Search result for

*ส่วนร่วม*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ส่วนร่วม, -ส่วนร่วม-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ภาษา ไทยภาคอีสานตอนใต้ (TH-NE-S) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ดา(ว) คำแสดงความต้องการมีส่วนร่วม เช่น ฉันขอไปดา แปลว่า ฉันขอไปด้วย *หมายเหตุ ภาษาโคราช, See also: S. เบิ้ง, เดิ้่ง
เบิ้ง(ว) คำที่แสดงความรู้สึกต้องการทำร่วมหรือมีส่วนร่วม เช่น ฉันขอลองทำเบิ้ง แปลว่า ฉันขอลองทำบ้าง *ภาษาโคราช, See also: S. บ้าง, ด้วย

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
มีส่วนร่วม(v) participate in, See also: have a part in, have a hand in, Example: ผู้นำควรสนับสนุนให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการออกความคิดเห็นและตัดสินปัญหา, Thai Definition: มีส่วนในการทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับผู้อื่น
ผู้มีส่วนร่วม(n) participant, See also: participator, contributor, associate, Syn. หุ้นส่วน, Example: คุณปู่ของเขาเป็นผู้มีส่วนร่วมในการก่อตั้งสถาบันแห่งนี้, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความเกี่ยวข้อง, ผู้ที่ให้ความร่วมมือ

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ส่วนร่วมน. ส่วนได้ส่วนเสียในกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น เช่น มีส่วนร่วมในการบำเพ็ญกุศล มีส่วนร่วมในการทุจริต มีส่วนร่วมในการลงทุนบริษัท.
คนนอกน. บุคคลผู้ไม่มีส่วนร่วมหรือไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง, บุคคลซึ่งไม่ใช่สมาชิก.
บ้างว. ใช้ประกอบคำอื่นหมายความว่า บางจำนวนหรือบางส่วนของสิ่งที่กล่าวถึงโดยเฉพาะ เช่น อย่างนั้นบ้าง อย่างนี้บ้าง ขอบ้าง, บางส่วนของจำนวนรวมที่แบ่งเป็น ๒ เช่น เรื่องที่เล่าจริงบ้าง เท็จบ้าง, มีส่วนร่วม มีความหมายคล้ายคำว่า ด้วย เช่น ขอเล่นบ้าง ขอขี่จักรยานบ้าง, เอาอย่าง เช่น เห็นเขาทำก็ทำบ้าง.
สมาชิก ๑(สะมา-) น. ผู้มีสิทธิและมีส่วนร่วมในสมาคม องค์การ หรือกิจกรรมใด ๆ เช่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสมาคมศิษย์เก่า สมาชิกวารสาร, (ปาก) ลูกค้า, ขาประจำ, เช่น หมู่นี้สมาชิกไม่ค่อยมาอุดหนุนที่ร้านเลย.
เอี่ยวน. หุ้น, ส่วนร่วม.
เอี่ยวก. มีส่วนร่วม เช่น เรื่องนี้ขอเอี่ยวด้วยคน.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
pairwise disjointไม่มีส่วนร่วมทุกคู่ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
political culture, parochial-participant; parochial-participant political cultureวัฒนธรรมทางการเมืองในวงแคบแบบมีส่วนร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
political culture, subject-participantวัฒนธรรมทางการเมืองแบบข้าแผ่นดินมีส่วนร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
parochial-participant political culture; political culture, parochial-participantวัฒนธรรมทางการเมืองในวงแคบแบบมีส่วนร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
political participation; participation, politicalการมีส่วนร่วมทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
participant observerผู้สังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
participationการมีส่วนร่วม, การเข้าร่วม, การร่วม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
participation, political; political participationการมีส่วนร่วมทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
least common denominatorตัวส่วนร่วมน้อย [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
subject-participant political cultureวัฒนธรรมทางการเมืองแบบข้าแผ่นดินมีส่วนร่วม [ ดู parochial-subject political culture ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
observer, participantผู้สังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
common ratioอัตราส่วนร่วม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
copartnerผู้เป็นหุ้นส่วนร่วม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
common denominatorตัวส่วนร่วม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
contributoryการมีส่วนร่วม [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
contribution๑. การให้เงินช่วยเหลือ๒. การอุดหนุน๓. การเข้ามีส่วนร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
disjointไม่มีส่วนร่วม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
disjoint setsเซตไม่มีส่วนร่วม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
general average contributionส่วนร่วมชดใช้ความเสียหายร่วม [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
intersection๑. ส่วนร่วม๒. อินเตอร์เซกชัน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
intersection of graphsส่วนร่วมของกราฟ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
non-contributoryการไม่มีส่วนร่วม ดู contributory [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Workers participationการมีส่วนร่วมของคนทำงาน [เศรษฐศาสตร์]
Action researchการวิจัยเชิงปฏิบัติการ, การวิจัยแบบมีส่วนร่วม เน้นการปฏิบัติและมีการร่วมมือ ใช้การทำงานเป็นกลุ่ม ผู้ร่วมวิจัยทุกคนมีส่วนสำคัญและมีบทบาทเท่าเทียมกันในทุกกระบวนการของการวิจัย ทั้งการเสนอความคิดเชิงทฤษฎี และการปฏิบัติ ตลอดจนการวางนโยบายการวิจัย [Assistive Technology]
Field researchการวิจัยเชิงปฏิบัติการ, การวิจัยแบบมีส่วนร่วม เน้นการปฏิบัติและมีการร่วมมือ ใช้การทำงานเป็นกลุ่ม ผู้ร่วมวิจัยทุกคนมีส่วนสำคัญและมีบทบาทเท่าเทียมกันในทุกกระบวนการของการวิจัย ทั้งการเสนอความคิดเชิงทฤษฎี และการปฏิบัติ ตลอดจนการวางนโยบายการวิจัย [Assistive Technology]
Youth participationการมีส่วนร่วมของเยาวชน [TU Subject Heading]
Active learningการเรียนแบบมีส่วนร่วม [TU Subject Heading]
Audience participation television programsรายการโทรทัศน์ที่มีผู้ชมมีส่วนร่วม [TU Subject Heading]
Citizen participationการมีส่วนร่วมของพลเมือง [TU Subject Heading]
Convention on Access to Information, Public Participation in Decision-making, and Access to Justice in Environmental Mattersอนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1, อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1998) [TU Subject Heading]
Employee participationการมีส่วนร่วมของพนักงาน [TU Subject Heading]
Parent participationการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง [TU Subject Heading]
Participatory rural appraisalการประเมินชุมชนแบบมีส่วนร่วม [TU Subject Heading]
Political participationการมีส่วนร่วมทางการเมือง [TU Subject Heading]
Social participationการมีส่วนร่วมทางสังคม [TU Subject Heading]
Student participation in admintrationการมีส่วนร่วมทางการบริหารของนักเรียน [TU Subject Heading]
Student participation in admintrationการมีส่วนร่วมทางการบริหารของนักศึกษา [TU Subject Heading]
Teacher participation in administrationการมีส่วนร่วมทางการบริหารของครู [TU Subject Heading]
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategyยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต]
Bangkok Declaration : Global Dialogue and Dynamic Engagementปฏิญญากรุงเทพ : การหารือและการมีส่วนร่วมอย่างมีพลวัตของประชาคมโลก " หนึ่งในสองของเอกสารผลการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 ที่แสดงฉันทามติของประเทศสมาชิกอังค์ถัด 190 ประเทศ เกี่ยวกับผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งแสดงเจตนารมณ์ร่วมทางการเมืองของประเทศสมาชิกอังค์ถัดที่จะร่วมมือ กันดำเนินนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเพื่อทำให้สมาชิกทั้งหมด โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา ได้รับประโยชน์จากกระบวนการโลกาภิวัตน์ในด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม อีกทั้งเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในระบบเศรษฐกิจโลก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบของกระบวนการโลกาภิวัตน์ได้ แม้ปฏิญญากรุงเทพจะไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แต่ก็เป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมือง เป็นสัญญาประชาคมที่ทุกประเทศสมาชิกอังค์ถัดมีพันธะที่จะต้องปฏิบัติตามแนว นโยบายที่ได้ร่วมกันแถลงไว้ในเอกสารดังกล่าว และเอกสารนี้สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการเจรจาหารือระหว่างประเทศ เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศในเรื่องของการเงิน การค้า การลงทุน และการพัฒนาได้ " [การทูต]
civil societyประชาสังคม หมายถึง สังคมที่ประชาชนในระดับต่าง ๆ มีการรวมตัวกันอย่างแข็งแกร่ง เพื่อที่จะเข้ามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินทางเลือกสาธารณะ ที่มีผลกระทบต่อพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ของท้องถิ่นและประเทศโดยรวม [การทูต]
Consular office Declared ?Non grata?เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต]
equitable geographical distributionการกระจายตัวอย่างเท่าเทียมกันตามเขตภูมิศาสตร์ เป็นคำศัพท์เฉพาะที่ใช้ในกรอบสหประชาชาติ หมายถึง การมีส่วนร่วมและการเป็นตัวแทนของประเทศสมาชิกสหประชาชาติที่ตั้งอยู่ใน ภูมิภาคต่าง ๆ อย่างเท่าเทียมกัน [การทูต]
national reconciliationการปรองดองแห่งชาติ หมายถึง กระบวนการสร้างสันติภาพ และเอกภาพภายในชาติ โดยให้กลุ่มต่าง ๆ ที่ขัดแย้งกันได้มีส่วนร่วมในการกระบวนการดังกล่าว [การทูต]
Potsdam Proclamationคือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต]
proactive foreign policyนโยบายต่างประเทศเชิงรุก " เป็นนโยบายต่างประเทศของไทยในช่วงยุคหลังสงครามเย็นที่การแข่งขันและความขัด แย้งทางอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่างประเทศ ได้เกือบหมดสิ้นไป โดยประเทศไทยได้เน้นบทบาทนำทางการทูต และ มีส่วนร่วมรับผิดชอบในกิจการต่าง ๆ ของประชาคมระหว่างประเทศมากขึ้น " [การทูต]
United Nations Emergency Forceกองกำลังฉุกเฉินของสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 สมัชชาแห่งสหประชาชาติได้ขอรัองให้เลขาธิการสหประชาชาติเสนอแผนการภายใน 48 ชั่วโมง เพื่อจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติของสหประชาชาติ โดยได้รับอนุมัติจากชาติที่เกี่ยวข้อง ให้ทำหน้าที่ยุติและควบคุมดูแลการหยุดรบในประเทศอียิปต์ วันรุ่งขึ้น คือ วันที่ 5 พฤศจิกายน สมัชชาก็ได้ลงมติให้จัดตั้งกองบัญชาการแห่งสหประชาชาติขึ้นปรากฏว่า ผู้แทนของสหภาพโซเวียตได้กล่าวอ้างว่า การจัดตั้งกองกำลังดังกล่าวเป็นการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ โดยยกบทที่ 7 ของกฎบัตรขึ้นมาอ้างว่า คณะมนตรีความมั่นคงองค์กรเดียวเท่านั้น ที่กฎบัตรให้อำนาจจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติได้ ด้วยเหตุนี้ สหภาพโซเวียตและอีกบางประเทศจึงแถลงว่า จะไม่ยอมมีส่วนร่วมในการออกเงินค่าใช้จ่ายสำหรับกองกำลังดังกล่าวโดยเด็ดขาด พึงสังเกตว่า การที่สหภาพโซเวียตอ้างยืนยันว่า คณะมนตรีความมั่นคงเท่านั้นที่กฎบัตรสหประชาชาติให้อำนาจตั้งกองกำลังสห ประชาชาติได้ ก็เพราะหากยินยอมตามข้ออ้างของสหภาพโซเวียตดังกล่าว จะไม่มีทางจัดตั้งกองกำลังขึ้นได้เลย เพราะสหภาพโซเวียตจะใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคงอย่างไม่ต้องสงสัย [การทูต]
Work of the United Nations on Human Rightsงานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต]
Composite depreciation methodการคิดค่าเสื่อมราคาโดยวิธีส่วนร่วม [การบัญชี]
Composite depreciation rateอัตราค่าเสื่อมราคาโดยวิธีส่วนร่วม [การบัญชี]
Belongingnessความต้องการการมีส่วนร่วม [การแพทย์]
Community Participationประชาชนในท้องถิ่นมามีส่วนร่วม [การแพทย์]
Consumer Participationชุมชนมีส่วนร่วมในโครงการ [การแพทย์]
Ego-Involvementการให้คนมีส่วนร่วมรับผิดชอบในงานต่างๆ [การแพทย์]
public participationpublic participation, การมีส่วนร่วมของประชาชน [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
geometric sequence [ geometric progression ]ลำดับเรขาคณิต, ลำดับที่อัตราส่วนร่วมระหว่างพจน์ที่ n + 1 กับพจน์ที่ n มีค่าคงตัว  เช่น ลำดับ 1, 2, 4, 8,   [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
common ratioอัตราส่วนร่วม, อัตราส่วนระหว่างพจน์ที่ n + 1 กับพจน์ที่ n ของลำดับเรขาคณิต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
wikiวิกิ, รูปแบบการเผยแพร่ข้อมูลที่บุคคลต่างๆ ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญเฉพาะเรื่อง สามารถมีส่วนร่วมในการเป็นผู้ให้ข้อมูลใหม่ หรือเป็นผู้ปรับปรุงข้อมูลที่มีอยู่เดิมให้ถู่มกต้องและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น รายละเอียดของข้อมูลที่เผยแพร่ก่อให้เกิดประโยชน์กับบุคคลทั่วไป หรือก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
disjoint setsเซตไม่มีส่วนร่วม, เซต A และเซต B ไม่มีสมาชิกร่วมกันเลย เราเรียกเซตที่ไม่มีสมาชิกร่วมกันเลยว่า เซตไม่มีส่วนร่วม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
อัตราส่วนร่วม[attrāsuan ruam] (n, exp) EN: common ratio
การมีส่วนร่วม[kān mī suanruam] (n, exp) EN: participation
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม[kān wijai choēng patibatkān baēp mī suanruam] (n, exp) EN: Participatory Action Research (PAR)
มีส่วนร่วม[mī suanruam] (v) EN: participate in ; have a part in ; have a hand in
ผู้เป็นหุ้นส่วนร่วม[phūpenhunsuan ruam] (n, exp) EN: copartner
ส่วนร่วม[suanruam] (n) EN: share
ส่วนร่วมใน[suanrūam nai] (x) EN: contribution to

English-Thai: Longdo Dictionary
take part(vi) |in sth.| เข้าร่วม มีส่วนร่วม, Syn. participate

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
actor(n) ผู้กระทำ, See also: ผู้ที่มีส่วนร่วมในการกระทำ, Syn. doer, performer, participant
associate(adj) ซึ่งเกี่ยวเนื่อง, See also: ซึ่งมีส่วนร่วม
collective(adj) ที่มีส่วนร่วมโดยทุกคน, See also: โดยส่วนรวม, Syn. combined, common, cooperative, corporate, mutual, Ant. distributive
communion(n) การมีส่วนร่วม, Syn. sharing, participation
embroil in(phrv) ทำให้เป็นส่วนหนึ่งของ (สิ่งที่ไม่น่ายินดี), See also: ทำให้เข้าไปมีส่วนร่วมใน
engage in(phrv) ทำให้เกี่ยวพันกับ, See also: ทำให้เข้าร่วม, ทำให้มีส่วนร่วมกับ
figure in(phrv) มีส่วนร่วมใน, See also: ปรากฏตัวให้เห็น, Syn. have in
dissociation(n) การแยกออกจากกัน, See also: การตัดขาดจากกัน, การแยกตัว, การไม่มีส่วนร่วม, Syn. disunion, severance, disengagement
engage(vt) มีส่วนร่วม, Syn. involve, take part in
enter(vt) เข้าร่วม, See also: เข้าไปมีส่วนร่วม, เป็นสมาชิก, Syn. enroll, join, take part in
figure(vi) เป็นส่วนสำคัญ, See also: มีส่วนร่วม
get in on(phrv) มีส่วนร่วมใน (คำไม่เป็นทางการ), See also: แสดงนำใน, Syn. be in on, bring in on, come in on, get in, get into, let in on
get in(phrv) มีส่วนร่วม, Syn. get in on
implicate in(phrv) ทำให้เข้ามาพัวพัน, See also: มีส่วนร่วม, เข้ามามีส่วนร่วม
involve in(phrv) มีส่วนร่วมใน, See also: มีส่วนเกี่ยวข้องใน
involve with(phrv) เกี่ยวข้องกับ, See also: มีส่วนร่วมกับ
hand(n) ความมีส่วนร่วม
have one's finger in the pie(idm) เข้ามามีส่วนร่วม, See also: เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง
piece of the action(idm) มีส่วนร่วมในโครงการ, See also: ให้มีส่วนร่วมด้วย
imputable(adj) ซึ่งถูกฟ้องร้องดำเนินคดีว่ามีส่วนร่วมในการทำผิดกฎหมาย
industrial(n) การมีหุ้นส่วนร่วมกันของบริษัทอุตสาหกรรมหลายบริษัท
interest(vt) ทำให้เกี่ยวข้อง, See also: ทำให้เข้ามามีส่วนร่วม
involve(vt) ทำให้พัวพัน, See also: พาดพิงถึง, เกี่ยวข้อง, มีส่วนร่วม, Syn. implicate, concern
join in(phrv) มีส่วนร่วม, See also: เข้าร่วม, Syn. join in with
join in with(phrv) มีส่วนร่วม, See also: เข้าร่วม, Syn. join in
join(phrv) มีส่วนร่วม, See also: ประสมโรง, Syn. take part in, participate
muck in(phrv) มีส่วนร่วมใน (คำไม่เป็นทางการ), See also: ทำงานร่วมกันได้ดี
partake(vi) เข้าร่วม, See also: มีส่วนร่วม, Syn. participate, share, take, Ant. abstain, forgo
partaker(n) ผู้เข้าร่วม, See also: ผู้มีส่วนร่วม, Syn. sharer, participator
participant(n) ผู้มีส่วนร่วม, See also: ผู้เข้าร่วม, Syn. actor, contributor
participate(vi) มีส่วน, See also: มีส่วนร่วม, เข้าร่วม, ร่วมมือ, เกี่ยวข้อง, Syn. take part, Ant. abstain, forgo
participation(n) การมีส่วนร่วม, See also: การเข้าร่วม, การร่วมมือ, Syn. cooperation, sharing
partake in(phrv) มีส่วนร่วมกับ, See also: มีส่วนใน, Syn. participate in
partake of(phrv) มีส่วนใน, See also: มีส่วนร่วมใน บางสิ่ง
participate in(phrv) มีส่วนร่วมใน, See also: เข้าร่วม, Syn. partake in
participate with(phrv) มีส่วนร่วมกับ
share(n) ส่วน, See also: ส่วนแบ่ง, ส่วนร่วม, หุ้นส่วน, Syn. allotment, quota, portion
share in(phrv) มีส่วนร่วมใน, See also: มีส่วนใน
sit out(phrv) ไม่มีส่วนร่วมใน
eer(suf) ผู้มีส่วนร่วม
take part in(phrv) เข้าไปมีส่วนร่วม, See also: ประสมโรง

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
associate(อะโซ'ชีเอท) vt., vi. เกี่ยวเนื่อง, เข้าร่วม, มีส่วนร่วม, เชื่อมสัมพันธ์กัน, คบค้าสมาคม.
common fractionn. เศษส่วนร่วม
complex fractionn. เศษส่วนร่วม, เศษส่วนประกอบ -Conf. complicated
participation(พาร์ทิส'ซะเพ'เชิน) n. การเข้าร่วม, การมีส่วนร่วม
share(แชร์) n. ส่วน, ส่วนหนึ่ง, ส่วนแบ่ง, ส่วนร่วมมือ, ส่วนที่รับผิดชอบ, หุ้นส่วน vt. แบ่งส่วน, แบ่งสรร, แบ่งเฉลี่ย, แบ่ง, แบ่งกำไร. vi. มีส่วน, ร่วมส่วน, ร่วมหุ้น, ร่วมกันทำ, ร่วมกันรับ, ร่วมกันรับผิดชอบ, See also: sharable adj. shareable adj. sharer n.

English-Thai: Nontri Dictionary
accomplice(n) ผู้สมรู้ร่วมคิด, ผู้สมคบ, ผู้มีส่วนร่วม
participant(n) ผู้มีส่วนร่วม, ผู้ร่วมมือ, ผู้ร่วมกระทำ
participate(vi) เข้าร่วม, ร่วมมือ, สมทบ, มีส่วนร่วม
participation(n) การเข้าร่วม, ความร่วมมือ, การมีส่วนร่วม

Japanese-Thai: Longdo Dictionary
片棒[かたぼう, katabou] (n) มีส่วนร่วม, ผู้สมคบ, ผู้ร่วมมือ

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
市民参加[しみんさんか, shiminsanka] (n) การมีส่วนร่วมของประชาชน

Japanese-Thai-English: Saikam Dictionary
(株)[かぶしきがいしゃ, kabushikigaisha] TH: บริษัทที่มีการถือหุ้นส่วนร่วมกัน
携わる[たずさわる, tazusawaru] TH: มีส่วนร่วมในกิจกรรม  EN: to take part

German-Thai: Longdo Dictionary
Beitrag(n) |der, Beiträge| การช่วยเหลือ, การสนับสนุน, การมีส่วนร่วม เช่น Australien will als Beitrag zum Umweltschutz Glühbirnen verbieten.
sich beteiligen(vt) |beteiligte sich, hat sich beteiligt, an + D| เข้าร่วม, มีส่วนร่วมใน เช่น Er hat sich an der Demonstration beteiligt., Syn. teilnehmen

German-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
mitentscheinden(vi, vt) | entscheidest mit, entschied mit, hat mitentschieden | (mit OBJ/ohne OBJ) <jmd. entscheidet mit> มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top