Customs convention | อนุสัญญาทางศุลกากร [เศรษฐศาสตร์] |
Basel Convention | อนุสัญญาบาเซล, อนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดน, Example: อนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายและการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดน( Basel Convention On the Control of Transboundary Movements of Hazardous Wastes and their Disposal) เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศ ซึ่งกำหนดข้อตกลงระหว่างประเทศในการควบคุมการนำเข้า การส่งออก และการนำผ่านของเสียอันตรายข้ามแดนให้มีความปลอดภัย และไม่เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย และสิ่งแวดล้อมจึงเป็นอนุสัญญาที่ช่วยให้มีการควบคุมการขนส่งเคลื่อนย้าย และการกำจัดของเสียอันตรายข้ามแดนอย่างถูกต้อง และปลอดภัย ประเทศไทยได้มีการลงนามให้สัตยาบันเป็นภาคีอนุสัญญาดังกล่าวแล้ว โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2541 ทั้งนี้ กรมโรงงานอุตสาหกรรม รับผิดชอบปฏิบัติงานในฐานะหน่วยงานผู้มีอำนาจ (Competent Authority) และกรมควบคุมมลพิษปฏิบัติงานในฐานะศูนย์ประสานงาน (Focal Point) นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานอื่นๆ รับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้อง [สิ่งแวดล้อม] |
Rotterdam Convention | อนุสัญญารอตเตอร์ดัม, Example: อนุสัญญาว่าด้วยการค้าสารเคมีอันตรายที่ถูกห้ามใช้ หรือจำกัดการใช้ในระบบการค้าโลก (Rotterdam Convention on the Prior Informed Consent Procedure for Certain Hazardous Chemicals and Pesticides in International Trade)เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศ ซึ่งกำหนดข้อตกลงระหว่างประเทศในการควบคุมการนำเข้าและการส่งออกสารเคมีอันตรายที่ถูกห้ามใช้หรือจำกัดการใช้อย่างเข้มงวด และสูตรผสมของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่ก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรง ที่มีการซื้อขายระหว่างชาติ โดยประเทศผู้ผลิตหรือประเทศผู้ส่งออกสารเคมีอันตรายตามขอบเขตของอนุสัญญาดังกล่าว จะต้องแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าไปยังประเทศผู้นำเข้าเพื่อตอบรับก่อนจึงจะสามารถส่งออกสารเคมีอันตรายเหล่านั้นได้ จึงเป็นอนุสัญญาที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศสมาชิกในอันที่จะประเมินความเสี่ยงอันตรายจากสารเคมีก่อนการนำสารเคมีเข้ามาใช้ภายในประเทศ และยังเป็นการป้องกันมิให้มีการลักลอบทิ้งสารเคมีอันตรายที่อยู่ในระบบการค้าระดับสากล ทั้งนี้มีหน่วยงานรับผิดชอบ คือ กรมวิชาการเกษตร ในฐานะเป็น Designated National Authority (DNA) ด้านสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช และสัตว์ ซึ่งเป็นเครือข่ายขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) และกรมควบคุมมลพิษ ในฐานะเป็น DNA ของสารเคมีอื่นๆ นอกเหนือจากสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ และเป็นเครือข่ายของโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP / IRPTC) [สิ่งแวดล้อม] |
Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman, or Degrading Treatment or Punishment (1984) | อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี (ค.ศ. 1984) [TU Subject Heading] |
Convention Concerning Freedom of Association and Protection of the Right to Organise (1948) | อนุสัญญาว่าด้วยเรื่องเสรีภาพในการรวมตัวเป็นสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการจัดตั้ง (ค.ศ. 1948) [TU Subject Heading] |
Convention Concerning the Prohibition and Immediate Action for the Elimination of the Worst Forms of Child Labour (1999) | อนุสัญญาว่าด้วยการห้ามและการขจัดรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้แรงงานเด็ก (ค.ศ. 1999) [TU Subject Heading] |
Convention on Access to Information, Public Participation in Decision-making, and Access to Justice in Environmental Matters | อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1, อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1998) [TU Subject Heading] |
Convention on Biological Diversity (1992) | อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (ค.ศ. 1992) [TU Subject Heading] |
Convention on Biological Diversity (1992). Protocol, Etc., 2000 Jan. 29 | อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (ค.ศ. 1992). พิธีสาร, ฯลฯ, 29 มกราคม ค.ศ. 2000 [TU Subject Heading] |
Convention on Code for Liner Conferences 1974 | อนุสัญญาว่าด้วยประมวลความประพฤติของชมรมสายการเดินเรือ (ค.ศ. 1974) [TU Subject Heading] |
Convention on Desertification (1994) | อนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทราย (ค.ศ. 1994) [TU Subject Heading] |
Convention on International Civil Aviation (1944) | อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ค.ศ. 1944) [TU Subject Heading] |
Convention on International Interests in Mobile Equipment (2001) | อนุสัญญาว่าด้วยผลประโยชน์ระหว่างประเทศในอุปกรณ์เคลื่อนที่ (ค.ศ. 2001) [TU Subject Heading] |
Convention on international Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora (1973) | อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (ค.ศ. 1973) [TU Subject Heading] |
Convention on limitation of liability for Maritime Claims (1976) | อนุสัญญาว่าด้วยการจำกัดความรับผิดสำหรับสิทธิเรียกร้องทางทะเล (ค.ศ. 1976) [TU Subject Heading] |
Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination Against Women (1980) | อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (ค.ศ. 1980) [TU Subject Heading] |
Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination (1965) | อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (ค.ศ. 1965) [TU Subject Heading] |
Convention on the Prevention and Punishment of the Crime of Genocide (1948) | อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมทำลายล้างเผ่าพันธุ์ (ค.ศ. 1948) [TU Subject Heading] |
Convention on the Prevention of Marine Pollution by Dumping of Wastes and the Other Matter (1972) | อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันภาวะมลพิษทางทะเลจากการทิ้งเทของเสียและสสารอื่นๆ (ค.ศ. 1972) [TU Subject Heading] |
Convention on the Recognition and Enforcement of Foreign Arbitral Award (1958) | อนุสัญญาว่าด้วยการยอมรับและใช้บังคับตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ (ค.ศ. 1958) [TU Subject Heading] |
Convention on the Rights of Persons with Disabilities and Optional Protocol (2007) | อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการและพิธีสาร (ค.ศ. 2007) [TU Subject Heading] |
Convention on the Rights of the Child (1989) | อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (ค.ศ. 1989) [TU Subject Heading] |
Convention on Wetlands of International Importance Especially as Waterfowl Habitat, 1971 | อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่างประเทศโดยเฉพาะเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของนกน้ำ (ค.ศ. 1971) [TU Subject Heading] |
Convention Relation to Registration of Rights in Respect of Vessels under Construction, 1967 | อนุสัญญาว่าด้วยการจดทะเบียนซึ่งสิทธิบางประการของเรือที่อยู่ระหว่างการต่อ (ค.ศ. 1967) [TU Subject Heading] |
Geneva Cenventions (1949). Protocals, etc., 1977 June 8. | อนุสัญญาเจนีวา (ค.ศ. 1949). พิธีสาร, ฯลฯ 8 มิถุนายน ค.ศ.1977 [TU Subject Heading] |
Geneva protocal, 1948 | อนุสัญญาเจนีวา, ค.ศ. 1948 [TU Subject Heading] |
International Convention for the Saftey of Life at Sea (1974) | อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล (ค.ศ.1974) [TU Subject Heading] |
International Convention for the Protection of All Persons from Enforced Disappearance (2006) | อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย (ค.ศ. 2006) [TU Subject Heading] |
International Convention for the Unification of Certain Rules of Law Relating to Bills of Lading (1924) | อนุสัญญาว่าด้วยการทำให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันซึ่งกฎเกณฑ์บางประการที่เกี่ยวกับใบตราส่ง (ค.ศ. 1924) [TU Subject Heading] |
International Convention on the Establishment of an International Fund for Compensation for Oil Pollution Damage (1971) | อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการจัดตั้งกองทุนระหว่างประเทศเพื่อชดใช้ความเสียหายอันเนื่องมาจากมลพิษของน้ำมัน (ค.ศ. 1971) [TU Subject Heading] |
International Convention on the Establishment of an International Fund for Compensation for Oil Pollution Damage (1971) | อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการจัดตั้งกองทุนระหว่างประเทศเพื่อชดใช้ความเสียหายอันเนื่องมาจากมลพิษของน้ำมัน (ค.ศ. 1971) [TU Subject Heading] |
Maritime Labour Convention (2006) | อนุสัญญาแรงงานทางทะเล (ค.ศ. 2006) [TU Subject Heading] |
Paris Convention for the Protection of Industrial Property (1883) | อนุสัญญากรุงปารีสว่าด้วยความคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม (ค.ศ. 1883) [TU Subject Heading] |
United Nations Convention Against Transnational Organized Crime (2000) | อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร (ค.ศ. 2000) [TU Subject Heading] |
United Nations Convention against Corruption (2003) | อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต (ค.ศ. 2003) [TU Subject Heading] |
United Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods (1980) | อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ (ค.ศ.1980) [TU Subject Heading] |
United Nations Convention on the Law of the Sea (1982) | อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล (ค.ศ. 1982) [TU Subject Heading] |
United Nations Convention on the Carriage of Goods by sea (1978) | อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการขนส่งของทางทะเล (ค.ศ. 1978) [TU Subject Heading] |
United Nations Framework Convention on Climate Change (1992). Protocols, etc., 1997 Dec. 11. | อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ค.ศ.1992). พิธีสาร (11 ธ.ค. ค.ศ. 1997) [TU Subject Heading] |
Vienna Covention for the Protection of the Ozone Layer (1985). Protocols, etc. 1987 Sept. 15 | อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยการปกป้องชั้นบรรยากาศโอโซน (ค.ศ.1985). พิธีสาร, ฯลฯ, 15 กันยายน ค.ศ. 1987 [TU Subject Heading] |
Agreement | การที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง [การทูต] |
Break of Diplomatic Relations | การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] |
Convention on the Prohibition of the Development, Production and Stockpiling of Bacteriological (Biological) and Toxin Weapon an | Convention on the Prohibition of the Development, Production and Stockpiling of Bacteriological (Biological) and Toxin Weapon and on their Destruction = อนุสัญญาว่าด้วยการห้ามพัฒนา ผลิต และสะสมอาวุธบักเตรี (ชีวะ) และอาวุธทอกซิน และว่าด้วยการทำลายอาวุธเหล่านี้ (หรือเรียกสั้น ๆ ว่า อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ) [การทูต] |
Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman and Degrading Treatment or Punishment | อนุสัญญาต่อต้านการทรมาน และการปฏิบัติ หรือการลงโทษอื่น ที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี [การทูต] |
Convention on Biological Diversity | อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ [การทูต] |
Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Inju | Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Injurious or to Have Indiscriminate Effects = อนุสัญญาห้ามอาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้เกิดการบาด เจ็บร้ายแรงเกินความจำเป็นหรือก่อให้เกิดลโดยไม่จำกัดเป้าหมาย มีสาระสำคัญเกี่ยวกับการห้ามหรือหารจำกัดการใช้อาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้ เกิดผลกระทบร้ายแรงด้านมนุษยธรรม โดยสาระสำคัญของการ คอบคุมอาวุธตามแบบแต่ละชนิดจะถูกกำหนดไว้ในพิธีสารแต่ละฉบับต่างหาก ซึ่งในชั้นนี้ มีพิธีสาร 5 ฉบับ และรัฐต่างๆ สามารถเลือกยอมรับพิธีสารต่อท้ายอนุสัญญาฯ ฉบับใดก็ได้อย่างน้อยจำนวน 2 ฉบับ [การทูต] |
Conference on Disamament | การประชุมว่าด้วยการลดอาวุธ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2522 เพื่อเป็นเวทีเจรจาการลดอาวุธระหว่างประเทศ มีขอบเขตความรับผิดชอบเกี่ยวกับประเด็นด้านการลดอาวุธทุกด้าน และมีหน้าที่ รายงานต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติทุกปี ปัจจุบันมีสมาชิก 65 ประเทศ(ไทยมิได้เป็นสมาชิก) โดยที่ผ่านมาประสบผลสำเร็จในการเจรจาจัดทำความตกลงระหว่างประเทศ ด้านการลดอาวุธหลายฉบับ ที่สำคัญได้แก่ สนธิสัญญาไม่แพร่อาวุธนิวเคลียร์ อนุสัญญาห้ามเคมี อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ และสนธิสัญญาห้ามทดลองนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์ [การทูต] |
Convention on Elimination of All Forms of Discrimination Against Women | อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ ได้รับการรับรองจากที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2522 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน 2527 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบและเพื่อความ เสมอภาคระหว่างสตรีและบุรุษในทุกด้าน ขณะนี้มีประเทศต่าง ๆ เป็นภาคีอนุสัญญาฯ แล้ว 167 ประเทศ (ข้อมูลถึงกรกฎาคม 2543) ไทยยังคงมีข้อสงวนอีก 2 ข้อ ในอนุสัญญาฯ คือ ข้อ 16 เรื่องความเสมอภาคในด้านครอบครัวและการสมรส และ ข้อ 29 เรื่องการระงับการตีความ การระงับข้อพิพาท โดยรับอนุญาโตตุลาการ [การทูต] |
Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora | อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ [การทูต] |
Commencement of the Functions of the Head of Diplomatic Mission | การเริ่มต้นรับหน้าที่ของหัวหน้าคณะผู้แทนทางการ ทูต กล่าวคือ เมื่อหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตเดินทางไปถึงนครหลวงของประเทศผู้รับแล้ว ควรรีบแจ้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทราบว่า ตนได้เดินทางมาถึงแล้วและขอนัดเยี่ยมคารวะ ตามปกติกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ของอธิบดีกรมพิธีการทูตจะดำเนินการตระเตรียมให้หัวหน้าคณะ ผู้แทนทางการทูตได้เข้ายื่นสารตราตั้งต่อไประหว่างนั้น หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะต้องไม่ไปพบเยี่ยมผู้ใดเป็นทางการ จนกว่าจะได้ยื่นสารตราตั้งเรียบร้อยแล้ว อย่างไรก็ดี หัวหน้าคณะผู้แทนอาจขอพบเป็นการภายในกับหัวหน้าของคณะทูตานุทูต (Dean หรือ Doyen of the Diplomatic Corps) ได้ เพื่อขอทราบพิธีการปฏิบัติในการเข้ายื่นสารตราตั้งต่อประมุขของประเทศผู้รับ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนา ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 13 ว่า1. พึงถือได้ว่าหัวหน้าคณะผู้แทนได้เข้ารับภารกิจหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้งหรือเมื่อตนได้บอกกล่าวการมาถึงของตน พร้อมทั้งได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้งต่อกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกันในแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป2. ลำดับของการยื่นสารตราตั้ง หรือสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง จะได้พิจารณากำหนดตามวันและเวลาของการมาถึงของหัวหน้าคณะผู้แทน [การทูต] |