โพรดัค'ทิฟว) adj. มีอำนาจผลิต, ให้ผลดีหรือมาก, ทำให้เกิดผล, อุดมสมบูรณ์., See also: productivity n., Syn. creative | ravage | (แรฟ'วิจฺ) vt., vi. ทำให้เสียหาย, ทำให้เกิดผลร้าย, ทำลาย, ปล้นสะดม., See also: ravagement n. ravager n., Syn. havoc, damage | resultant | (รีซัล'เทินทฺ) adj. ซึ่งเป็นผล, ซึ่งบังเกิดผล, เป็นผลมาจาก, รวมกัน, เป็นผลลัพธ์ n. (คณิตศาสตร์, ฟิสิกส์) vector (ดู) ที่แสดงผลลัพธ์, ผลลัพธ์ | tell | (เทล) vt., vi. บอก, แจ้ง, เล่า, พูด, บรรยาย, เปิดเผย, จำแนกความแตกต่าง, แสดงผล. นับคะแนน, ทำนาย, ทำให้เกิดผลชัดเจนหรือรุนแรง, tell off กล่าวหาอย่างรุนแรง ประณาม ด่า, -Phr. (tell on พูดมาก พูดไม่เป็นสาระ), See also: tellable adj. -S... | virtuous | (เวอ'ชุเอิส) adj. เกี่ยวกับหลักศีลธรรมและจริยธรรม, เที่ยงตรง, ถูกต้อง, บริสุทธิ์, สามารถทำให้เกิดผลได้., See also: virtuously adv. |
| bearing | (n) การหาม, การทำให้เกิดผล, กิริยาท่าทาง | effect | (vt) ทำให้เกิดผล, ยังผล, แสดงผล | effectual | (adj) อาจเกิดผลได้, ได้ผล, มีผลบังคับใช้, พอเพียง | fail | (vi) ล้มเหลว, ไม่สำเร็จ, ไม่เกิดผล, ไม่สามารถ, สอบตก | fertilization | (n) การทำให้อุดม, การทำให้เกิดผล, การทำให้มีผล, การผสมพันธุ์ | fertilize | (vt) เพาะพันธุ์, ทำให้มีผล, ทำให้เกิดผล, ทำให้อุดม | fruit | (vi) มีผล, มีลูก, เกิดผล, บรรลุผล, ให้ผล, ติดผล | fruition | (n) การได้รับผล, การบรรลุผล, การเกิดผล, การออกผล, การติดผล | issue | (vi) ไหลออกมา, ออกมา, เกิดผลขึ้น, ปล่อยออก | productivity | (n) ความงอกงาม, การให้กำเนิด, การทำให้เกิดผล | result | (vi) บังเกิดผล, เป็นผล |
| durch | (präp) ด้วย (เป็นบุพบทที่ใช้บ่งว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งส่งให้เกิดผล) เช่น Durch diese Behandlung ist er gerettet. เขารอดชีวิตมาได้ด้วยวิธีการรักษานี้ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |