ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: อนุโลม, -อนุโลม- |
อนุโลม | (v) allow to grant, See also: let, permit, Syn. ผ่อนปรน, ยินยอม, ยอม, ผ่อนผัน, Example: ถึงแม้ว่าภาษามาเลย์จะเป็นภาษาราชการก็ตามแต่ก็ได้อนุโลมให้ใช้ภาษาอังกฤษได้ในบางกรณี, Thai Definition: ใช้แทนกันได้ตามความเหมาะสม, คล้อยตาม | อนุโลม | (v) adapt, See also: modify, be able to be adapted, be adaptable, Example: กฎหมายบัญญัติให้นำประมวลวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลมในกรณีที่มีคดีมาสู่ศาลหรือมีผู้ยื่นคำร้องขอต่อศาล, Thai Definition: นำมาใช้โดยอาศัยหลักการอย่างเดียวกันแต่ให้แก้ไขในรายละเอียดได้ตามควรแก่กรณี, Notes: (กฎหมาย) |
|
| อนุโลม | ก. ใช้แทนกันได้ตามความเหมาะสม, คล้อยตาม | อนุโลม | นำมาใช้โดยอาศัยหลักการอย่างเดียวกันแต่ให้แก้ไขในรายละเอียดได้ตามควรแก่กรณี. | อนุโลม | ว. ตามลำดับ เช่น ท่องแบบอนุโลม, คู่กับ ปฏิโลม คือ ย้อนลำดับ. | กระทะ ๑ | น. ภาชนะสำหรับใช้ผัดหรือทอดเป็นต้น มีรูปร่างต่าง ๆ ตามปรกติมีก้นลึก ปากผาย ต่อมาอนุโลมเรียกภาชนะที่ใช้ในลักษณะเช่นนั้นแม้มีก้นตื้นหรือแบน ทั้งชนิดที่มีขอบและไม่มีขอบว่า กระทะ เช่น กระทะขนมเบื้อง กระทะโรตี. | กราบ ๒ | (กฺราบ) ก. แสดงความเคารพด้วยวิธีนั่งประนมมือขึ้นเสมอหน้าผาก แล้วน้อมศีรษะลงจดพื้น, ถ้าหมอบแล้วน้อมศีรษะลงจดมือที่ประนมอยู่กับพื้น เรียกว่า หมอบกราบ, ประนมมือเสมอหน้าผาก แล้วน้อมศีรษะลงจดมือที่วางอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง ก็อนุโลมถือว่าเป็นกราบ เช่น กราบลงบนตัก, เรียกกราบโดยให้อวัยวะทั้ง ๕ คือ เข่าทั้ง ๒ มือทั้ง ๒ และหน้าผาก จดลงกับพื้นว่า กราบโดยเบญจางคประดิษฐ์ เป็นอาการแสดงความเคารพอย่างสูงสุด, โดยปริยายใช้เป็นคำแสดงอาการเคารพเหมือนอย่างกราบ เช่น กราบทูล กราบเรียน. | กล้า ๑ | (กฺล้า) น. ต้นข้าวอ่อนที่เพาะจากข้าวเปลือกสำหรับย้ายไปปลูกที่อื่น, โดยอนุโลมเรียกพืชที่เพาะไว้สำหรับย้ายไปปลูกในที่อื่น ว่า กล้า เช่น กล้าพริก กล้ามะเขือ. | ขวัญ | สิ่งที่ไม่มีตัวตน เชื่อกันว่ามีอยู่ประจำชีวิตของคนตั้งแต่เกิดมา ถ้าขวัญอยู่กับตัวก็เป็นสิริมงคล เป็นสุขสบายจิตใจมั่นคง ถ้าคนตกใจหรือเสียขวัญ ขวัญก็ออกจากร่างไป ซึ่งเรียกว่า ขวัญหาย ขวัญหนี ขวัญบิน เป็นต้น ทำให้คนนั้นได้รับผลร้ายต่าง ๆ, เรียกผู้ตกใจง่ายคือ เด็กหรือหญิงซึ่งมักจะขวัญหายบ่อย ๆ ว่า ขวัญอ่อน , และอนุโลมใช้ไปถึงสัตว์หรือสิ่งของบางอย่าง เช่น ช้าง ม้า ข้าว เรือน ฯลฯ ว่ามีขวัญเช่นเดียวกับคนเหมือนกัน, โดยปริยายหมายความว่า ยอดกำลังใจ เช่น ขวัญเมือง ว่า ยอดกำลังใจของเมือง | คูหา | โดยอนุโลมใช้เรียกช่องที่กั้นไว้เป็นสัดส่วนสำหรับใช้ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คูหาลงคะแนนในที่เลือกตั้งสำหรับใช้ในการกาบัตรออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง. | งอม | ว. สุกจัดจนเกือบเน่าหรือเละ เช่น กล้วยงอม มะม่วงงอม, โดยอนุโลมใช้กับคนที่แก่มากจนทำอะไรไม่ไหว เช่น ปีนี้คุณยายดูงอมมาก, โดยปริยายหมายความว่า แย่ เช่น ถูกใช้ให้ทำงานเสียงอม, บอบชํ้า เช่น ถูกตีเสียงอม, ได้รับทุกข์ทรมานมาก เช่น เป็นไข้เสียงอม. | จันทรกลา | (-กะลา) น. เสี้ยวที่ ๑๖ ของดวงจันทร์, โดยอนุโลมหมายถึงงามเหมือนแสงจันทร์อ่อน ๆ นวลตา เช่น ลางล้วนเผือกผ่องคือคิรี ไกลาสรูจี แลพรายคือจันทรกลา (สมุทรโฆษ). | ดำ ๓ | ว. สีอย่างสีเขม่าไฟจับก้นหม้อ, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น ผ้าดำ เต่าดำ มดดำ. | แดง ๑ | ว. สีอย่างสีเลือดหรือสีชาด, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น มดแดง ผ้าแดง. | ตาลปัตร | (ตาละปัด) น. พัดทำด้วยใบตาล มีด้ามยาว สำหรับพระภิกษุถือบังหน้าในพิธีกรรมเช่นในเวลาให้ศีล ต่อมาอนุโลมเรียกพัดที่ทำด้วยผ้าหรือไหมซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้นว่า ตาลปัตร ด้วย, ตาลิปัตร ก็ว่า. | ทอง ๑ | เรียกสิ่งที่ทำด้วยทองเหลือง ว่า ทอง ก็มี เช่น กระทะทอง หม้อทอง, โดยปริยายหมายถึงสีเหลือง ๆ อย่างสีทอง เช่น เนื้อทอง ผมทอง แสงทอง, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น ขนมทอง คือขนมชนิดหนึ่ง รูปวงกลม มีนํ้าตาลหยอดข้างบน, ปลาทอง คือปลาชนิดหนึ่ง ตัวสีเหลืองหรือแดงส้ม. | นิคหิต | (นิกคะหิด) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ ในภาษาบาลีและสันสกฤตมีเสียงอ่านเหมือนตัว ง และ ม สะกด ในภาษาไทยก็อนุโลมใช้ตาม เช่น จํหัน อ่านว่า จังหัน ชุนุ อ่านว่า ชุมนุม, นฤคหิต หรือ หยาดนํ้าค้าง ก็เรียก. | นิ้ว | น. ส่วนสุดของมือหรือเท้าแต่ละข้าง แยกออกเป็น ๕ กิ่ง คือ นิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วก้อย, ราชาศัพท์ว่า พระอังคุฐ พระดัชนี พระมัชฌิมา พระอนามิกา พระกนิษฐา โดยลำดับ, ถ้าเป็นนิ้วเท้านิ้วต้น เรียกว่า นิ้วหัวแม่เท้า นอกนั้นอนุโลมเรียกตามนิ้วมือ | โบสถ์ | น. สถานที่สำหรับพระสงฆ์ใช้ประชุมทำสังฆกรรม เช่น สวดพระปาติโมกข์ อุปสมบท มีสีมาเป็นเครื่องบอกเขต, อนุโลมเรียกสถานที่ประกอบพิธีกรรมของศาสนาอื่นว่า โบสถ์ เช่น โบสถ์พราหมณ์ โบสถ์คริสต์. (มาจากคำว่า อุโบสถ). | ประเทียบ ๒ | เรียกรถฝ่ายใน ว่า รถพระประเทียบ, เรียกเรือฝ่ายใน ว่า เรือพระประเทียบ, โดยอนุโลมเรียกรถประจำตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช ว่า รถพระประเทียบ. | ผ้าสาลู | น. ผ้าขาวบางเนื้อละเอียด, ในปัจจุบันอนุโลมเรียกผ้าขาวบางเนื้อนุ่ม มักใช้ทำเป็นผ้าอ้อม ว่า ผ้าสาลู ด้วย. | แฝด ๑ | ว. เป็นคู่ (ใช้เรียกลูกที่เกิดจากท้องแม่เดียวกัน ในระยะเวลาเดียวกันหรือใกล้กัน) เช่น มีลูกแฝด, โดยอนุโลมเรียกลูกที่เกิดจากท้องแม่คนเดียวกันแม้เกินกว่า ๒ คนก็ได้ เช่น แฝด ๓ แฝด ๖, ติดกันเป็นคู่ เช่น มะม่วงแฝด ผลไม้แฝด. | พระ | พระเจ้า, พระเยซู, (ตามที่คริสต์ศาสนิกชนในเมืองไทยใช้อนุโลมเรียก) เช่น พระลงโทษ แม่พระ | พลุ | (พฺลุ) น. ดอกไม้เพลิงชนิดหนึ่ง บรรจุดินปืนในกระบอกไม้ไผ่ เมื่อจุดมีเสียงระเบิดดังคล้ายเสียงปืน, โดยอนุโลมเรียกดอกไม้เพลิงอย่างอื่นที่จุดมีเสียงระเบิดดังเช่นนั้น ว่า พลุ. | มุ้งลวด | น. มุ้งที่ทำด้วยตาข่ายลวดตาละเอียด, โดยอนุโลมเรียกห้องที่ใช้ตาข่ายลวดตาละเอียดกรุประตู หน้าต่าง และช่องลมเพื่อกันยุงหรือแมลง ว่า ห้องมุ้งลวด. | รัชกาล | น. ช่วงเวลาที่ครองราชสมบัติของพระมหากษัตริย์พระองค์หนึ่ง ๆ, โดยอนุโลมใช้หมายถึงพระมหากษัตริย์รัชกาลนั้น ๆ เช่น รัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสต้น. | ลูก | เรียกสิ่งที่มีรูปกลม ๆ หรือยาว ๆ หรือโดยอนุโลมว่า ลูก เช่น ลูกกุญแจ ลูกเต๋า ลูกหิน | ฦ, ฦๅ ๑ | วิธีเขียนเสียง ลึ ลือ แต่บัญญัติเขียนเป็นอีกรูปหนึ่งต่างหาก อนุโลมตามอักขรวิธีของสันสกฤต. | สาบ ๓ | น. เรียกผ้าทาบที่อกเสื้อสำหรับติดดุมและเจาะรังดุม ว่า สาบเสื้อ, ปัจจุบันอนุโลมเรียกผ้าทาบที่คอ แขน กระเป๋า เป็นต้น เพื่อให้หนาขึ้น ว่า สาบคอ สาบแขน สาบกระเป๋า. | สาลู | น. ผ้าขาวเนื้อบางละเอียด, ในปัจจุบันอนุโลม เรียกผ้าขาวบางเนื้อนุ่ม มักใช้ทำเป็นผ้าอ้อม ว่า ผ้าสาลู ด้วย. | หญ้า ๑ | ใช้อนุโลมเรียกพรรณไม้ขนาดเล็กบางชนิดที่มิได้อยู่ในวงศ์ Gramineae เช่น หญ้าเกล็ดหอย หญ้างวงช้าง. | อันวย-, อันวัย | (อันวะยะ-) น. การเป็นไปตาม, การอนุโลมตาม, เช่น อันวยาเนกรรถประโยค. | อ้าย ๑ | โดยปริยายอนุโลมเรียกพี่ชายคนโต ว่า พี่อ้าย. | โอ ๓ | น. ภาชนะเครื่องเขินอย่างหนึ่งสำหรับใส่ของ รูปคล้ายขัน มีขนาดต่าง ๆ, ต่อมาได้อนุโลมเรียกขันเคลือบทรงสูง ว่า ขันโอ. |
| | | อนุโลม | [anulōm] (v) EN: adapt (to) ; comply (with) ; accomodate ; be adaptable ; modify FR: accéder ; satisfaire ; adapter | อนุโลมตาม | [anulōm tām] (v) EN: bend ; follow ; yield and comply | โดยอนุโลม | [dōi anulōm] (x) EN: by analogy ; mutatis mutandis | ไม่ยอมอนุโลม | [mai yøm anulōm] (xp) EN: make no exceptions FR: n'accepter aucune exception |
| deferent | (adj) ซึ่งอนุโลมได้, See also: เกี่ยวกับการคล้อยตาม, ซึ่งยอมให้ได้ | deferred | (adj) ยืดเวลา, See also: ยอมผ่อนผัน, ยอมอนุโลม, เลื่อนไปก่อน, Syn. ignore, postpone, waive | incompliant | (adj) ไม่ยอมโอนอ่อนผ่อนตาม (คำทางการ), See also: ไม่ยินยอม, ไม่อนุโลม, Ant. compliant |
| defer | (ดีเฟอร์') { deferred, deferring, defers } v. คล้อย, อนุโลม, เชื่อตาม, ทำตาม, ยึดเวลา, หน่วงเหนี่ยว, ผลัดผ่อน, ทำให้ล่าช้า, See also: deferable adj. ดูdefer deference n. ดูdefer | deferent | (เดฟ'เฟอเรินทฺ) adj. เกี่ยวกับการยอมตาม, เกี่ยวกับการคล้อยตาม, ซึ่งอนุโลม, ซึ่งนำส่ง, เกี่ยวกับการส่งออก, เกี่ยวกับท่อน้ำกาม | deferential | (เดฟฟะเริน'เชิล) adj. น่าเคารพนับถือ, ซึ่งอนุโลม | incompliant | (อินคัมไพล' เอินทฺ) adj. ไม่ยอม, ไม่ยินยอม, ไม่อนุโลม., See also: incompliance, incompliancy n. |
| comply | (vi) ยินยอม, อนุโลม, เชื่อฟัง, ไม่ขัดขืน, ว่าง่าย | defer | (vi) คล้อยตาม, ยอมตาม, อนุโลม, เชื่อตาม | deference | (n) การคล้อยตาม, การยอมตาม, การอนุโลม, การเชื่อฟัง, ความเคารพ | deferential | (adj) ซึ่งยอมตาม, ซึ่งอนุโลม, ว่าง่าย, นอบน้อม, น่าเคารพ | relative | (adj) สัมพันธ์, เกี่ยวข้องกัน, ได้ส่วน, โดยอนุโลม, โดยอุปมา |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |