ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*อินโดนีเซีย*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: อินโดนีเซีย, -อินโดนีเซีย-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ปลากระดี่[Pla-Kra-Di] (n) Gourami (อินโดนีเซีย: Sepat, อีสาน: กระเดิด) เป็นสกุลปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในสกุล Trichogaster ในวงศ์ย่อย Luciocephalinae ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae มีรูปร่างโดยทั่วไป คือ แบนข้างคล้ายใบไม้ หัวมีขนาดเล็ก ปลายปากค่อนข้างแหลม ปากมีขนาดเล็ก มีครีบอกคู่แรกเป็นเส้นยาวใหญ่เห็นได้ชัด ซึ่งเรียกว่า "ตะเกียบ" เป็นอวัยวะช่วยในการสัมผัส มีก้านครีบแขนง 2-4 ก้าน ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 3-9 ก้าน และก้านครีบแขนง 7-11 ครีบ ครีบก้นมีก้านครีบเดี่ยว 9-14 ก้าน และมีก้านครีบแขนง 25-40 ก้าน ครีบท้องและครีบก้นต่อยาวเป็นแถวเดียวกัน โดยที่ไม่มีเส้นข้างลำตัว ปลายครีบหางไม่เว้ามากนัก[ 1 ] เป็นปลาที่มีการแพร่กระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยพบได้แทบทุกประเภทของแหล่งน้ำจืด มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 15 เซนติเมตร เมื่อโตเต็มที่ พบทั้งสิ้น 4 ชนิด ได้แก่ ปลากระดี่มุก (Trichogaster leerii) ปลากระดี่นาง (Trichogaster microlepis) ปลาสลิด (Trichogaster pectoralis) ปลากระดี่หม้อ (Trichogaster trichopterus)
Image:
ปูจั๊กจั่น(n) Red Frog Crab, Spanner Crab หรือ Kona Crab; ชื่อวิทยาศาสตร์: Ranina vanima) เป็นปูในวงศ์ รานินีดี้ (Family Raninidae) ถิ่นที่อยู่ตั้งแต่หมู่เกาะฮาวาย ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฟิลิปปินส์ ไทย จนไปถึงหมู่ เกาะอินโดนีเซีย และ แอฟริกาตะวันออก

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
กระจอกชวาน. ชื่อนกขนาดเล็กชนิด Lonchura oryzivora (Linn.) วงศ์ย่อย Estrildinae ในวงศ์ Passeridae ปากหนารูปกรวย หัวสีดำ แก้มสีขาว ตัวสีเทาอมฟ้า ท้องสีส้ม หางเว้าตื้น มีถิ่นกำเนิดในเกาะชวาและเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เคยนำมาเลี้ยงใช้เสี่ยงทาย จึงเรียกว่า นกหมอดู.
ข่า ๑น. คนชาวเขาจำพวกหนึ่ง แบ่งออกเป็น ๒ พวก พวกหนึ่งพูดภาษาในตระกูลมอญ−เขมร เช่น ข่าอัตตะปือ ข่าตองเหลือง และอีกพวกหนึ่งพูดภาษาในตระกูลอินโดนีเซียน ได้แก่ ข่าระแด และ ข่าจะราย.
ชวา ๑(ชะ-) น. ชื่อเกาะสำคัญที่สุดและเป็นที่ตั้งเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย, (โบ) ใช้ว่า ยะวา ก็มี, เรียกประชาชนที่พูดภาษาชวา ว่า ชาวชวา
ตะวันออกไกลน. กลุ่มประเทศในภูมิภาคตะวันออกของทวีปเอเชีย ซึ่งอยู่ห่างไกลจากทวีปยุโรปมาก คือ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี มองโกเลีย และไซบีเรีย บางทีก็รวมถึงประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และอินโดนีเซียด้วย.
โนรี ๑น. ชื่อนกปากขอขนาดเล็กหลายชนิด ในวงศ์ Psittacidae ตัวมีสีสันสวยงาม เช่น สีแดงสดหรือเลือดหมู นํ้าเงิน ม่วง เขียว ปีกสีเขียวหรือเหลือง หางสั้น มีถิ่นกำเนิดอยู่ในหมู่เกาะนิวกินี อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย มีหลายชนิด เช่น ชนิด Lorius chlorocercus Gould, L. lorry (Linn.), L. garrulus (Linn).
บ้าบ๋าน. เรียกชายที่เป็นลูกครึ่งจีนกับมลายูที่เกิดในมลายูและอินโดนีเซีย ว่า บ้าบ๋า, คู่กับ ย่าหยา.
บาหลี ๒(-หฺลี) น. ชื่อเกาะหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย อยู่ทางตะวันออกของเกาะชวา, เรียกประชาชนชาวเกาะนั้น ว่า ชาวบาหลี.
มักกะสันน. ชื่อชนชาติชาวอินโดนีเซียในมากัสซาร์ตอนใต้เกาะเซเลบีส, โดยปริยายหมายความว่า มีรูปร่างใหญ่โต ดุร้าย น่าเกลียดน่ากลัว เช่น รูปร่างอย่างกับยักษ์มักกะสัน.
ย่าหยา(-หฺยา) น. เรียกหญิงลูกครึ่งจีนกับมลายูที่เกิดในมลายูและอินโดนีเซียว่า ย่าหยา, คู่กับ บ้าบ๋า.
อะแจเรียกสิ่งที่มาจากเมืองนี้ เช่น ม้าอะแจ นากอะแจ. [ ปัจจุบันคือเมืองอะเจะห์ (Ajeh) ในประเทศอินโดนีเซีย ].
อัดแจน. เมืองอะแจ, อะจีน ก็เรียก. [ ปัจจุบันคือ เมืองอะเจะห์ (Ajeh) ในประเทศอินโดนีเซีย ].

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
OPEC Basket Priceราคาเฉลี่ยน้ำมันดิบจาก 7 แหล่ง, ราคาเฉลี่ยน้ำมันดิบจาก 7 แหล่ง ได้แก่ 1) Saharan Blend ของอัลจีเรีย 2) Minas ของอินโดนีเซีย 3) Bonny Light ของไนจีเรีย 4) Arabian Light ของซาอุดิอาระเบีย 5) Dubai ของสหรัฐอาหรับเอมิเรส 6) Venezuela's Tia Juana Light ของเวเนซูเอลา 7) Isthmys ของเม็กซิโก เป็นตัวกำหนดราคา, Example: 1. Algeria's Saharah Blend 2. Indonesia's Minas, Nigerai's 3. Bonny Light 4. Saudi Arabia's Arab Light 5.Dubai's Fateh 6. Venezuela's Tia Juana Light 7. Mexico's Isthmus (a non-OPEC crude oil) [ปิโตรเลี่ยม]
Aceh (Indonesia)อะเจห์ (อินโดนีเซีย) [TU Subject Heading]
Art, Indonesianศิลปะอินโดนีเซีย [TU Subject Heading]
Arts, Indonesianศิลปกรรมอินโดนีเซีย [TU Subject Heading]
Bali Island (Indonesia)เกาะบาหลี (อินโดนีเซีย) [TU Subject Heading]
Indonesiaอินโดนีเซีย [TU Subject Heading]
Indonesian languageภาษาอินโดนีเซีย [TU Subject Heading]
Indonesian studentsนักศึกษาอินโดนีเซีย [TU Subject Heading]
Komodo Island (Indonesia)เกาะโคโมโด (อินโดนีเซีย) [TU Subject Heading]
Sculpture, Indonesianประติมากรรมอินโดนีเซีย [TU Subject Heading]
Sumatra (Indonesia)สุมาตรา (อินโดนีเซีย) [TU Subject Heading]
Timor Timur (Indonesia)ติมอร์ตะวันออก (อินโดนีเซีย) [TU Subject Heading]
Asian-African Sub-Regional Organizations Conferenceการประชุมองค์การอนุภูมิภาคเอเชีย-แอฟริกา มีการประชุมครั้งแรกที่เมืองบันดุง ประเทศอินโดนีเซียเมื่อปี 2546 [การทูต]
Accelerating Economic Recovery in Asiaโครงการเร่งรัดการฟื้นฟูเศรษฐกิจในเอเชีย (สำหรับประเทศไทย) เป็นโครงการที่สหรัฐอเมริกาได้ประกาศในระหว่างการประชุมผู้นำเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 6 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2541 ที่จะให้ความช่วยเหลือประเทศในเอเชีย 3 ประเทศที่ประสบภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ คือ สาธารณรัฐเกาหลี อินโดนีเซีย และไทย [การทูต]
Asia Pacific Economic Cooperationความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก " เป็นกระบวนการความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2532 มีเป้าหมายในการเปิดการค้าเสรีและการลงทุน ภายในปี พ.ศ. 2553 สำหรับสมาชิกพัฒนาแล้ว และปี พ.ศ. 2563 สำหรับสมาชิกกำลังพัฒนา ขณะนี้มีสมาชิกประกอบด้วย ออสเตรเลีย บรูไน ดารุสซาลาม แคนาดา ชิลี จีน ฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี มาเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด์ ปาปัวนิวกีนี เปรู ฟิลิปปินส์ รัสเซีย สิงคโปร์ จีนไทเป ไทย สหรัฐอเมริกา และเวียดนาม โดยประเทศไทยเป็นสมาชิกก่อตั้ง " [การทูต]
Asia Europe Meetingการประชุมเอเชีย-ยุโรป " เป็นการประชุมระดับผู้นำจากเอเชีย 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ บรูไน ดารุสซาลาม จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น ผู้นำจากยุโรป 15 ประเทศ คือ สหราช- อาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย และประธานคณะกรรมาธิการยุโรป การประชุมครั้งแรกมีขึ้น ที่กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2539 " [การทูต]
Bangkok Processเป็นการประชุมอย่างไม่เป็นทางการในระดับรัฐมนตรี เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นระหว่างกันอย่างตรงไปตรงมาและสร้างสรรค์เกี่ยวกับแนวทางในการสนับ สนุนกระบวนการสร้างความปรองดองภายในชาติและการพัฒนาประชาธิปไตยในพม่าตาม ?Roadmap towards Democracy in Myanmar? เดิมเรียกว่า Forum on International Support for National Reconciliation in Myanmar ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม Bangkok Process ครั้งแรกเมื่อ 15 ธันวาคม 2546 ที่กระทรวงการต่างประเทศ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศหรือผู้แทนพิเศษของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศจาก 12 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย ออสเตรีย จีน ฝรั่งเศส เยอรมนี อินเดีย อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น พม่า สิงคโปร์ และไทย รวมทั้งนาย Razali Ismail เป็นผู้แทนพิเศษของเลขาธิการสหประชาชาติว่าด้วยพม่าเข้าร่วม [การทูต]
The Conference on Interaction and Confidence-Building Measures in Asiaการประชุมว่าด้วยการแสวงหามาตรการเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (ด้านความมั่นคง) ในเอเชีย " CICA ได้รับการจัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยความริเริ่มของคาซัคสถาน และมีสมาชิกเข้าร่วม 16 ประเทศ ได้แก่ คาซัคสถาน อินเดีย ปากีสถาน ปาเลสไตน์ รัสเซีย ตุรกี จีน อิสราเอล อิหร่าน อัฟกานิสถาน อียิปต์ อาเซอร์ไบจาน มองโกเลีย คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน และประเทศผู้สังเกตการณ์อีก 10 ประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย ญี่ปุ่น เกาหลี ยูเครน เวียดนาม อินโดนีเซีย ไทย ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และเลบานอน " [การทูต]
Conselho Nacional da Resistencia Timorense (National Council of Timorese Resistance)" เป็นองค์กรที่ต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชของชาวติมอร์ตะวันออกจาก อินโดนีเซีย โดยมีนายซานานา กุสเมา (Xanana Gusmao) เป็นผู้นำคนสำคัญ " [การทูต]
D-8กลุ่มความร่วมมือของประเทศกำลังพัฒนาที่เป็นมุสลิมและเป็นสมาชิก OIC " ซึ่งมีประชากรมากที่สุด ประกอบด้วยสมาชิก 8 ประเทศ ได้แก่ บังกลาเทศ ปากีสถาน อินโดนีเซีย มาเลเซีย อียิปต์ อิหร่าน ตุรกี และไนจีเรีย จัดการประชุมสุดยอดครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2540 ที่นครอิสตันบูล ประเทศตุรกี " [การทูต]
Enhanced Interactionการส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ " การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์เป็นคำที่เสนอโดย นายอาลี อาลาตัส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอินโดนีเซีย ในที่ประชุม AMM ครั้งที่ 31 ณ กรุงมะนิลา ซึ่งในด้านสารัตถะมีความหมายเช่นเดียวกับนโยบาย Flexible Engagement แต่เป็นคำที่อาเซียนส่วนใหญ่เห็นว่า มีความ เหมาะสมที่จะใช้สื่อเจตนารมณ์ของอาเซียนในการยกระดับความร่วมมือที่เพิ่มพูน และเปิดกว้างระหว่างกัน " [การทูต]
Gerakan Aceh Merdeka (Free Aceh Movement)ขบวนการอาเจห์เสรี " เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชจากอินโดนีเซีย ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2519 มี นาย Hasan Tiro เป็นหัวหน้า " [การทูต]
Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangleโครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย " จัดตั้งในสมัยรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน เมื่อกลางปี พ.ศ. 2535 โดยมีพื้นที่โครงการครอบคลุมพื้นที่ต่าง ๆ คือ ไทย ได้แก่ สงขลา ยะลา ปัตตานี สตูล และนราธิวาส มาเลเซีย ได้แก่ 4 รัฐทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของมาเลเซีย (เคดาห์ เปอร์ลิส เปรัก และปีนัง) อินโดนีเซีย ได้แก่ 4 จังหวัดบนเกาะสุมาตรา (เขตปกครองพิเศษอาเจ่ห์) สุมาตราเหนือ สุมาตราตะวันตก และจังหวัดเรียว (Riau) " [การทูต]
Pacific Islands ForumPIF เป็นองค์กรระดับภูมิภาคของประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 เพื่อขยายความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจ การพัฒนาที่ยั่งยืน ธรรมาภิบาลและความมั่นคง ปัจจุบันมีสมาชิก 16 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ นาอูรู หมู่เกาะคุก ตองกา ฟิจิ ซามัว หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะมาร์แชลล์ ปาปัวนิวกีนี วานูอาตู ปาเลา ไมโครนีเซีย คิริบาส นีอูเอ และตูวาลู มีประเทศคู่เจรจา (Dialogue Partner) จำนวน 12 ประเทศและ 1 กลุ่มเศรษฐกิจ ประกอบด้วย แคนาดา จีน ฝรั่งเศส อินเดีย อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ไทย และสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีประเทศผู้สังเกตการณ์ (Observer Status) อีก 3 ประเทศ คือ ติมอร์เลสเต นิวแคลิโดเนีย และเฟรนซ์โปลินีเซีย สำนักเลขาธิการ PIF ตั้งอยู่ที่กรุงซูวา ประเทศฟิจิ [การทูต]
reformasiการปฏิรูปประเทศในด้านต่างๆ (ศัพท์ภาษาอินโดนีเซีย-มาเลเซีย) [การทูต]
The ASEAN Declaration (Bangkok Declaration)" หมายถึง เอกสารก่อตั้งสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน (Association of South-East Asian Nations : ASEAN) ซึ่งได้มีการลงนามที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดย ผู้แทนระดับรัฐมนตรีของ 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์และไทย " [การทูต]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ชาวอินโดนีเซีย[Chāo Indōnīsīa] (n, prop) EN: Indonesian  FR: Indonésien [ m ]
อินโดนีเซีย[Indōnīsīa] (n, prop) EN: Indonesia  FR: Indonésie [ f ]
ประเทศอินโดนีเซีย[Prathēt Indōnīsīa] (n, prop) EN: Indonesia  FR: Indonésie [ f ]
สายการบินการูด้าอินโดนีเซีย[Sāikānbin Kārūdā indōnīsīa] (tm) EN: Garuda Indonesia  FR: Garuda Indonesia

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
Bahasa Indonesia(n) ภาษาอินโดนีเซีย
Indonesia(n) ประเทศอินโดนีเซีย
Indonesia(n) อินโดนีเซีย, See also: ชวา
Indonesian(adj) เกี่ยวกับอินโดนีเซีย, See also: เกี่ยวกับชวา
Indonesian(n) ชาวอินโดนีเซีย, See also: ชาวชวา
Indonesian(n) ภาษาอินโดนีเซีย, See also: ภาษาชวา, ภาษาบาฮาซาอินโดนีเซีย, Syn. Bahasa Indonesia
Jakarta(n) กรุงจาการ์ตา, See also: เมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย, Syn. Djakarta, Jacarta
Jakarta(n) จาการ์ตา, See also: เมืองหลวงของอินโดนีเซีย, Syn. Djakarta, Jacarta
parang(n) อาวุธมีดสั้นหนักของชาวมาเลเซียและอินโดนีเซีย
rupiah(n) หน่วยเงินของประเทศอินโดนีเซีย
rupiah(n) หน่วยเงินตราของประเทศอินโดนีเซีย
sen(n) หน่วยเงินตราของประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, See also: เซน เช่น ประเทศอินโดนีเซีย 1 รูเปียเท่ากับ 100 เซ็น, ประเทศญี่ปุ่น 1 เยนเท่ากับ 100 เซน
Tagalog(n) ภาษาอินโดนีเซียที่ใช้กันในฟิลิปปินส์

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
bali(บา'ลี) n. เกาะบาหลีในอินโดนีเซีย
djakarta(จะคาร์'ทะ) n. ชื่อเมืองหลวงของอินโดนีเซีย. -S.. Jacarta, Jakarta, Batavia
indonesia(อินโดนี'เซีย, -ชะ, เชีย) n. ประเทศอินโดนีเซีย
indonesian(อินดะนี'เซียน, -ชะ, เชียน) n. ชาวอินโดนีเซีย, ภาษาอินโดนีเซีย เกี่ยวกับอินโดนีเซีย
java(จาวา, ชวา) 1. ชื่อเกาะชวาของประเทศอินโดนีเซีย 2. เป็นชื่อภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม บริษัท ซัน ไมโครซิสเต็ม เป็นผู้คิดขึ้น เพื่อใช้เกี่ยวกับการส่งออกผลลัพธ์จากการคำนวน ให้กันและกันเพราะอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน มีลักษณะคล้ายกับ ภาษา C++
rupiah(รูพี'อะ) n. ธนบัตรของอินโดนีเซียมีค่าเท่ากับ100sen pl. rupiah, rupiaahs
southeast asian. เอเซียอาคเนย์, ประเทศและดินแดนในบริเวณทิศตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเซีย (ได้แก่บรูไน, พม่า, เขมร, อินโดนีเซีย, ลาว, ไทย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, ตีมอร์, สิงคโปร, เวียดนาม) . -Sountheast Asian
tagalog(ทากา'ลอก) n. ภาษาอินโดนีเซียที่ใช้กันในฟิลิปปินส์

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
long kong(name) ลองกองเป็นชื่อของผลไม้เศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ MELIACEAE ชื่อสามัญคือ long kong ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Lansium domesticum Corr. ลองกองนั้นเชื่อว่าเป็นผลไม้ที่มีถิ่นกำเนิดมาจากบริเวณหมู่เกาะมลายู อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และภาคใต้ของไทย
Image:

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top