มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ อินทรีย์ | (n) intelligence, See also: wisdom, intellect, Syn. สติปัญญา, Example: ฤาษีท่านนี้มีอินทรีย์แก่กล้ายิ่งนัก, Thai Definition: ความฉลาดที่เกิดจากการเรียนและคิด | อินทรีย์ | (n) mind and soul, See also: body and spirit, Example: ท่านควรสำรวมอินทรีย์ให้เป็นหนึ่งเดียวกัน เพื่อการปฏิบัติธรรมขั้นสูงสุด, Thai Definition: ร่างกายและจิตใจ | อินทรีย์ | (n) organism, See also: living things, Example: ปุ๋ยชนิดนี้เกิดจากการทับถมของอินทรีย์ทั้งหลายมาเป็นเวลานาน, Thai Definition: สิ่งมีชีวิตทั้งหลาย | ขุยอินทรีย์ | (n) humus, Example: ขุยอินทรีย์เป็นที่มาของแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์แก่พืช, Thai Definition: อินทรียวัตถุที่สลายตัว ปะปนอยู่ในดิน ทำให้ดินอุดมสมบูรณ์ | จุลอินทรีย์ | (n) microbe, See also: microorganism, Syn. จุลชีวัน, จุลชีพ, จุลินทรีย์, Example: การผลิตยามีวิธีการต่างๆ กัน วิธีการหนึ่งก็คือเลือกจุลอินทรีย์มาใช้ในการผลิตยา, Thai Definition: สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ต้องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ส่วนมากมีเซลล์เดียว | สารอินทรีย์ | (n) organic substance, Ant. สารอนินทรีย์, Example: สารอินทรีย์ที่อยู่ในน้ำเป็นอาหารของพืชและสัตว์ชั้นต่ำ, Count Unit: ชนิด, ประเภท, Thai Definition: ธาตุชนิดหนึ่งซึ่งเกิดจากสิ่งมีชีวิต | ปุ๋ยอินทรีย์ | (n) organic fertilizer, See also: natural fertilizer, Syn. ปุ๋ยธรรมชาติ, Example: การใช้ปุ๋ยเคมีสะดวกกว่าปุ๋ยอินทรีย์ และทำให้พืชโตเร็วกว่า | เคมีอินทรีย์ | (n) organic chemistry, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาเคมีสาขาที่เกี่ยวกับสารประกอบทั้งสิ้นของธาตุคาร์บอน ยกเว้นเรื่องสารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนต |
|
| ขุยอินทรีย์ | น. อินทรียวัตถุที่สลายตัวปะปนอยู่ในดิน ทำให้ดินอุดมสมบูรณ์. | เคมีอินทรีย์ | น. วิชาเคมีแขนงที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับสารประกอบทั้งสิ้นของธาตุคาร์บอน ยกเว้นเรื่องสารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนต. | ปุ๋ยอินทรีย์ | (-อินซี) น. ปุ๋ยที่ได้จากพืชและซากสัตว์. | สำรวมอินทรีย์ | ก. ระมัดระวังตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ. | อินทรีย-, อินทรีย์ | (-ซียะ-, -ซี) น. ร่างกายและจิตใจ เช่น สำรวมอินทรีย์ | อินทรีย-, อินทรีย์ | สติปัญญา เช่น อินทรีย์แก่กล้า | อินทรีย-, อินทรีย์ | สิ่งมีชีวิต. | กระสือ ๑ | ในทางวิทยาศาสตร์ คือ แก๊สมีเทน (methane) ที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของสารอินทรีย์แล้วติดไฟในอากาศ เป็นแสงวอบแวบในที่มืด | กากภาษา | (กากะพาสา) น. ชาติกา เช่น ลางมารนิรมิตอินทรีย์เศียรเป็นอสุรี และกายเป็นกากภาษา (คำพากย์). | ก๊าซไข่เน่า, แก๊สไข่เน่า | น. แก๊สพิษชนิดหนึ่ง มีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่า มีสูตร H2S เกิดขึ้นจากการเสื่อมสลายของสารอินทรีย์ที่ประกอบด้วยกำมะถัน ในธรรมชาติมักมีปรากฏละลายอยู่ในบ่อนํ้าร้อนและในแหล่งนํ้าแร่บางแห่ง. | ก๊าซหุงต้ม, แก๊สหุงต้ม | น. แก๊สที่ประกอบด้วยสารอินทรีย์ที่ติดไฟได้ง่าย ใช้ในการหุงต้มเป็นต้น. | กาเฟอีน | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทพิวรีน มีสูตรเคมี C8H10O2N4 ลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีในใบชา เมล็ดกาแฟ เป็นยาเสพติดอย่างอ่อน มีฤทธิ์อย่างแรงต่อหัวใจ ใช้ในการแพทย์. | การกลั่นทำลาย | น. กรรมวิธีที่ให้ความร้อนสูงแก่สารอินทรีย์โดยไม่ให้อากาศเข้า เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีขึ้นแก่สารนั้น ให้ผลเป็นสารที่ระเหยได้และแยกตัวออกมา เช่น การกลั่นทำลายขี้เลื่อย ให้ผลเป็นเมทิลแอลกอฮอล์ กรดนํ้าส้ม และสารอื่นอีก, การกลั่นทำลายถ่านหิน ให้ผลเป็นแก๊สถ่านหินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ นํ้ามันเบนซิน ลูกเหม็นกันแมลงสาบ และสารอื่นที่มีประโยชน์อีกมาก กากที่เหลือเรียกว่า ถ่านโค้ก. | โขมด ๑ | (ขะโหฺมด) น. ชื่อผีชนิดหนึ่งในพวกผีกระสือหรือผีโพง เห็นเป็นแสงเรืองวาวในเวลากลางคืน ทำให้หลงผิดนึกว่ามีคนถือไฟหรือจุดไฟอยู่ข้างหน้า พอเข้าไปใกล้ก็หายไป ทางวิทยาศาสตร์อธิบายว่า ได้แก่แก๊สมีเทน (methane) ที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของสารอินทรีย์แล้วติดไฟในอากาศ เป็นแสงวอบแวบในที่มืด. | ไขมัน | น. สารประกอบอินทรีย์จำพวกหนึ่งมีทั้งในสัตว์และพืช ไม่ละลายน้ำ, ถ้าเป็นของเหลวในอุณหภูมิปรกติเรียก น้ำมัน, ถ้าเป็นของแข็งในอุณหภูมิปรกติเรียก ไข. (อ. fat) | ไขมัน | เรียกเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดหนึ่งในคนและสัตว์บางชนิดซึ่งสะสมสารประกอบอินทรีย์ดังกล่าวไว้มากโดยเฉพาะบริเวณหน้าท้องหรือในผนังหน้าท้อง มีลักษณะนุ่ม ๆ หยุ่น ๆ, มัน ก็ว่า. | คาร์บอนไดออกไซด์ | น. ชื่อแก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี สูตรเคมี CO2 มีปรากฏในบรรยากาศ เกิดจากการเผาไหม้โดยสมบูรณ์ของธาตุคาร์บอนหรือสารอินทรีย์ เป็นแก๊สหนักกว่าอากาศและไม่ช่วยการเผาไหม้ จึงใช้ประโยชน์ในการดับเพลิง ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มอัดลม เช่น นํ้าโซดา นํ้าหวาน ใช้ทำนํ้าแข็งแห้ง ซึ่งเป็นตัวทำความเย็น. | คาร์โบไฮเดรต | (-เดฺรด) น. ชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ส่วนใหญ่มีสูตรเคมี Cx(H2O)y แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ คือ นํ้าตาลและพอลิแซ็กคาไรด์ เป็นสารอาหารที่สำคัญมากประเภทหนึ่ง. | เคมี | น. วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่ง ซึ่งกล่าวถึงเรื่องราวและสมบัติของสารต่าง ๆ ว่าประกอบกันขึ้นเป็นสารนั้น ๆ ได้อย่างไร และเมื่อสารนั้น ๆ แปรเปลี่ยนไปเป็นสารอื่นได้ปฏิกิริยาที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ เป็นอย่างไร ทั้งกล่าวถึงการที่จะสังเคราะห์สารนั้น ๆ ขึ้นได้อย่างไรด้วย แบ่งออกเป็นสาขาต่าง ๆ อีกหลายสาขา เช่น เคมีอินทรีย์ เคมีอนินทรีย์ ชีวเคมี เคมีกายภาพ เคมีวิเคราะห์. | โคเคน | น. สารอินทรีย์ประเภทแอลคาลอยด์ มีสูตร C17H21O4N ลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีปรากฏในใบของต้นโคคา ( Erythroxylum coca Lam.) ใช้เป็นยาชาเฉพาะที่ เป็นยาเสพติด. | ชิเดนทรีย์ | (ชิเดนซี) น. ผู้มีอินทรีย์อันชนะแล้ว, ผู้สำรวมอินทรีย์. | ชิตินทรีย์ | (ชิตินซี) น. ผู้มีอินทรีย์อันชนะแล้ว, ผู้สำรวมอินทรีย์. | ซินนามิก | น. กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C6H5CH : CHCOOH เป็นของแข็ง ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายนํ้าได้บ้างเล็กน้อย มีปรากฏในธรรมชาติทั้งในภาวะอิสระ และในภาวะรวมตัวเป็นสารประกอบกับสารอื่น มี ๒ ชนิด ชนิดหนึ่งหลอมละลายที่ ๔๒ ºซ. อีกชนิดหนึ่งหลอมละลายที่ ๑๓๓ ºซ. โดยทั่วไปหมายถึงชนิดหลัง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมเครื่องหอม. | ดินร่วน | น. ดินที่มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวปนทรายกับขุยอินทรีย์ประกอบกัน มีสภาพซุย. | ท ๒ | ใช้ประสมกับตัว ร อ่านเป็นเสียง ซอ ในคำบางคำ เช่น ทราบ แทรก ทรง และในคำบางคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ทรัพย์ อินทรีย์ มัทรี, ที่อ่านเป็นเสียง ทร (ไม่ใช่ ซ) ก็มี เช่น ภัทรบิฐ อินทรา นิทรา อิเล็กทรอนิกส์. | ทีเอ็นที | น. สารประกอบอินทรีย์ ชื่อเต็มคือ ไทรไนโทรโทลูอีน (trinitrotoluene) มีสูตร C7H5(NO2)3 ลักษณะเป็นของแข็ง มีรูปผลึกสีเหลืองอ่อน หลอมละลายที่ ๘๒˚ซ. เป็นวัตถุระเบิดชนิดร้ายแรง. | น้ำย่อย | น. ของเหลวที่มีสารอินทรีย์บางชนิดสำหรับย่อยอาหาร สร้างจากอวัยวะของระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ ปาก ต่อมน้ำลาย กระเพาะอาหาร และ ลำไส้. | นิโคติน | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทแอลคาลอยด์ มีสูตร C10H14N2 ลักษณะเป็นของเหลวข้น มีจุดเดือด ๒๔๗ °ซ. เป็นพิษอย่างแรง มีปรากฏอยู่ในใบยาสูบ. | ไนลอน | น. สารประกอบอินทรีย์ซึ่งสังเคราะห์ขึ้น มีโมเลกุลขนาดใหญ่ มักผลิตให้เป็นเส้นใยเล็ก ๆ ซึ่งนำไปฟั่นเป็นเส้นด้ายหรือเส้นเชือกที่มีความเหนียวมาก หรือนำไปทอเป็นผ้าได้, เรียกสิ่งที่ทำจากเส้นใยนั้น เช่น ผ้าไนลอน เชือกไนลอน. | ปิโตรเลียม | น. นํ้ามันดิบ ประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอนและสารอินทรีย์อื่น ๆ อีกมาก องค์ประกอบไม่แน่นอนแล้วแต่แหล่งที่พบ. | โปรตีน | (โปฺร-) น. สารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนของไนโตรเจน มีโมเลกุลขนาดใหญ่ประกอบด้วยกรดแอมิโนหลายชนิดเชื่อมโยงกัน เป็นสารประกอบที่สำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดซึ่งจำเป็นต้องใช้เพื่อสร้างเนื้อเยื่อของร่างกาย. | ผงซักฟอก | น. สารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นผง มีหลายชนิด มีองค์ประกอบที่สำคัญแตกต่างกัน เช่น ประกอบด้วยโซเดียมลอริลซัลเฟต (sodium lauryl sulphate) หรือโซเดียมอัลคิลอะริลซัลโฟเนต (sodium alkyl aryl sulphonate) เป็นต้น ใช้ประโยชน์ในการซักฟอกได้ดีกว่าสบู่ ทั้งใช้ซักฟอกในนํ้าอ่อน นํ้ากระด้าง หรือนํ้าเค็มได้ดี. | พลาสติก | น. สารประกอบอินทรีย์ที่สังเคราะห์ขึ้นใช้แทนวัสดุธรรมชาติ บางชนิดเมื่อเย็นก็แข็งตัว เมื่อถูกความร้อนก็อ่อนตัว บางชนิดแข็งตัวถาวร มีหลายชนิด เช่น ไนลอน ยางเทียม ใช้ทำสิ่งต่าง ๆ เช่น เสื้อผ้า ฟิล์ม ภาชนะ ส่วนประกอบเรือหรือรถยนต์. | พาราฟิน | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทหนึ่งซึ่งมีสูตร CnH2n+2ในเมื่อ n = 1, 2, 3, … ในปัจจุบันเรียกสารประกอบประเภทนี้ ว่า อัลเคน (alkane). (อ. paraffin) | พาราฟิน | ชื่อนํ้ามันประเภทหนึ่ง ซึ่งมีจุดเดือดอยู่ระหว่าง ๒๐๐ °-๓๐๐ °ซ. เป็นสารผสมของสารประกอบอินทรีย์ซึ่งมีสูตร CnH2n+2 ในเมื่อ n = 12-16 ได้มาจากการนำนํ้ามันปิโตรเลียมมากลั่น ใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงได้, นํ้ามันก๊าด ก็เรียก. (อ. paraffin oil) | พาราฟิน | ชื่อของแข็งประเภทหนึ่ง ลักษณะสีขาวโปร่งแสง หลอมละลายระหว่าง ๕๐ °-๖๐ °ซ. เป็นสารผสมของสารประกอบอินทรีย์ซึ่งมีสูตร CnH2n+2 ในเมื่อ n = 20-30 ใช้ประโยชน์ทำเทียนไข กระดาษไข ยาขัด เป็นต้น. | มอร์ฟีน | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทแอลคาลอยด์ มีสูตร C17H19O3N ลักษณะเป็นผลึกสีขาว หลอมละลายที่ ๒๕๔ °ซ. มีในฝิ่น เป็นยาเสพติดอย่างแรง ทางแพทย์ใช้เกลือไฮโดรคลอไรด์หรือเกลือแอซีเทต หรือเกลือซัลเฟตของมอร์ฟีนเป็นยาระงับความปวด. | มีเทน | น. สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นแก๊ส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไวไฟ มีสูตร CH4 มีปรากฏในที่ซึ่งมีสารอินทรีย์ผุพังเน่าเปื่อย ในบ่อถ่านหิน ในแก๊สธรรมชาติ ใช้ประโยชน์เป็นแก๊สเชื้อเพลิง และใช้ในอุตสาหกรรมสังเคราะห์โปรตีนเป็นต้น. | เมนทอล | น. สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C10H20O ลักษณะเป็นผลึกสีขาว หลอมละลายที่ ๔๒ °ซ. มีกลิ่นหอมเย็น มีอยู่ในนํ้ามันหอมระเหยที่ได้จากพืชบางชนิด เช่น นํ้ามันมินต์ซึ่งสกัดจากใบมินต์ ใช้ประโยชน์ในทางยาปรุงกลิ่นและปรุงรส. | ยติ ๑ | น. ผู้สำรวมอินทรีย์, พระภิกษุ. | ยางมะตอย | น. สารผสมประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอนมากชนิด และสารอินทรีย์อื่น ๆ ซึ่งเรียกรวม ๆ กันว่า สารบิทูเมน ลักษณะเป็นของเหลวข้นหนืด หรือเป็นกึ่งของแข็ง สีดำ หรือสีนํ้าตาลแก่แกมดำ เกิดตามธรรมชาติ และเป็นผลพลอยได้จากการกลั่นนํ้ามันปิโตรเลียม ใช้ประโยชน์ราดทำผิวถนนหรือใช้ผสมกับหินขนาดเล็กทำพื้นถนนได้, แอสฟัลต์ ก็เรียก. | ยูริก | น. กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C5H4N4O3 ลักษณะเป็นของแข็ง ไม่มีสี ละลายนํ้าได้เล็กน้อย มีปรากฏอยู่เป็นจำนวนน้อยในปัสสาวะและในโลหิต ผู้ที่ป่วยเป็นโรคเกาต์ คือมีอาการบวมปวดบริเวณข้อกระดูก จะปรากฏมีเกลือโซเดียมและโพแทสเซียมของกรดนี้เกาะอยู่ที่ข้อกระดูกนั้น ๆ เรียกว่า กรดยูริก. | ลิตมัส | (ลิดมัด) น. สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่งลักษณะเป็นผงสีม่วง ละลายนํ้าได้ สารละลายลิตมัสให้สีแดงเมื่อถูกกรด แต่ให้สีนํ้าเงินเมื่อถูกด่าง ใช้ประโยชน์ในเคมีวิเคราะห์และใช้ทดสอบสภาพกรดหรือด่างของดิน. | ลูกเหม็น | น. สารอินทรีย์ ลักษณะเป็นของแข็ง สีขาว ทำเป็นลูกกลม มีกลิ่นไม่ชวนดม ใช้ใส่ตู้หนังสือเป็นต้นเพื่อกันแมลงบางชนิด. | วศิน | น. ผู้ชำนะตนเอง, ผู้สำรวมอินทรีย์. | วสี | น. ผู้ชำนะตนเอง, ผู้สำรวมอินทรีย์, ผู้ตัดกิเลสได้ดังใจ | วางวาย | ก. ตาย เช่น นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย์ (กฤษณา), วายวาง ก็ว่า. | วิตามิน | น. กลุ่มสารอินทรีย์ซึ่งเป็นสารอาหารจำเป็นที่ร่างกายต้องการแต่เพียงจำนวนน้อย ๆ และจะขาดไม่ได้ หากขาดจะทำให้อวัยวะในร่างกายทำงานผิดปรกติและเกิดโรคได้ สารกลุ่มนี้มีส่วนช่วยในการเจริญเติบโตของร่างกาย บำรุงผิวพรรณ เหงือก ผม ตา และช่วยต้านทานโรค แบ่งเป็น ๒ พวกใหญ่ คือ พวกที่ละลายได้ในไขมัน เช่น วิตามินเอ วิตามินดี และพวกที่ละลายได้ในน้ำ เช่น วิตามินบี วิตามินซี, ใช้ว่า วิตะมิน หรือ ไวตามิน ก็มี. | สตริกนิน | (สะตฺริก-) น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทแอลคาลอยด์ มีสูตร C21H22N2O2 ลักษณะเป็นผลึกหรือผงสีขาว ละลายได้เล็กน้อยในนํ้า หลอมละลายที่ ๒๖๘ °-๒๙๐ °ซ. เป็นพิษอย่างแรง. | สรีรวิทยา, สรีรศาสตร์ | น. วิชาว่าด้วยสมบัติและการกระทำหน้าที่ของอินทรีย์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วนของสิ่งที่เป็นรูปร่างและมีชีวิต. |
| | Organic fertilizer | ปุ๋ยอินทรีย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Organic waste | ขยะอินทรีย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Organic semiconductor | สารกึ่งตัวนำอินทรีย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Volatile organic compounds | สารประกอบอินทรีย์ระเหย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Volatile organic compounds | สารระเหยอินทรีย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Kerogene | สารอินทรีย์ที่ประกอบอยู่ในหินตะกอน, Example: สารอินทรีย์ที่ประกอบอยู่ในหินตะกอนซึ่งไม่ละลายในตัวทำละลายอินทรีย์ (Insoluble inorganic solvents) และเป็นตัวที่ให้กำเนิดปิโตรเลียมด้วย เป็นอินทรีย์สารเชิงซ้อนเมื่อถูกความร้อนจะสลายตัวให้น้ำมันดิบ [ปิโตรเลี่ยม] | Organic farming | เกษตรอินทรีย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | protein | โปรตีน, โปรตีน [ โปฺร- ] น. สารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนของไนโตรเจน มีโมเลกุลขนาดใหญ่ประกอบด้วยกรดแอมิโนหลายชนิดเชื่อมโยงกัน เป็น สารประกอบที่สำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดซึ่งจําเป็นต้องใช้เพื่อสร้างเนื้อเยื่อของร่างกาย. (อ. protein)., Example: <p>ลำดับเบสภายในดีเอ็นเอเป็นตัวกำหนดชนิดของโปรตีนที่สร้าง โดยลำดับเบสถอดรหัสเป็น messenger RNA (mRNA) โดยกระบวนการที่เรียกว่า transcription หลังจากนั้นลำดับเบสทีละ 3 เบสที่เรียงติดกันของ mRNA แปลรหัสเป็นกรดอะมิโนแต่ละตัวกระบวนการนี้เรียกว่า translation ในกระบวนการนี้อาศัย ribosome (จับกับ mRNA ในขณะเกิดการแปลรหัส) transfer RNA (RNA ที่มีหน้าที่ลำเลียงกรดอะมิโนเข้าสู่ ribosome เพื่อมาเชื่อมต่อเป็นโปรตีนตามรหัสของ mRNA) หลังจากผ่านกระบวนการแปลรหัสได้โปรตีนที่เซลล์ต้องการ <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุดสงวน ชูสกุลธนะชัย. “ดีเอ็นเอ: รหัสแห่งชีวิต” ในดีเอ็นเอ : ปริศนาลับรหัสชีวิต. หน้า 19-38. ปทุมธานี : ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, 2546. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | คาร์โบไฮเดรต | ชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ คาร์โบไฮเดรท [คำที่มักเขียนผิด] | Organic compounds | สารประกอบอินทรีย์ [TU Subject Heading] | Organic fertilizers | ปุ๋ยอินทรีย์ [TU Subject Heading] | Organic wastes | ของเสียอินทรีย์ [TU Subject Heading] | Organochlorine compounds | สารประกอบอินทรีย์คลอรีน [TU Subject Heading] | Volatile organic compounds | สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย [TU Subject Heading] | Organic-Matter Degradation | การสลายของสารอินทรีย์, Example: การเปลี่ยนแปลงของสารอินทรีย์ไปเป็น สารอนินทรีย์ โดยวิธีการทางชีวภาพ [สิ่งแวดล้อม] | TOC, Total Organic Carbon | คาร์บอนอินทรีย์ทั้งหมด, ทีโอซี, Example: หน่วยวัดปริมาณของสารคาร์บอนและ/หรือ ส่วนประกอบคาร์บอนที่มี อยู่ในสารอินทรีย์ของของนั้น [สิ่งแวดล้อม] | Organic Deposit | ตะกอนอินทรีย์ทับถม, Example: ตะกอนจากซากพืชและสัตว์ที่ทับถมอยู่ใต้ท้องน้ำ [สิ่งแวดล้อม] | Organic Load | ปริมาณอินทรีย์, Example: ปริมาณสารอินทรีย์ มีหน่วยเป็นกิโลกรัม หรือ กก./วัน [สิ่งแวดล้อม] | Organic Fertilizer | ปุ๋ยอินทรีย์, Example: ปุ๋ยที่ได้มาจากสิ่งที่มีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ ซึ่งได้ผ่านสภาพการแปรรูป หรือถูกหมักหมมจนเน่าเปื่อยหมดแล้ว และอยู่ในสภาพที่พืชสามารถจะนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น ใบไม้ผุ ปุ๋ยหมัก มูลสัตว์ต่างๆ กระดูกป่น กากถั่ว ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยเทศบาล เป็นต้น ปุ๋ยอินทรีย์โดยปกติจะมีธาตุอาหารต่างๆ อยู่เกือบครบถ้วนแต่มีปริมษรอยู่ในระดับที่ค่อนข้างต่ำ ซึ่งไม่เพียงพอสำหรับต้นไม้ แต่ปุ๋ยอินทรีย์จะให้ประโยชน์ในแง่การปรับปรุงดินให้มีโครงสร้างดีขึ้น มีความสามารถในการอุ้มน้ำดีขึ้นในดินทราย และเปลี่ยนสภาพของดินเหนียวที่มีการระบายน้ำเลวให้ดีขึ้น [สิ่งแวดล้อม] | Organic Compound | สารประกอบอินทรีย์, Example: สารที่มีคาร์บอนอยู่สองอะตอมหรือมากกว่า คาร์บอนนี้จะเชื่อมต่อกันเป็นโซ่โดยมีไฮโดรเจนเชื่อมต่อกับคาร์บอนด้วย [สิ่งแวดล้อม] | Volatile Organic Componds, VOCs | สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย, วีโอซี, Example: สารอินทรีย์ซึ่งระเหยง่ายทำให้เกิดมลพิษอากาศ โดยตรงหรือโดยผ่านปฏิกิริยาทางเคมีหรือแสอาทิตย์ [สิ่งแวดล้อม] | Organic Loading Rate | อัตราภาระอินทรีย์, Example: อัตราการป้อนสารอินทรีย์ต่อขนาดระบบบำบัด มีหน่วยเป็น กก./ม3-วัน หรือ กก./ม2-วัน [สิ่งแวดล้อม] | Soil Organism | อินทรีย์ในดิน [สิ่งแวดล้อม] | Organic Nitrogen | อินทรีย์ไนโตรเจน, Example: ไนโตรเจนที่อยู่ในโมเลกุลของสิ่งมีชีวิต เช่น โปรตีน อามีนส์ และกรดอะมิโน [สิ่งแวดล้อม] | Total Organic Carbon, TOC | อินทรีย์คาร์บอนทั้งหมด, ทีโอซี, Example: หน่วยวัดค่าความสกปรกของน้ำเสีย หาได้เร็วกว่าการวัดค่าบีโอดี [สิ่งแวดล้อม] | Humas | ฮิวมัส, ขุยอินทรีย์, Example: สารคาร์บอนเฟอรัสสีดำที่ตกค้างตามพื้นดิน เนื่องจากการสลายของเนื้อเยื่อของต้นไม้ที่เกิดขึ้นในบริเวณนั้นมีลักษณะและ พฤติกรรม เหมือนกับสลัดจ์ที่ผ่านการย่อยแล้ว คือ ร่วนป่นและค่อนข้างคงตัว [สิ่งแวดล้อม] | Positron Emission Tomography | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะในร่างกายที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน โดยการตรวจวัดสารกัมมันตรังสีบางชนิด ซึ่งให้แก่ร่างกายในรูปของสารเภสัชรังสี เพื่อใช้ในการตรวจวัดเชิงปริมาณของขบวนการทางชีวเคมีในร่างกายของสิ่งมีชีวิต ไอโซโทปรังสีที่ใช้จะเป็นชนิดที่ปลดปล่อยโพซิตรอนออกมา เช่น ออกซิเจน-15 ไนโตรเจน-13 และคาร์บอน-11 โพซิตรอนที่ปล่อยออกมานี้จะเข้าทำปฏิกิริยาประลัย (annihilation) เกือบจะทันทีทันใดกับอิเล็กตรอนที่โคจรอยู่รอบนิวเคลียสในอะตอมของสาร ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นสารเภสัชรังสีนั้น และมีรังสีแกมมาพลังงาน 511 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ ปลดปล่อยออกมาพร้อมกันในสองทิศทางตรงกันข้าม สามารถตรวจวัดได้ด้วยหัววัดรังสีที่อยู่ตรงข้ามกัน จากหัววัดหลายๆ หัวที่ล้อมรอบคนไข้ ทำให้ทราบตำแหน่งที่ผิดปกติในร่างกายได้ โดยการแปลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ เนื่องจากส่วนใหญ่ของไอโซโทปรังสีที่ใช้กับเทคนิคนี้ เป็นไอโซโทปของธาตุที่เป็นส่วนประกอบของอินทรีย์วัตถุ จึงทำให้ PET มีประโยชน์ในการศึกษากระบวนการทางสรีรวิทยาและชีวเคมีที่ผิดปกติด้วย ในทางปฏิบัติ PET จำเป็นต้องใช้ไอโซโทปรังสีที่ผลิตขึ้นจากการระดมยิงที่เป้า ด้วยโปรตรอนพลังงานสูงภายในเครื่องไซโคลตรอน การศึกษาโดยใช้ PET จะมุ่งเน้นไปยังระบบประสาทส่วนกลางเป็นหลัก ด้วยการวัดตัวแปรเสริมอื่นๆ ประกอบ เช่น การไหลเวียนของเลือด กระบวนการสร้างและสลายน้ำตาลกลูโคส และการเผาผลาญออกซิเจน จึงมีความเป็นไปได้ที่จะหาสมุฏฐานของโรคลมบ้าหมู หรือหาขนาดที่แน่นอนของบริเวณที่พิการในสมองได้ ในการศึกษาที่เกี่ยวกับหัวใจและหน้าที่ของหัวใจ การตรวจโดยใช้ PET จะเป็นวิธีที่เฉพาะเจาะจง และให้ผลดีกว่าการตรวจสอบโดยวิธีอื่นๆ [พลังงาน] | Bioethanol | ไบโอเอทานอล, เอทานอลที่ได้จากกระบวนการย่อยสลาย หรือกระบวนการหมักสารอินทรีย์รวมทั้งของเสียในสภาวะไร้อากาศ มักประกอบด้วยมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์ สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ [เทคโนโลยีชีวภาพ] | Biogas | ไบโอก๊าซ, ไบโอก๊าซ คือก๊าซที่เกิดจากกระบวนการย่อยสลายหรือกระบวนการหมักสารอินทรีย์ รวมทั้งของเสียในสภวะไร้อากาศ ซึ่งสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ มักประกอบด้วยมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์ [เทคโนโลยีชีวภาพ] | Chemical Oxygen Demand | ซีโอดี, ซีโอดี คือปริมาณออกซิเจนที่จำเป็นสำหรับปฏิกิริยาเคมีที่ใช้ในการย่อยสลายสารประกอบอินทรีย์ในน้ำเสียค่าซีโอดีที่สูงกว่าแสดงว่า ปฏิกิริยาการย่อยสลายนั้นต้องการปริมาณออกซิเจนมากกว่า ค่าซีโอดีสามารถใช้เป็นตัววัดทางอ้อมของปริมาณสารประกอบอินทรีย์ในน้ำ [เทคโนโลยีชีวภาพ] | Ebonite | อีโบไนต์หรือยางแข็ง (hard rubber) คือ ยางที่ผ่านกระบวนการวัลคาไนเซชันโดยใช้กำมะถันในปริมาณสูง (30-50%) และให้ความร้อน ทำให้ยางมีโครงสร้างแบบร่างแห (network) และมีสมบัติแข็งมากแต่เปราะ ติดไฟง่าย ไม่เป็นพิษ ไม่ละลายในตัวทำละลายอินทรีย์ทั่วไป นิยมใช้ทำหม้อบรรจุแบตเตอรีหรือภาชนะบรรจุกรด-เบส [เทคโนโลยียาง] | Pigment | สารให้สีที่ไม่ละลายในยาง เติมลงไปในยางที่ไม่มีผงเขม่าดำเพื่อทำให้ผลิตภัณฑ์ยางที่ได้มีสีสันตามความ ต้องการของผู้ผลิต แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ผงสีอินทรีย์และผงสีอนินทรีย์ [เทคโนโลยียาง] | Arsenic, Inorganic and Organic | สารหนูพวกอนินทรีย์และอินทรีย์ [การแพทย์] | Base, Organic | เบสอินทรีย์เบสอินทรีย์ [การแพทย์] | Bone Matrix, Organic | เนื้ออินทรีย์ของกระดูก [การแพทย์] | Chemistry, Organic | อินทรีย์เคมี, เคมีอินทรีย์ [การแพทย์] | Chemosynthesis | พลังงานจากสารอินทรีย์อื่นๆ [การแพทย์] | Compounds, Non-Nitrogenous-Organic | สารประกอบอินทรีย์ที่ไม่มีไนโตรเจ็น [การแพทย์] | Dust, Organic | ฝุ่นอินทรีย์, ฝุ่นละอองสารอินทรีย์ [การแพทย์] | Esters, Organic | เอสเตอร์อินทรีย์ [การแพทย์] | Fiber Diseases, Organic | โรคจากเส้นใยอินทรีย์ [การแพทย์] | Fungicides, Organic Synthetic | สารป้องกันและกำจัดเชื้อราพวกอินทรีย์สังเคราะห์ [การแพทย์] | organic soil | organic soil, ดินอินทรีย์ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] | nucleic acid | กรดนิวคลิอิก, สารอินทรีย์ที่มีอยู่ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ประกอบด้วยหน่วยย่อยคือ นิวคลีโอไทด์ต่อกันเป็นสาย กรดนิวคลีอิกมี 2 ชนิด คือ DNA และ RNA [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | uric acid | กรดยูริก, กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่งสูตรเคมีคือ C5H4O3N4 พบในเลือดและน้ำปัสสาวะของสัตว์ที่กินเนื้อ สำหรับคนถ้ามีกรดนี้เกิดขึ้นมากและขับถ่ายไม่ทันจะสะสมตามข้อ เกิดอาการปวดซึ่งเรียกว่า โรคเกาต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | indole acetic acid (IAA) | กรดอินโดลแอซีติก(ไอเอเอ), ออกซินชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ C10H9O2N เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืช [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | decompose | เน่าเปื่อย, การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างโมเลกุลของสารอินทรีย์จากโมเลกุลใหญ่เป็นโมเลกุลเล็กหลาย ๆ โมเลกุลโดยเห็ดราและแบคทีเรียบางชนิด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | biochemical oxygen demand (BOD) | ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี (บีโอดี), ปริมาณของออกซิเจนที่จุลินทรีย์ใช้ไปในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำ ค่าบีโอดีเป็นเกณฑ์อย่างหนึ่งในการวัดคุณภาพของน้ำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | cholesterol | คอเลสเตอรอล, สารประกอบอินทรีย์ประเภทสเตอรอยด์ สูตรเคมีคือ C27H45OH พบในเลือด เนื้อเยื่อประสาท สมอง ตับ และต่อมหมวกไต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | carotenoid | แคโรทีนอยด์, สารประกอบอินทรีย์พวกหนึ่งที่มีสีเหลือง ส้ม หรือแดงทับทิม มีในพืช และเนื้อเยื่อบางชนิดของสัตว์ สารแคโรทีนอยด์ที่สำคัญได้แก่ แคโรทีน ไลโคปีน และอนุพันธ์อื่น ๆ ของสารทั้ง 2 นี้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| อินทรีย์ | [insī] (n) EN: body ; organ FR: corps [ m ] ; organe [ m ] ; organisme [ m ] | อินทรีย์ | [insī] (adj) EN: organic FR: organique | อินทรีย์วัตถุ | [insī watthu] (adj) EN: organic FR: organique | อินทรีย์เคมี | [insī khēmī] (n, exp) EN: organic chemistry FR: chimie organique [ f ] | จุลอินทรีย์ | [junla-insī] (n) EN: microbe ; microorganism FR: microbe [ m ] ; micro-organisme [ m ] | ผู้บริโภคซากอินทรีย์ | [phūbøriphōk sāk insī] (n, exp) EN: scavenger ; detritivore | ปุ๋ยอินทรีย์ | [pui insī] (n) EN: organic fertilizer FR: engrais organique [ m ] ; terreau [ m ] ; humus [ m ] | ปุ๋ยอินทรีย์เคมี | [pui insī khēmī] (n, exp) EN: chemical fertilizer FR: engrais chimque [ m ] | สารอินทรีย์ | [sān insī] (n, exp) EN: organic matter FR: matière organique [ f ] |
| lipid | (n) สารอินทรีย์จำพวกไขมัน | acrylamide | (n, name) เอคริลเอไมด์ เป็นสารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่มีหมู่เอไมด์แทนที่หมู่ไฮดรอกซิลของกรดโพรพีโนอิก (propenoic acid) สารประกอบชนิดนี้เกิดได้จากการอบหรือทอดอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรท และจากการทดลองในสัตว์สารชนิดนี้สามารถทำให้ระบบประสาทกลางเป็นอัมพาตได้ อีกทั้งยังเป็นสารก่อมะเร็ง |
| ester | (n) สารประกอบอินทรีย์เกิดจากปฏิกิริยาของกรดกับอัลกอฮอล์, See also: สารเอสเตอร์ | fertilizer | (n) ปุ๋ย, See also: ปุ๋ยหมัก, ปุ๋ยธรรมชาติ, ปุ๋ยคอก, ปุ๋ยอินทรีย์ | humus | (n) ปุ๋ยอินทรีย์ | organic | (adj) เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต, See also: เกี่ยวกับสารอินทรีย์, ซึ่งมาจากสิ่งมีชีวิต, Syn. live, natural, Ant. inorganic | organic | (n) สารอินทรีย์ | organic chemistry | (n) อินทรีย์เคมี, See also: การศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของสารคาร์บอน | phenol | (n) กรดคาร์บอลิกจากน้ำมันดิน (ยาฆ่าเชื้อและสังเคราะห์สารอินทรีย์) | radiocarbon | (n) กัมมันตภาพรังสีในรูปของคาร์บอนที่ใช้คำนวณอายุของอินทรีย์วัตถุ |
| acetamide | (แอสซิแทม' ไมดฺ) chem. สารเคมีชนิดหนึ่งที่ใช้ในการสังเคราะห์อินทรีย์สาร (acetamid) | american eagle | นกอินทรีย์ชนิดที่ปรากฏอยู่ในตราสัญลักษณ์ของอเมริกา | amine | สารประกอบอินทรีย์สารที่มีไนโตรเจน | anisole | (แอน' นิโซล) n. ของเหลวชนิดหนึ่งที่มีกลิ่นหอม , ใช้ในเครื่องหอม ในการสังเคราะห์สารอินทรีย์และเป็นยาฆ่าพยาธิ | aquiline | (แอค'วิลิน) adj. เกี่ยวกับหรือคล้ายนกอินทรีย์, เป็นรูปขอ, เป็นรูปปากนกอินทรีย์ | bird of prey | n. นกล่านก (เช่นเหยี่ยว, นกอินทรีย์) | compost | (คอม'โพสทฺ) n. ส่วนผสมของสารอินทรีย์สำหรับเป็นปุ๋ย, ปุ๋ยผสม, การผสมกัน, สารผสม vi. ใส่ปุ๋ยลง, เอามาทำเป็นปุ๋ยผสม, Syn. composition | organic | (ออร์แกน'นิค) adj. (เกี่ยวกับ) อวัยวะ, อินทรีย์, องค์ประกอบ, เนื้อเยื่อชีวิต, กฎ, องค์, องค์การ. n. อินทรียสาร., See also: organicity n. | radiocarbon | (เรดิโอคาร์'เบิน) n. ไอโซโทบ (isotope) กัมมันตภาพรังสีที่มีมวลเท่ากับ14และมีค่าhalf-lifeเท่ากับ5.568ปีใช้ในการคำนวณอายุของวัตถุอินทรีย์., Syn. carbon14, carbon-14 | sense | (เซนซฺ) n. ความรู้สึก, ไหวพริบ, ประสาททั้งห้า, ประสาทสัมผัส, อินทรีย์สัมผัส, เหตุผล, ความสามารถในการพินิจพิเคราะห์, สติสัมปชัญญะ, ความฉลาด, ความสังหรณ์, ความหมาย, นัย, แนวทาง, ทิศทาง vt. รู้สึก, ตระหนัก, เข้าใจความหมาย, เข้าใจ, ฟื้นขึ้น (จากการสลบ) , สำนึก, สังหรณ์, ตื่นตัว. - | unorganized | (อันออร์'กะไนซดฺ) adj. ไม่ได้จัดขึ้น, ไม่ได้จัดเป็นรูป, ไม่ได้รวบรวมกัน, ไม่มีโครงสร้างทางอินทรีย์สาร, ไม่ได้เป็นสมาชิกของสหภาพแรงงานใด., Syn. unorganised |
| organism | (n) อินทรีย์, สิ่งมีชีวิต, องค์การ, องค์กร |
| butane | (เคมี) เป็นสารประกอบอินทรีย์ |
| Adler | (n) |der, pl. Adler| นกอินทรีย์ | zersetzen | (vt) |zersetzte, hat zersetzt| ย่อยสลาย เช่น Mikroorganismen zersetzen organisches Material. จุลินทรีย์ย่อยสลายสารอินทรีย์ได้ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |