มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ สารประกอบ | (n) compound, See also: chemical compound, Example: การแบ่งภูมิอากาศจำเป็นต้องพิจารณาจากสารประกอบที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ และพืชพันธุ์มากที่สุด, Count Unit: ตัว, ชนิด, Thai Definition: สารที่เกิดจากธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกันโดยอาศัยปฏิกิริยาเคมีและมีอัตราส่วนผสมคงที่เสมอ | สารประกอบ | (n) compound, See also: chemical compound, Example: การแบ่งภูมิอากาศจำเป็นต้องพิจารณาจากสารประกอบที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ และพืชพันธุ์มากที่สุด, Count Unit: ตัว, ชนิด, Thai Definition: สารที่เกิดจากธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกันโดยอาศัยปฏิกิริยาเคมีและมีอัตราส่วนผสมคงที่เสมอ |
| สารประกอบ | น. สารที่เกิดจากธาตุตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกันโดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี และมีอัตราส่วนผสมคงที่เสมอ. | กาเฟอีน | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทพิวรีน มีสูตรเคมี C<sub>8</sub>H<sub>10</sub>O<sub>2</sub>N<sub>4</sub> ลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีในใบชา เมล็ดกาแฟ เป็นยาเสพติดอย่างอ่อน มีฤทธิ์อย่างแรงต่อหัวใจ ใช้ในการแพทย์. | เกลือ | สารประกอบซึ่งประกอบด้วยโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะกับอนุมูลกรด. | แกลเลียม | (แกน-) น. ธาตุลำดับที่ ๓๑ สัญลักษณ์ Ga เป็นโลหะสีขาวคล้ายเงิน ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๙.๗๘ °ซ. เดือดที่ ๒๑๐๐ °ซ. ใช้ทำเทอร์โมมิเตอร์ชนิดใช้วัดอุณหภูมิสูง ๆ สารประกอบแกลเลียมอาร์เซไนด์ใช้ประโยชน์เป็นวัตถุกึ่งตัวนำ. | ไขมัน | น. สารประกอบอินทรีย์จำพวกหนึ่งมีทั้งในสัตว์และพืช ไม่ละลายน้ำ, ถ้าเป็นของเหลวในอุณหภูมิปรกติเรียก น้ำมัน, ถ้าเป็นของแข็งในอุณหภูมิปรกติเรียก ไข. (อ. fat) | ไขมัน | เรียกเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดหนึ่งในคนและสัตว์บางชนิดซึ่งสะสมสารประกอบอินทรีย์ดังกล่าวไว้มากโดยเฉพาะบริเวณหน้าท้องหรือในผนังหน้าท้อง มีลักษณะนุ่ม ๆ หยุ่น ๆ, มัน ก็ว่า. | ควินิน | (คฺวินิน) น. ชื่อสารประกอบประเภทแอลคาลอยด์ ใช้เป็นยารักษาโรคไข้จับสั่น สกัดได้จากเปลือกต้นซิงโคนา. | คาร์โบไฮเดรต | (-เดฺรด) น. ชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ส่วนใหญ่มีสูตรเคมี C<sub>x</sub>(H<sub>2</sub>O)<sub>y</sub> แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ คือ นํ้าตาลและพอลิแซ็กคาไรด์ เป็นสารอาหารที่สำคัญมากประเภทหนึ่ง. | เคมีอนินทรีย์ | (-อะนินซี) น. วิชาเคมีแขนงที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับธาตุทั้งสิ้นและสารประกอบของธาตุเหล่านั้น ยกเว้นธาตุคาร์บอนซึ่งศึกษาแต่เพียงตัวธาตุคาร์บอน สารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนตเท่านั้น. | เคมีอินทรีย์ | น. วิชาเคมีแขนงที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับสารประกอบทั้งสิ้นของธาตุคาร์บอน ยกเว้นเรื่องสารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนต. | แคลเซียมคาร์ไบด์ | น. ชื่อสารประกอบ มีสูตรเคมี CaC<sub>2</sub> ลักษณะเป็นของแข็งสีเทา เมื่อทำปฏิกิริยากับนํ้าจะได้แก๊สอะเซทิลีนซึ่งจุดไฟติดให้ความสว่าง ใช้เป็นตะเกียงได้. | แคลเซียมไซคลาเมต | น. ชื่อสารประกอบ มีสูตรเคมี (C<sub>6</sub>H<sub>11</sub>NHSO<sub>3</sub>)<sub>2</sub>Ca. 2H<sub>2</sub>O ลักษณะเป็นผงสีขาว ละลายนํ้าได้ มีรสหวานมากกว่านํ้าตาลทรายมาก ใช้เป็นตัวให้ความหวานในเครื่องดื่ม มีหลักฐานว่าสารนี้ก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้. | โคบอลต์ | น. ธาตุลำดับที่ ๒๗ สัญลักษณ์ Co เป็นโลหะแข็งสีเงิน หลอมละลายที่ ๑๔๙๕ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือเพื่อให้มีสมบัติพิเศษบางประการ เช่น ผสมกับเหล็กทำให้มีความแข็งแกร่งยิ่งขึ้น และเมื่อนำไปทำเป็นแม่เหล็กก็จะได้แม่เหล็กที่มีกำลังมากเป็นพิเศษ ในอุตสาหกรรมเครื่องแก้วและเครื่องดินเผาใช้สารประกอบของโคบอลต์เป็นตัวให้สีนํ้าเงิน. | จาดตะกั่ว | น. สารประกอบชนิดหนึ่งของธาตุตะกั่ว เป็นสารสี สีขาว มีสูตร 2PbCO<sub>3</sub>·Pb(OH)<sub>2</sub> ใช้เป็นองค์ประกอบของสีทาบางประเภท. | เจอร์เมเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๓๒ สัญลักษณ์ Ge เป็นโลหะสีขาว เปราะ หลอมละลายที่ ๙๓๗.๔ <sup>º</sup>ซ. มีสมบัติเป็นกึ่งตัวนำ สารประกอบแมกนีเซียมเจอร์เมเนต ใช้ประโยชน์ในหลอดวาวแสง (fluorescent lamp). | ซินนามิก | น. กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C<sub>6</sub>H<sub>5</sub>CH : CHCOOH เป็นของแข็ง ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายนํ้าได้บ้างเล็กน้อย มีปรากฏในธรรมชาติทั้งในภาวะอิสระ และในภาวะรวมตัวเป็นสารประกอบกับสารอื่น มี ๒ ชนิด ชนิดหนึ่งหลอมละลายที่ ๔๒ <sup>º</sup>ซ. อีกชนิดหนึ่งหลอมละลายที่ ๑๓๓ <sup>º</sup>ซ. โดยทั่วไปหมายถึงชนิดหลัง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมเครื่องหอม. | เซลลูลอยด์ | น. สารประกอบประเภทเทอร์โมพลาสติกชนิดหนึ่ง ทำได้จากปฏิกิริยาของเซลลูโลสไนเทรต การบูร และเอทิลแอลกอฮอล์ ลักษณะเป็นของแข็ง ติดไฟง่ายมาก. | เซลลูโลส | น. สารประกอบคาร์โบไฮเดรตประเภทโพลีแซ็กคาไรด์ชนิดที่ซับซ้อน มีสูตรเคมี (C<sub>6</sub>H<sub>10</sub>O<sub>5</sub>)<sub>n</sub>ประกอบด้วยโมเลกุลของกลูโคสมากมายเชื่อมโยงกัน เซลลูโลสเป็นองค์ประกอบสำคัญของเนื้อไม้ ฝ้าย ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมพลาสติก กระดาษ ไหมเทียม ดินระเบิด ฟิล์มภาพยนตร์ หรือฟิล์มถ่ายรูปชนิดไม่ไวไฟ เป็นต้น. | แซ็กคาริน | น. ชื่อสารประกอบเคมี มีสูตร C<sub>6</sub>H<sub>4</sub>SO<sub>2</sub>·CONH ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้เล็กน้อย มีความหวานประมาณ ๕๕๐ เท่าของนํ้าตาลทราย ไม่มีคุณค่าทางอาหาร ในทางแพทย์ใช้แทนนํ้าตาลทรายสำหรับคนไข้ที่เป็นโรคเบาหวานและคนที่อ้วนมาก. | แซ็กคารินโซเดียม | น. แซ็กคารินซึ่งผลิตออกในรูปสารประกอบโซเดียม ละลายนํ้าได้ดี มีความหวานประมาณ ๔๐๐ เท่าของนํ้าตาลทราย ไม่มีคุณค่าทางอาหาร ใช้ได้อย่างแซ็กคาริน. | โซดาแผดเผา | น. สารประกอบชนิดหนึ่ง ชื่อโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เป็นของแข็งสีขาว ดูดความชื้นดีมาก ละลายนํ้าได้ดี ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำสบู่ ไหมเรยอง, โซดาไฟ หรือ คอสติกโซดา ก็เรียก. | โซเดียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๑ สัญลักษณ์ Na เป็นโลหะสีขาวคล้ายโลหะเงิน เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๙๗.๘ <sup>º</sup>ซ. สารประกอบสำคัญของธาตุนี้ที่พบมาก คือ เกลือแกง. | โซเดียมไซคลาเมต | น. ชื่อสารประกอบเคมี มีสูตร C<sub>6</sub>H<sub>11</sub>NHSO<sub>3</sub>Na ลักษณะเป็นผงสีขาว ละลายนํ้าได้ มีรสหวานกว่านํ้าตาลทรายมาก ใช้เป็นตัวให้ความหวานในเครื่องดื่ม มีหลักฐานว่าสารนี้ก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้. | ด่าง ๑ | สารประกอบจำพวกไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไล ซึ่งละลายนํ้าได้ดี มีรสฝาด ถูกมือลื่นคล้ายสบู่. | ดีดีที | น. ชื่อสารประกอบเคมี มีชื่อเต็มว่า dichloro-diphenyltrichloroethane มีสูตร (C<sub>6</sub>H<sub>4</sub>Cl)<sub>2</sub>CHCCl<sub>3</sub> ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว ใช้ประโยชน์เป็นสารอย่างแรงในการฆ่าแมลง. | ไดแซ็กคาไรด์ | น. สารประกอบคาร์โบไฮเดรตจำพวกนํ้าตาลที่ประกอบด้วย โมโนแซ็กคาไรด์ ๒ โมเลกุลเชื่อมกัน มีสูตรโมเลกุล C<sub>12</sub>H<sub>22</sub>O<sub>11</sub>. | ตะกั่ว | ธาตุลำดับที่ ๘๒ สัญลักษณ์ Pb เป็นโลหะสีขาวแกมนํ้าเงิน ลักษณะเป็นของแข็ง เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๓๒๗.๔ °ซ. ใช้ประโยชน์ผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ สารประกอบของตะกั่วใช้ในอุตสาหกรรมสีทา ตะกั่วและสารประกอบของตะกั่วเป็นพิษต่อร่างกาย. | ตะกั่วแดง | น. สารประกอบประเภทออกไซด์ของตะกั่ว มีสูตร Pb<sub>3</sub>O<sub>4</sub> ลักษณะเป็นผงละเอียดสีแดงเข้ม ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำสีทา และทำแก้ว, เสน ก็เรียก. | ทีเอ็นที | น. สารประกอบอินทรีย์ ชื่อเต็มคือ ไทรไนโทรโทลูอีน (trinitrotoluene) มีสูตร C<sub>7</sub>H<sub>5</sub>(NO<sub>2</sub>)<sub>3</sub> ลักษณะเป็นของแข็ง มีรูปผลึกสีเหลืองอ่อน หลอมละลายที่ ๘๒˚ซ. เป็นวัตถุระเบิดชนิดร้ายแรง. | น้ำ | น. สารประกอบซึ่งมีองค์ประกอบเป็นธาตุไฮโดรเจนและออกซิเจนในอัตราส่วน ๑ : ๘ โดยนํ้าหนัก เมื่อบริสุทธิ์มีลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี กลิ่น รส มีประโยชน์มาก เช่นใช้ดื่ม ชำระล้างสิ่งสกปรก, โบราณถือว่าเป็น ธาตุ ๑ ในธาตุ ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม, ใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะเป็นนํ้าหรือเหลวเหมือนนํ้า เช่น นํ้าตา นํ้าปลา นํ้าส้ม | น้ำตาล | น. สารประกอบคาร์โบไฮเดรตประเภทโมโนแซ็กคาไรด์และไดแซ็กคาไรด์ ซึ่งมีรสหวาน โดยมากได้จากตาล มะพร้าว อ้อย, ถ้าเป็นความหมายเฉพาะอย่างและทำด้วยอะไร ก็เติมคำนั้น ๆ ลงไป เช่น ทำจากตาล เรียกว่า นํ้าตาลโตนด, ทำจากมะพร้าว เรียกว่า นํ้าตาลมะพร้าว, ทำจากอ้อย แต่ยังไม่ได้ทำให้เป็นนํ้าตาลทราย เรียกว่า นํ้าตาลทรายดิบ, ทำเป็นเม็ด ๆ เหมือนทราย เรียกว่า นํ้าตาลทราย, ทำเป็นผงละเอียดหรือจับกันเป็นก้อน ๆ สีนํ้าตาล เรียกว่า นํ้าตาลทรายแดง, ทำเป็นก้อนแข็งเหมือนกรวด เรียกว่า นํ้าตาลกรวด, ทำเป็นงบ เรียกว่า นํ้าตาลงบ, เคี่ยวให้ข้น ๆ เรียกว่า นํ้าตาลตงุ่น, หยอดใส่ใบตาลหรือใบตองแห้งทำเป็นรูปปี่ เรียกว่า นํ้าตาลปี่, หยอดเป็นปึก เรียกว่า นํ้าตาลปึก, หยอดใส่หม้อ เรียกว่า นํ้าตาลหม้อ, บรรจุใส่ปีบ เรียกว่า น้ำตาลปีบ หรือ น้ำตาลปี๊บ, รองมาใหม่ ๆ ยังไม่ได้เคี่ยว เรียกว่า นํ้าตาลสด, ถ้าต้มให้เดือด เรียกว่า นํ้าตาลลวก, ถ้าใส่เปลือกตะเคียน มะเกลือ หรือเคี่ยม เป็นต้น หมักไว้ระยะหนึ่งจนมีแอลกอฮอล์ กินแล้วเมา เรียกว่า นํ้าตาลเมา. | น้ำผลึก | น. โมเลกุลของนํ้าที่ประกอบอยู่กับโมเลกุลของสารประกอบบางชนิดเมื่ออยู่ในภาวะเป็นรูปผลึก. | นิโคติน | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทแอลคาลอยด์ มีสูตร C<sub>10</sub>H<sub>14</sub>N<sub>2</sub> ลักษณะเป็นของเหลวข้น มีจุดเดือด ๒๔๗ °ซ. เป็นพิษอย่างแรง มีปรากฏอยู่ในใบยาสูบ. | ไนลอน | น. สารประกอบอินทรีย์ซึ่งสังเคราะห์ขึ้น มีโมเลกุลขนาดใหญ่ มักผลิตให้เป็นเส้นใยเล็ก ๆ ซึ่งนำไปฟั่นเป็นเส้นด้ายหรือเส้นเชือกที่มีความเหนียวมาก หรือนำไปทอเป็นผ้าได้, เรียกสิ่งที่ทำจากเส้นใยนั้น เช่น ผ้าไนลอน เชือกไนลอน. | แบเรียม | น. ธาตุลำดับที่ ๕๖ สัญลักษณ์ Ba เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเงิน เนื้ออ่อน เมื่อถูกอากาศสีจะหมองลงอย่างรวดเร็ว หลอมละลายที่ ๗๑๔ °ซ. สารประกอบของแบเรียมใช้ในอุตสาหกรรมทำสี ทำแก้ว และทำดอกไม้ไฟ. | โบรมีน | น. ธาตุลำดับที่ ๓๕ สัญลักษณ์ Br เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของเหลว สีแดงเข้ม ระเหยเป็นไอได้ง่าย มีกลิ่นฉุนจัด เป็นพิษ ระคายเยื่อจมูก เดือดที่ ๕๘.๘ °ซ. สารประกอบของโบรมีนใช้เป็นยาและใช้ในการถ่ายรูป. | ปรอท | (ปะหฺรอด) น. ธาตุลำดับที่ ๘๐ สัญลักษณ์ Hg เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของเหลว สีเงิน แข็งตัวที่ -๓๘.๓๖ °ซ. เดือดที่ ๓๕๗ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปทำเทอร์โมมิเตอร์ บารอมิเตอร์ โลหะเจือซึ่งเรียกว่า อะมัลกัม (amalgam) ใช้ในงานทันตกรรมและทำเครื่องมือวิทยาศาสตร์อื่น ๆ สารประกอบของปรอทเป็นพิษ แต่บางอย่างใช้เป็นยาได้. (อ. mercury) | โปรตีน | (โปฺร-) น. สารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนของไนโตรเจน มีโมเลกุลขนาดใหญ่ประกอบด้วยกรดแอมิโนหลายชนิดเชื่อมโยงกัน เป็นสารประกอบที่สำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดซึ่งจำเป็นต้องใช้เพื่อสร้างเนื้อเยื่อของร่างกาย. | พลาสติก | น. สารประกอบอินทรีย์ที่สังเคราะห์ขึ้นใช้แทนวัสดุธรรมชาติ บางชนิดเมื่อเย็นก็แข็งตัว เมื่อถูกความร้อนก็อ่อนตัว บางชนิดแข็งตัวถาวร มีหลายชนิด เช่น ไนลอน ยางเทียม ใช้ทำสิ่งต่าง ๆ เช่น เสื้อผ้า ฟิล์ม ภาชนะ ส่วนประกอบเรือหรือรถยนต์. | พาราฟิน | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทหนึ่งซึ่งมีสูตร C<sub>n</sub>H<sub>2n+2</sub>ในเมื่อ n = 1, 2, 3, … ในปัจจุบันเรียกสารประกอบประเภทนี้ ว่า อัลเคน (alkane). (อ. paraffin) | พาราฟิน | ชื่อนํ้ามันประเภทหนึ่ง ซึ่งมีจุดเดือดอยู่ระหว่าง ๒๐๐ °-๓๐๐ °ซ. เป็นสารผสมของสารประกอบอินทรีย์ซึ่งมีสูตร C<sub>n</sub>H<sub>2n+2</sub> ในเมื่อ n = 12-16 ได้มาจากการนำนํ้ามันปิโตรเลียมมากลั่น ใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงได้, นํ้ามันก๊าด ก็เรียก. (อ. paraffin oil) | พาราฟิน | ชื่อของแข็งประเภทหนึ่ง ลักษณะสีขาวโปร่งแสง หลอมละลายระหว่าง ๕๐ °-๖๐ °ซ. เป็นสารผสมของสารประกอบอินทรีย์ซึ่งมีสูตร C<sub>n</sub>H<sub>2n+2</sub> ในเมื่อ n = 20-30 ใช้ประโยชน์ทำเทียนไข กระดาษไข ยาขัด เป็นต้น. | มอร์ฟีน | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทแอลคาลอยด์ มีสูตร C<sub>17</sub>H<sub>19</sub>O<sub>3</sub>N ลักษณะเป็นผลึกสีขาว หลอมละลายที่ ๒๕๔ °ซ. มีในฝิ่น เป็นยาเสพติดอย่างแรง ทางแพทย์ใช้เกลือไฮโดรคลอไรด์หรือเกลือแอซีเทต หรือเกลือซัลเฟตของมอร์ฟีนเป็นยาระงับความปวด. | มีเทน | น. สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นแก๊ส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไวไฟ มีสูตร CH<sub>4</sub> มีปรากฏในที่ซึ่งมีสารอินทรีย์ผุพังเน่าเปื่อย ในบ่อถ่านหิน ในแก๊สธรรมชาติ ใช้ประโยชน์เป็นแก๊สเชื้อเพลิง และใช้ในอุตสาหกรรมสังเคราะห์โปรตีนเป็นต้น. | เมนทอล | น. สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C<sub>10</sub>H<sub>20</sub>O ลักษณะเป็นผลึกสีขาว หลอมละลายที่ ๔๒ °ซ. มีกลิ่นหอมเย็น มีอยู่ในนํ้ามันหอมระเหยที่ได้จากพืชบางชนิด เช่น นํ้ามันมินต์ซึ่งสกัดจากใบมินต์ ใช้ประโยชน์ในทางยาปรุงกลิ่นและปรุงรส. | โมโนแซ็กคาไรด์ | น. สารประกอบคาร์โบ-ไฮเดรตจำพวกนํ้าตาล ส่วนมากเป็นพวกที่มีสูตรโมเลกุล C<sub>6</sub>H<sub>12</sub>O<sub>6</sub> (hexoses) หรือ C<sub>5</sub>H<sub>10</sub>O<sub>5</sub> (pentoses), มอโนแซ็กคาไรด์ ก็ว่า. | แร่ ๑ | น. ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มีสูตรเคมีและสมบัติอื่น ๆ ที่แน่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้ในวงจำกัดและนำมาถลุงได้ เช่น แร่ดีบุกนำมาถลุงได้โลหะดีบุก แร่ทองคำนำมาถลุงได้โลหะทองคำ. | ลิตมัส | (ลิดมัด) น. สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่งลักษณะเป็นผงสีม่วง ละลายนํ้าได้ สารละลายลิตมัสให้สีแดงเมื่อถูกกรด แต่ให้สีนํ้าเงินเมื่อถูกด่าง ใช้ประโยชน์ในเคมีวิเคราะห์และใช้ทดสอบสภาพกรดหรือด่างของดิน. | สตริกนิน | (สะตฺริก-) น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทแอลคาลอยด์ มีสูตร C<sub>21</sub>H<sub>22</sub>N<sub>2</sub>O<sub>2</sub> ลักษณะเป็นผลึกหรือผงสีขาว ละลายได้เล็กน้อยในนํ้า หลอมละลายที่ ๒๖๘ °-๒๙๐ °ซ. เป็นพิษอย่างแรง. | สังเคราะห์ | ก. ทำให้ธาตุมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบ, ทำให้สารประกอบมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบอื่น. |
| papers, second | เอกสารประกอบ (คำร้องขอแปลงสัญชาติ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | second papers | เอกสารประกอบ (คำร้องขอแปลงสัญชาติ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
|
| Surphur compounds | สารประกอบซัลเฟอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Boron compounds | สารประกอบโบรอน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Aromatic compounds | สารประกอบอะโรมาติก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Volatile organic compounds | สารประกอบอินทรีย์ระเหย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Hydrocarbon | ส่วนประกอบสำคัญของปิโตรเลียม, ส่วนประกอบสำคัญของปิโตรเลียมไม่ว่าจะเป็นก๊าซธรรมชาติหรือน้ำมันดิบ คือ คาร์บอน (C) และ ไฮโดรเจน (H) ในรูปของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (hydrocarbon) นอกจากนี้ก็มีสารอื่นๆที่เป็นส่วนประกอบของปิโตรเลียม เช่น กำมะถัน (S) ไนโตรเจน (N) และอื่นๆ, Example: สารที่นอกเหนือจากไฮโดรคาร์บอนถือเป็นสิ่งแปลกปลอมและไม่เป็นที่ต้องการ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของปิโตรเลียมนั้น อาจอยู่ในสภาพของก๊าซ ของเหลว หรือของแข็ง ที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศ ขึ้นอยู่กับจำนวนและการจัดตัวของอะตอมของคาร์บอนในโมเลกุล โดยทั่วไปโมเลกุลของไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนไม่เกิน 4 อะตอมจะมีสถานะเป็นก๊าซ ถ้ามีคาร์บอนระหว่าง 5-19 อะตอม จะมีสถานะเป็นของเหลว และถ้ามีคาร์บอนตั้งแต่ 20 อะตอมขึ้นไป จะมีสถานะเป็นของแข็ง [ปิโตรเลี่ยม] | Boron Neutron Capture Therapy | บีเอ็นซีที, รังสีรักษาโดยการจับยึดนิวตรอน, การรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งบางชนิด โดยการฉีดสารประกอบโบรอนเสถียรให้ไปสะสมในเซลล์มะเร็ง แล้วฉายรังสีนิวตรอนไปที่บริเวณนั้น อะตอมโบรอนจะจับยึดนิวตรอนไว้กลายเป็นโบรอนกัมมันตรังสี ซึ่งจะสลายพร้อมกับปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมาทำลายเซลล์มะเร็งนั้น (ดู neutron capture ประกอบ) [นิวเคลียร์] | X-ray diffraction analysis | การวิเคราะห์โดยการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์, การวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ เพื่อหาโครงสร้างของอะตอม หรือโมเลกุลในธาตุ หรือสารประกอบที่มีการเรียงตัวเป็นระเบียบซ้ำๆ กัน เช่น เพชร โซเดียมคลอไรด์ รวมทั้งชีวโมเลกุลที่มีโครงสร้างซับซ้อน เช่น โปรตีน กรดนิวคลีอิก [นิวเคลียร์] | Specific activity | กัมมันตภาพจำเพาะ, กัมมันตภาพของนิวไคลด์กัมมันตรังสี ต่อมวลของธาตุ หรือสารประกอบ เช่น มิลลิคูรีต่อมิลลิกรัม (mCi/mg) คูรีต่อโมล (Ci/mol) [นิวเคลียร์] | Radiotherapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] | Radioprotector | สารลดผลของรังสี, สารหรือยาลดประสิทธิภาพของรังสีในการทำลายเซลล์ เช่น สารประกอบที่มีกลุ่มซัลฟ์ไฮดริล (sulfhydryl, -SH) ทั้งนี้เซลล์จะต้องมีสารกลุ่มนี้อยู่ในขณะที่ได้รับรังสีจึงจะเกิดผลในการป้องกันการทำลายเซลล์ ถึงแม้เซลล์ได้รับสารนี้ในทันทีหลังการได้รับรังสี ก็จะไม่มีผลในการป้องกันใดๆ [นิวเคลียร์] | Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Radiolytic product | ผลผลิตการแยกสลายด้วยรังสี, สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีสารใดๆ เช่น การฉายรังสีอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และ เกิดการแยกสลาย ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียรและทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหารได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง [นิวเคลียร์] | Radioimmunoassay | อาร์ไอเอ, เทคนิคการหาปริมาณสารต่างๆ ในสิ่งส่งตรวจ เช่น เลือด ปัสสาวะ โดยใช้สารประกอบติดฉลากรังสีเป็นตัวติดตามผลของปฏิกิริยาจำเพาะระหว่างสารก่อภูมิต้านทาน(antigen) และสารภูมิต้านทาน(antibody) [นิวเคลียร์] | Radiochemical purity | ความบริสุทธิ์ทางเคมีรังสี, ความบริสุทธิ์ของสารประกอบกัมมันตรังสี ซึ่งมีสารกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีที่ต้องการ โดยคำนวณจากสัดส่วนกัมมันตภาพของสารกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีที่ต้องการต่อกัมมันตภาพของสารประกอบกัมมันตรังสีทั้งหมด <br>ความบริสุทธิ์ทางเคมีรังสี ใช้เป็นค่ากำหนดคุณภาพของสารเภสัชรังสีซึ่งมีสารประกอบกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีอื่นๆ เจือปนอยู่น้อยที่สุด ตามมาตรฐานเภสัชตำรับสหรัฐอเมริกา (United States Pharmacopoeia, USP) เภสัชตำรับอังกฤษ (British Pharmacopoeia, BP) และ เภสัชตำรับยุโรป (European Pharmacopoeia, EP) เช่น ในการผลิตสารไอโอดีน-131 (<sup>131I</sup>) ตามเภสัชตำรับสหรัฐอเมริกาต้องมีอัตราส่วนของสารประกอบกัมมันตรังสีในรูปโซเดียมไอโอไดด์ (Na<sup>131</sup>I) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 และสารประกอบกัมมันตรังสีที่มีธาตุไอโอดีนอยู่ในรูปแบบทางเคมีอื่นๆ ไม่เกินร้อยละ 5</br> [นิวเคลียร์] | Radiation therapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] | Markush | คำที่อธิบายถึงชุดของสารประกอบทางเคมีที่ปรากฏในส่วนข้อถือสิทธิ, คำที่อธิบายถึงชุดของสารประกอบทางเคมีที่ปรากฏในส่วนข้อถือสิทธิ, Example: โดยแสดงโครงสร้างสารประกอบเคมีแบบเบื้องต้นพร้อมด้วยรายชื่อตัวแปรต่าง ๆ ที่อาจเข้าแทนที่ได้ [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Labelled compound | สารประกอบติดฉลาก(รังสี), สารประกอบเข้ากัมมันตรังสี , สารประกอบทำรอย, สารสังเคราะห์ที่มีนิวไคลด์กัมมันตรังสีประกอบอยู่ในโมเลกุล มี 2 ประเภทหลัก คือ การแทนที่นิวไคลด์เสถียรในโมเลกุลด้วยนิวไคลด์กัมมันตรังสีของธาตุเดียวกัน อีกประเภทหนึ่งเป็นการแทนที่นิวไคลด์เสถียรในโมเลกุลด้วยนิวไคลด์กัมมันตรังสีของธาตุต่างชนิดกัน, Example: [นิวเคลียร์] | gallium arsenide | แกลเลียม อาร์เซไนด์ สารประกอบที่ใช้สัญลักษณ์ว่า GaAs ใช้สำหรับทำชิปซึ่งมีความเร็วมากกว่าซิลิคอน ทนความร้อนและรังสีได้ดีกว่า และใช้พลังงานน้อยกว่า [คอมพิวเตอร์] | protein | โปรตีน, โปรตีน [ โปฺร- ] น. สารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนของไนโตรเจน มีโมเลกุลขนาดใหญ่ประกอบด้วยกรดแอมิโนหลายชนิดเชื่อมโยงกัน เป็น สารประกอบที่สำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดซึ่งจําเป็นต้องใช้เพื่อสร้างเนื้อเยื่อของร่างกาย. (อ. protein)., Example: <p>ลำดับเบสภายในดีเอ็นเอเป็นตัวกำหนดชนิดของโปรตีนที่สร้าง โดยลำดับเบสถอดรหัสเป็น messenger RNA (mRNA) โดยกระบวนการที่เรียกว่า transcription หลังจากนั้นลำดับเบสทีละ 3 เบสที่เรียงติดกันของ mRNA แปลรหัสเป็นกรดอะมิโนแต่ละตัวกระบวนการนี้เรียกว่า translation ในกระบวนการนี้อาศัย ribosome (จับกับ mRNA ในขณะเกิดการแปลรหัส) transfer RNA (RNA ที่มีหน้าที่ลำเลียงกรดอะมิโนเข้าสู่ ribosome เพื่อมาเชื่อมต่อเป็นโปรตีนตามรหัสของ mRNA) หลังจากผ่านกระบวนการแปลรหัสได้โปรตีนที่เซลล์ต้องการ <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุดสงวน ชูสกุลธนะชัย. “ดีเอ็นเอ: รหัสแห่งชีวิต” ในดีเอ็นเอ : ปริศนาลับรหัสชีวิต. หน้า 19-38. ปทุมธานี : ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, 2546. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | คาร์โบไฮเดรต | ชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ คาร์โบไฮเดรท [คำที่มักเขียนผิด] | Aromatic compounds | สารประกอบอะโรมาติก [TU Subject Heading] | Cleaning compounds | สารประกอบที่ใช้ทำความสะอาด [TU Subject Heading] | Cleaning compounds industry | อุตสาหกรรมสารประกอบที่ใช้ทำความสะอาด [TU Subject Heading] | Complex compounds | สารประกอบเชิงซ้อน [TU Subject Heading] | Coordination compounds | สารประกอบโคออร์ดิเนชั่น [TU Subject Heading] | Heterocyclic compounds | สารประกอบเฮทเทอโรไซคลิก [TU Subject Heading] | Organic compounds | สารประกอบอินทรีย์ [TU Subject Heading] | Organochlorine compounds | สารประกอบอินทรีย์คลอรีน [TU Subject Heading] | Phenols | สารประกอบฟีนอล [TU Subject Heading] | Volatile organic compounds | สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย [TU Subject Heading] | Buffer Compound, Soil | สารประกอบบัฟเฟอร์ของดิน, Example: ส่วนประกอบที่เป็นของแข็งและสารละลาย ที่ต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงพีเอชของดิน เช่น คาร์บอเนต ฟอสเฟต ออกไซด์ ฟิลโลซิลิเกต และสารอินทรีย์บางชนิด [สิ่งแวดล้อม] | Trace Compounds | สารประกอบปริมาณน้อย, สารประกอบเทรซ [สิ่งแวดล้อม] | Phenolic Compounds | สารประกอบฟีนอล, Example: สารประกอบของเบนซินที่มีไฮโดรเจนและออกซิเจน ผสมอยู่ เรียกว่า hydroxy benzene หรือ C6H5OH [สิ่งแวดล้อม] | Organic Compound | สารประกอบอินทรีย์, Example: สารที่มีคาร์บอนอยู่สองอะตอมหรือมากกว่า คาร์บอนนี้จะเชื่อมต่อกันเป็นโซ่โดยมีไฮโดรเจนเชื่อมต่อกับคาร์บอนด้วย [สิ่งแวดล้อม] | Volatile Organic Componds, VOCs | สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย, วีโอซี, Example: สารอินทรีย์ซึ่งระเหยง่ายทำให้เกิดมลพิษอากาศ โดยตรงหรือโดยผ่านปฏิกิริยาทางเคมีหรือแสอาทิตย์ [สิ่งแวดล้อม] | radiolytic products | เรดิโอไลติกโปรดักส์, คือ สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีอาหาร เมื่อรังสีทะลุผ่านอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และเกิดปฏิกิริยาเรดิโอไลซิส ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียร และไปทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร ได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง ซึ่งเรียกโดยรวมว่า เรดิโอไลติก โปรดักส์ การเกิดอนุมูลอิสระนอกจากจะเกิดจากการใช้รังสีแล้ว ยังเกิดจากการใช้ความร้อน เช่น การต้ม การทอด การอบ การย่าง และการปิ้ง และอนุมูลอิสระที่เกิดจากการใช้ความร้อนนี้ทำให้เกิดสารประกอบต่างๆ ที่มี โมเลกุลเล็กลงได้เช่นกัน แต่เรียกโดยรวมว่าเทอร์โมไลติกโปรดักส์ และเมื่อเปรียบเทียบกับเรดิโอไลติกโปรดักส์ พบว่า สารประกอบส่วนใหญ่เป็นชนิดเดียวกัน และเป็นสารประกอบที่ตรวจพบได้ในอาหารที่ไม่ได้ฉายรังสี [พลังงาน] | radiopharmaceutics , radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี เภสัชภัณฑ์รังสี, หมายถึง ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบ หรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากล สารเภสัชรังสี ใช้ในการตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีกับผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าว จะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดง "พยาธิสภาพ" ตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ [พลังงาน] | ก๊าซหุงต้ม | ผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งที่ได้จากการแยกก๊าซธรรมชาติและจากกระบวนการกลั่นน้ำมัน ดิบในโรงกลั่นน้ำมัน มีจุดเดือดอยู่ระหว่าง –420C – 0.50C เป็นของผสมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอน 3-4 อะตอม มีสถานะเป็นก๊าซ ที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศ สามารถนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในครัวเรือน ยานพาหนะ และในโรงงานอุตสาหกรรม [ปิโตรเลี่ยม] | ก๊าซธรรมชาติ | สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่ง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจนและคาร์บอนทีเกิดจากการทับถาม ของซากพืชและสัตว์ จำพวกจุลินทรีย์ที่อาศัยในโลกมานานนับร้อยล้านปี สามารถผลิตได้จากแหล่งใต้พื้นพิภพโดยตรงหรือติดมากับน้ำมันดิบจากหลุมน้ำมัน ดิบ โดยส่วนใหญ่จะมีก๊าซมีเทนตั้งแต่ 70% ขึ้นไป [ปิโตรเลี่ยม] | ปิโตรเลียม | สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจนและคาร์บอน มักพบอยู่ในชั้นหินตะกอน ทั้งในสภาพของแข็ง ของเหลวและก๊าซ [ปิโตรเลี่ยม] | ออกซิเจนเนต | สารประกอบที่มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบอยู่ในโมเลกุล ซึ่งอาจเป็นพวกอีเทอร์หรือแอลกฮอล์ สำหรับประเทศไทยใช้ MTBE (Methyl Tertiary Butyl Ether) เติมในน้ำมันเบนซิน เพื่อช่วยให้เกิดการเผาไหม้สมบูรณ์มากขึ้น [ปิโตรเลี่ยม] | Chemical Oxygen Demand | ซีโอดี, ซีโอดี คือปริมาณออกซิเจนที่จำเป็นสำหรับปฏิกิริยาเคมีที่ใช้ในการย่อยสลายสารประกอบอินทรีย์ในน้ำเสียค่าซีโอดีที่สูงกว่าแสดงว่า ปฏิกิริยาการย่อยสลายนั้นต้องการปริมาณออกซิเจนมากกว่า ค่าซีโอดีสามารถใช้เป็นตัววัดทางอ้อมของปริมาณสารประกอบอินทรีย์ในน้ำ [เทคโนโลยีชีวภาพ] | Factice | แฟกทิซ เป็นน้ำมันไม่อิ่มตัวได้จากปฏิกิริยาคงรูปของน้ำมันพืชหรือน้ำมันสัตว์ โดยใช้กำมะถันหรือสารประกอบที่มีกำมะถันเป็นองค์ประกอบ เมื่อเติมเข้าไปในยางจะช่วยประหยัดพลังงานในการผสม ช่วยเพิ่มความเสถียรทางรูปร่างให้แก่ยางที่ขึ้นรูปด้วยการอัดผ่านดาย (Extrudate) และมีผิวเรียบมากขึ้น [เทคโนโลยียาง] | Fluorocarbon rubber | ยางฟลูออโรคาร์บอนเป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่มีฟลูออรีนเป็นองค์ ประกอบอยู่ในโมเลกุล ทำให้ยางมีความเป็นขั้วและมีความเสถียรสูงมาก ทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากสภาพอากาศ ความร้อน ปฏิกิริยาออกซิเดชัน เปลวไฟ และสารเคมีต่างๆ ได้ดีเยี่ยม ถึงแม้ว่ายางชนิดนี้จะทนสารเคมีต่างๆ ได้ดีแต่ไม่แนะนำให้นำไปผลิตผลิตภัณฑ์ที่สัมผัสกับตัวทำละลายที่มีขั้ว เช่น คีโตน อีเทอร์และเอสเทอร์ที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำ สารประกอบเอมีน กรดไฮโดรฟลูออริกและกรดคลอโรซัลโฟนิคที่ร้อน น้ำร้อนและไอน้ำ เมทานอล และน้ำมันเบรกที่มีไกลคอลเป็นองค์ประกอบ ยางฟลูออโรคาร์บอนมีหลายเกรดแตกต่างกันตามโครงสร้างทางเคมีและปริมาณของ ฟลูออรีนในยาง การใช้งานค่อนข้างจำกัดเนื่องจากยางชนิดนี้มีราคาสูงมาก มักนำไปผลิตปลอกหุ้มสายไฟหรือสายเคเบิล โดยเฉพาะในกรณีที่ต้องการความทนทานต่อความร้อน โอโซน สารเคมี และเปลวไฟสูงเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ โดยเฉพาะชิ้นส่วนยานยนต์ เครื่องบิน จรวด เช่น ท่อน้ำมันเชื้อเพลิง ยางโอริง ปะเก็น ยางซีล เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] | Hydrogenated acrylonitrile-butadiene rubber | ยางไฮโดรจิเนตอะไครโลไนไทรล์บิวทาไดอีน หรือยาง HNBR เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งได้จากการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชัน (Hydrogenation) ของยาง NBR สมบัติของยาง HNBR มีความทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากความร้อน รังสีที่มีพลังงานสูง และโอโซนสูงมาก ใกล้เคียงกับยาง EPDM และเนื่องจากมี CN อยู่ในโมเลกุลทำให้ยางชนิดนี้ทนต่อน้ำมันได้ดี ยาง HNBR มีสมบัติทั่วไปอยู่ระหว่างยาง NBR และยางฟลูออโรคาร์บอน เนื่องจากยางชนิดนี้มีราคาสูง จึงนิยมใช้ยาง HNBR แทนยาง NBR เฉพาะกรณีที่ต้องการใช้งานในสภาวะที่รุนแรงหรือที่อุณหภูมิสูงเท่านั้น นอกจากนี้ยางชนิดนี้ยังมีข้อดีเหนือกว่ายางฟลูออโรคาร์บอน คือ มีความทนทานต่อสารตัวเติมที่มีฤทธิ์เป็นด่าง เช่น สารประกอบเอมีน ได้ดี จึงนิยมใช้ในการผลิตชิ้นส่วนยางที่ใช้ในแท่นขุดเจาะน้ำมัน [เทคโนโลยียาง] | Ag-Ab Complex | สารประกอบเชิงซ้อนระหว่างแอนติเจนและแอนติบอดีย์ [การแพทย์] | Alicyclic Compounds | สารประกอบเอลิไซคลิก [การแพทย์] | Aliphatic Compounds | สารประกอบเอลิฟาติก [การแพทย์] | Amine Compounds | สารประกอบเอมีน [การแพทย์] |
| There's nothing but gases and carbon compounds and you're wasting your time! | - คุณกำลังตัดสินใจ ไม่มีอะไร แต่ก๊าซและ คาร์บอนเป็น สารประกอบและ คุณเสียเวลาของคุณ! Contact (1997) | She synthesized the compound, did the research. | เธอสังเคราะห์สารประกอบ จากการวิจัยได้ Hollow Man II (2006) | So I developed a compound called "the buffer," to keep him alive. | ดังนั้นฉันจึงพัฒนาสารประกอบ ที่มีชื่อว่า"เดอะ บัฟเฟอร์"เพื่อต่อชีวิตของเขา Hollow Man II (2006) | My guess, it's a petroleum-based substance. | ผมเดาว่ามันเป็นสารประกอบปิโตรเลียม Bang, Bang, Your Debt (2007) | We're doing chromatography lab today, so find your partners and break into groups of four. | วันนี้เราจะทำแล๊ป แยกสารประกอบ ให้หาเพื่อนแล้วก็ แบ่งเป็นกลุ่มละ 4 คน Juno (2007) | Compounds 1, 3, 4, 6, 8, 9, 10, 11 ... 14, 16 and 18 did not kill the virus. | สารประกอบ 1, 3, 4, 6... 8, 9, 10, 11. 14, 16, 18 ไวรัสไม่ถูกทำลาย I Am Legend (2007) | Compounds 2, 5, 7, 12, 13, 15 and 17 ... | สารประกอบ 2, 5, 7... 12, 13, 15, 17... I Am Legend (2007) | Compound 6 seems to be showing decreased aggression response. | สารประกอบ 6 ดูเหมือนว่าจะมีผลการตอบโต้ก้าวร้าวลดลง เ็ม็ฺดสีผิวบางส่วนกลับคืนสภาพ I Am Legend (2007) | GA series serum 391 compound 6 is the next candidate for human trials. | ชุดทดสอบ GA เซรุ่ม391 สารประกอบ 6 ใช้ทดสอบกับมนุษย์ต่อไป อย่าเพิ่งตายนะ สารประกอบ 6 I Am Legend (2007) | Vaccine test series serum 391 compound six. | ทอสอบวัึคซีน GA391สารประกอบ 6 I Am Legend (2007) | GA series serum 391 compound 6, ineffective on humans. | ชุดทดสอบ GA391 สารประกอบ 6 ใช้ไม่ได้ผลกับมนุษย์ I Am Legend (2007) | No, this will almost certainly kill it, but it's possible by drastically reducing her body temperature, I can increase the compound's effectiveness. | เอ่อ ไม่ มีแต่จะทำให้ตายด้วยซ้ำไป แต่มีทางเป็นไปได้ถ้าเราลดอุณหภูมิร่างกายให้ต่ำที่สุด ผมสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของสารประกอบได้ I Am Legend (2007) | Now, the concept here being that just as your left hand and your right hand are mirror images of one another, right, identical and yet opposite well, so, too, organic compounds can exist as mirror-image forms of one another all the way down at the molecular level. | ตอนนี้ แนวคิดคิดนั่นมาจาก เช่นเดียวกับมือซ้ายของคุณและขวามือของคุณ... ภาพกระจกเงาของอีกด้านหนึ่ง ถูกต้อง เหมือนกับสิ่งที่อยู่ตรงกันข้าม เอาล่ะ งั้นก็ อินทรีย์เคมีเป็นสารประกอบที่ยังดำรงอยู่ Cat's in the Bag... (2008) | We're gonna use reductive amination to yield methamphetamine, 4 pounds. | เราจะใช้อะตอมของไฮโดรเจนในอินทรียสารประกอบแทน เพื่อผลิตแอมเฟทตามีน 4 ปอนด์ A No-Rough-Stuff-Type Deal (2008) | cdc says the hamburg flight was caused by a synthetic compound. | ซีดีซีบอกว่า เรื่องเที่ยวบินแฮมเบิร์ก เกิดจากสารประกอบสังเคราะห์ Pilot (2008) | which is like saying rain is caused by a wet compound. | คงพอๆกับบอกว่า ฝนเกิดจากสารประกอบแบบเปียก Pilot (2008) | Peter. | สารประกอบสังเคราะห์ ? The Dreamscape (2008) | I gave you the names of all the synthetics I used in the compound. | ที่ผมใช้ทำ สารประกอบไปแล้ว Pilot (2008) | 14 different chemical compounds Were used in the material responsible for the incident On the bus. | มีสารประกอบทั้งหมด 14 ชนิด ในสารที่ก่อเหตุบนรถเมล์ The Ghost Network (2008) | The compound must have multiplied in his bloodstream Over time. | สารประกอบนี้ของจะเพิ่มปริมาณ ในเลือดของเขามาตลอดเวลา The Ghost Network (2008) | The iridium-Based compound that multiplied | สารประกอบอิริเดียมที่ ทวีคูณในเลือดของเขา The Ghost Network (2008) | A species which secretes a psychoactive compound. | เป็นชนิดที่หลั่งสารประกอบมีฤิทธิ่ต่อจิตใจ The Dreamscape (2008) | Being lead down an annoying path. | แยกสารประกอบโลหะหนัก Joy (2008) | We're talking nearly a million dollars of undocumented revenue. | เรากำลังพูดถึงเงินเกือบล้านดอลลาร์ของรายได้ ซึ่งไม่มีเอกสารประกอบภาษีรายได้ Mandala (2009) | Perhaps if there were stores of this substance | บางทีถ้าเก็บสารประกอบนี้ Air: Part 1 (2009) | Don't know whether the ship has electrolyzed it | ไม่แน่ใจว่ายานนี้จะมีเครื่องแยกสารประกอบ Darkness (2009) | His cavities suggest that his drinking water wasn't fluoridated. | กรามของเขาบอกให้รู้ว่า น้ำที่เขาดื่มไม่มีสารประกอบฟลูออไรด์ The Plain in the Prodigy (2009) | Yeah, that vine on the bones-- it's kudzu. | ใช่ มีสารประกอบของพืชองุ่นในกระดูก มันคือ 'Kudzu' The Plain in the Prodigy (2009) | These are the reviews... | นี่เป็นเอกสารประกอบค่ะ... Shining Inheritance (2009) | It helped us create a metal compound so strong that you will be able to withstand virtually anything. | มันช่วยให้เราสามารถสร้าง - สารประกอบโลหะที่แข็งแกร่ง ซึ่งจะทำให้นายสามารถทนทาน X-Men Origins: Wolverine (2009) | It's a solid, it's a liquid it's a visco-elastic polymer made of polypeptide chains, but you eat it. | มันเป็นทั้งของแข็ง เป็นทั้งของเหลว มันคือสารประกอบพอลิเมอร์ยืดหยุ่นได้ ที่มีโครงสร้างแบบโพลีเปปไทด์ แถมกินได้ด้วย.. Cloudy with a Chance of Meatballs (2009) | He, uh, formulates his own versions of the compounds. | เขาเอ่อกำหนดรุ่นของตัวเองของสารประกอบ Inception (2010) | He's synthesizing a new compound now. | เขากำลังสังเคราะห์สารประกอบใหม่ Peter (2010) | Any idea yet how he's selecting the filtering compounds? | มีไอเดียอื่นอีกไหม ว่าเขาเลือกกรองสารประกอบยังไง? Peter (2010) | The compounds you're using for the cure... not random at all. | สารประกอบที่คุณกำลังใช้รักษา ไม่ได้จากการคาดเดาทั้งหมด Peter (2010) | All you have to do is stabilize the compound, and you can save him. | ทุกสิ่งที่คุณทำ ทำให้สารประกอบคงตัว และคุณจะรักษาเขาได้ Peter (2010) | He didn't see the compound... | เขาไม่เห็นสารประกอบนั่น... Peter (2010) | To contain these events, scientists designed a quarantine protocol using a chemical substance, Amber 31422. | เพื่อที่จะควบคุมปรากฎการณ์ดังกล่าว นักวิทยาศาสตร์ได้ออกแบบ โครงสร้างที่ใช้กักกัน โดยใช้สารประกอบเคมี Amber 31422 Amber 31422 (2010) | Ferrocene. It's a compound used in negative matter rings. | เฟอร์โรซีน มันเป็นสารประกอบชนิดหนึ่ง ใช้ในการสร้างวงแหวนสสารลบ Amber 31422 (2010) | Hmm. Some sort of synthetic compound. | อืม มีการจัดเรียงตัว ของสารประกอบสังเคราะห์ Amber 31422 (2010) | You could be low on electrolytes. | นายมีอิเล็กโทรไลต์*ต่ำมาก *สารประกอบที่แตกตัวเป็นอะตอมในสารละลายที่เป็นตัวนำไฟฟ้า Cloverdale (2010) | There's water all over the universe. | สารประกอบเดียว กันจะมีเป็นบนโลก Are We Alone? (2010) | It's a compound of hogswort and valerian. What? | เป็นสารประกอบของ hogswort และ valerian อะไรนะ? The Castle of Fyrien (2010) | The compound has already slowed his brain function. | สารประกอบได้ทำให้การทำงานของสมองช้าลง Us or Them (2011) | The lab found traces of an unknown compound. | ห้องแล็ปพบร่องรอยของสารประกอบไม่ทราบที่มา Us or Them (2011) | I have reason to believe the compound came from Sophia's people. | ผมมีเหตุผลที่เชื่อได้ว่า สารประกอบนั้นมาจากคนของโซเฟีย Us or Them (2011) | - What are you talking about? - The compound. | คุณพูดถึงเรื่องอะไร/ สารประกอบ One Will Live, One Will Die (2011) | - What compound? | สารประกอบอะไร? One Will Live, One Will Die (2011) | It's also the primary component of potash... | เป็นสารประกอบของธาตุโปแตช Bound (2011) | Yeah, FBI raided the compound, and they burnt the whole cult down. | ใช่ ที่ FBI ยึดสารประกอบได้ แล้วก็เผาที่นั่นซะวอด Falling Ash (2011) |
| | benzene | (n) สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนที่ประกอบด้วยคาร์บอนและไฮโดรเจนอย่างละหกอะตอม | benzine | (n) น้ำมันเบนซิน (น้ำมันที่กลั่นได้จากน้ำมันดิบ เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ระเหยง่ายและติดไฟได้), Syn. benzin | tributyltin | (n, name) สารประกอบเคมีชนิดหนึ่งที่ใช้ผสมในสีทาใต้ท้องเรือกันเพรียงเรือและสาหร่ายต่างๆมาเกาะ แต่สารนี้เป็นอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม | acrylamide | (n, name) เอคริลเอไมด์ เป็นสารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่มีหมู่เอไมด์แทนที่หมู่ไฮดรอกซิลของกรดโพรพีโนอิก (propenoic acid) สารประกอบชนิดนี้เกิดได้จากการอบหรือทอดอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรท และจากการทดลองในสัตว์สารชนิดนี้สามารถทำให้ระบบประสาทกลางเป็นอัมพาตได้ อีกทั้งยังเป็นสารก่อมะเร็ง |
| anhydride | (n) สารประกอบที่เมื่อรวมกับน้ำจะได้กรดหรือด่าง | baric | (adj) ประกอบด้วยธาตุแบเรียม, See also: สารประกอบเคมีแบริค | carbide | (n) สารประกอบของธาตุคาร์บอน | cellulose | (n) เซลลูโลส, See also: สารประกอบคาร์โบไฮเดรตชนิดหนึ่ง | chloride | (n) คลอไรด์, See also: สารประกอบที่มีคลอรีน | desulfurize | (vi) แยกสารประกอบซัลเฟอร์ออกไป | desulfurize | (vt) แยกสารประกอบซัลเฟอร์ออกไป | document | (vt) ใช้เอกสารประกอบ, See also: ใช้เอกสารยืนยัน, ยืนยันด้วยเอกสาร, Syn. verify, evidence | electrodeposit | (vt) แยกสารประกอบทางเคมีด้วยวิธีอิเล็กโทรไลซิส, See also: ทำให้ตกตะกอนด้วยวิธีอิเล็กโทรไลซิส | electrolyte | (n) สารประกอบที่แตกตัวเป็นอะตอมในสารละลายที่เป็นตัวนำไฟฟ้า, See also: อิเล็กโทรไลต์ | electrolyze | (vt) แยกสารประกอบทางเคมีด้วยวิธีอิเล็กโทรไลซิส | electrophoresis | (n) การเคลื่อนไหวของอนุภาคคอลลอยด์ที่แขวนอยู่ในของเหลวเนื่องจากอิทธิพลของสนามไฟฟ้าในของเหลวนั้น, See also: วิธีการวิเคราะห์ประเภทของสารโดยการวัดอัตราการเคลื่อนที่ของแต่ละสารประกอบในคอลลอยด์ข | endrin | (n) สารประกอบสีขาวใสที่มีพิษซึ่งใช้เป็นยาฆ่าแมลง, Syn. insecticide | ester | (n) สารประกอบอินทรีย์เกิดจากปฏิกิริยาของกรดกับอัลกอฮอล์, See also: สารเอสเตอร์ | iodide | (n) สารประกอบไอโอไดด์ | isomer | (n) ธาตุที่มีสารประกอบเหมือนกันแต่คุณสมบัติต่างกัน | Mercurochrome | (n) ชื่อทางการค้าของสารประกอบ merbromin | molecule | (n) โมเลกุล, See also: อณูของสารประกอบ, Syn. bit, atom, particle, Ant. lot, mass | napthalene | (n) สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากน้ำมันดิน, Syn. camphor | nitrate | (n) สารประกอบไนโตรเจน | nucleic acid | (n) กรดนิวคลีอิก, See also: สารประกอบที่พบในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต | oxide | (n) ์สารประกอบออกซิเจนกับธาตุอื่น, See also: ออกไซด์ | silica | (n) สารประกอบซิลิกา, See also: สารประกอบซิลิกอนไดออกไซด์, Syn. flint, opal | sugar | (n) สารประกอบคาร์โบไฮเดรตมีรสหวาน | sulfide | (n) สารประกอบกัมมะถัน | trioxid | (n) สารประกอบอ็อกไซด์ที่มีอ็อกซิเจนสามส่วน | trioxide | (n) สารประกอบอ็อกไซด์ที่มีอ็อกซิเจนสามส่วน | unsaturated | (adj) ที่ไม่อิ่มตัว (สารประกอบ), Ant. saturated | viridian | (n) สารประกอบจำพวกออกไซด์ของโครเมียม มีสีเขียวอมน้ำเงิน | white lead | (n) สารประกอบผงสีขาว ใช้เป็นสารสี, See also: แร่ตะกั่วขาว | xanthine | (n) สารประกอบสีเหลืองในโมเลกุลของสีย้อม |
| acetal | (แอส' ซิทัล) n. สารประกอบแอลกอฮอลกับ aldehyde | acetate | (แอส' ซิเทท) n. เกลือหรือ ester ของ acetic acid, เส้นใยสังเคราะห์ที่ทำจากสารประกอบ acetic ester ของเซลลูโลส | admixture | (แอดมิคซ' เชอะ) n. การผสมกัน, สิ่งที่เติมเข้า, สารประกอบที่มีสิ่งที่เติมเข้านี้ | albuminate | (แอลบู' มิเนท) n. สารประกอบที่เกิดจากปฏิกริยาของ albumin กับด่างหรือกรด | alcohol | (แอล' กะฮอล) n. แอลกอฮอล์, ethyl alcohol, เครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์, สารประกอบเคมีที่มีสูตร ROH. | aldehyde | (แอล' ดิไฮดฺ) n., chem. อินทรียสารประกอบที่มีกลุ่มธาตุ -CHO. -aldehydic adj. | aliphatic | (แอลลิแฟท' ทิค) adj., chem. เกี่ยวกับอินทรีสารประกอบที่มีอะตอมของคาร์บินติดกันเป็นแนว (paraffins, olefins) | alkaloid | (แอล' คะลอยดฺ) chem. อินทรียสารประกอบชนิดหนึ่งที่มีไนโตรเจน มักพบในพืชและหลายชนิดมีประโยชน์ในทางยา-adj. มีความเป็นด่าง -alkaloidal adj. | alkylation | (แอลคิเล' ชัน) chem. การแทนที่อะตอมของไฮโดรเจนในอินทรียสารประกอบด้วย alkyl group, การเติมพาราฟินลงใน olefin | allomorph | (แอล' โลมอร์ฟ) n. สารประกอบเคมีชนิดเดียวกันที่มีรูปแบบต่างกัน. -allomorphic adj. | alpha | (แอล' ฟะ) n. พยัญชนะตัวแรกของภาษากรีก, จุดเริ่ม, สิ่งแรก, ดาวที่สว่างที่สุดในกลุ่มดาว, ตำแหน่งหนึ่งของอะตอมหรือกลุ่มของอะตอมในสารประกอบ, isomer แบบหนึ่งของสารประกอบ | amide | สารประกอบที่ได้จากแอมโมเนีย โดยการแทนที่อะตอมของไฮโดรเจนด้วย acyl radical หรือจาก acid จาก OH เป็น NH2 | amine | สารประกอบอินทรีย์สารที่มีไนโตรเจน | anhydride | (แอนไฮ' ไดรดฺ, -ดริด) n. สารประกอบที่เมื่อรวมกับน้ำจะได้กรดหรือด่าง, สารประกอบที่เอาน้ำออก (removing water) | antimonic | (แอนทิโม' นิค -มอน' นิค) adj. ประกอบหรือผสมด้วยพลวง, สารผสมหรือสารประกอบพลวง, Syn. antimonial, antimounous, antimonious | aromatic | (แอระแมท'ทิค) adj. ซึ่งมีกลิ่นหอม, เกี่ยวกับสารประกอบที่มีกลิ่นหอม -n. พืชยาหรือวัตถุที่มีกลิ่นหอม-aromaticity n. (spicy) | autoxidation | (ออทอคซิเค'เชิน) n. ขบวนการ oxidation ของสารประกอบโดยการถูกกับอากาศ | azide | (แอซ'ไซด) n. สารประกอบ azido group | azole | (แอซ'โซล) n. สารประกอบชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วย ไนโตรเจนอะตอมใน ring | beta | (เบ'ทะ) n. อักษรตัวที่สองของพยัญชนะกรีก, ตำแหน่งหนึ่งของอะตอมหรือกลุ่มอะตอมในสารประกอบ, สารประกอบ isomer, อนุภาค beta | bromide | (โบร'ไมดฺ) n. สารประกอบโบรมีน, คนที่น่าเบื่อหน่าย, คำที่พูดเรื่องซ้ำ ซาก, Syn. cliche | carbide | Pref. n. สารประกอบคาร์บอนที่มีธาตุหรือกลุ่มธาตุที่มีประจุบวก, แคลเซี่ยมคาร์ไบด์ | chloride | n. เกลือของกรดเกลือ, สารประกอบที่มีคลอรีน | composite | (คอม'พะซิท, คัมพอส'ซิท) adj. ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ , ประกอบขึ้น, ผสมเป็น, เกี่ยวกับพืชตระกูล Compositae (เช่น ต้นเบญจมาศ) n. ของที่รวมตัวกัน, สารประกอบ, รูปผสม, พืชตระกูลเบญจมาศ., See also: compositeness n. ดูcomposite, Syn. manifol | composition | (คอมพะซิซ'เชิน) n. การประกอบเป็นส่วนต่าง ๆ ทั้งหมด, ผลิตผล, ส่วนประกอบ, องค์ประกอบ, ภาพประกอบ, ของผสม, การประพันธ์, การแต่งเพลง, การเกิดเป็นสารประกอบ, การตกลงกัน, การประนีประนอม, ข้อตกลง, การจัดเรียงตัวพิมพ์, คุณสมบัติ, อุปนิสัย | compound | (คอม'เพาน์ดฺ) { compounded, compounding, compounds } n. บริเวณบ้าน, บริเวณล้อมรั้ว, สารประกอบ, คำผสม vt. (คัมเพานด') ใส่รวมกัน, ประกอบเป็นสารประกอบ, ตกลงไม่เอาเรื่อง, คิดดอกเบี้ยทบต้น, เพิ่ม, เสริม. vi. ต่อรอง, ประนีประนอม, ตกลงกันได้, See also: compounder n. ด | degrade | (ดิเกรด') vt. ลดขั้น, ลดตำแหน่ง, ปลดยศ, ปลดจากตำแหน่ง, ทำให้ขายหน้า, ทำให้เสื่อม, ทำให้สึกกร่อน, เลวลง, อ่อนลง (กำลัง, ความเข้มข้น) , แตกตัว (สารประกอบ) vi. แตกตัว, สลายตัว, Syn. debase | diene | (ได'อีน) n. สารประกอบที่มีสองdouble bonds | document | (ดอก'ยะเมินทฺ) n. เอกสาร, สาร, เอกสารหลักฐาน, ภาพยนต์บันทึกเหตุการณ์, หลักฐานพยาน, เครื่องพิสูจน์. vt. มีเอกสารประกอบ, , See also: documentary adj. | electrolyte | (อีเลค'โทรไลทฺ) n. สารประกอบในสารละลายที่เป็นตัวนำไฟฟ้าและแตกตัวเป็นไอออน, See also: electytic adj. | fix | (ฟิคซฺ) { fixed, fixing, fixes } vt. ทำให้แน่น, ติด, ติดแน่น, กำหนดแน่นอน, เพ่งมอง, เพ่งความสนใจ, ป้ายความผิด, ซ่อมแซม, จัดให้เรียบร้อย, จัดให้เป็นระเบียบ, เตรียมอาหาร, แก้แค้น, ลงโทษ, จัดการ, เปลี่ยนไนโตรเจนในอากาศให้เป็นสารประกอบที่มีประโยชน์ (เช่นปุ๋ย) , ทำให้ภาพเกาะแน่นโด | glycoside | n. สารประกอบจำพวกหนึ่งที่ให้น้ำตาลและ monocarbohydrateเมื่อถูกhydrolysed | halide | (เฮ'ไลดฺ) n. สารประกอบที่มีธาตุหนึ่งเป็น halogen | homologue | (ฮอมมะลอก') n. ส่วนที่คล้ายคลึงกัน, สารประกอบที่มีแบบทางเคมีเหมือนกันแต่ต่างกันที่ส่วนประกอบบางอย่าง, อวัยวะหรือส่วนที่คล้ายคลึงกัน | hydrate | (ไฮ'เดรท) n. สารประกอบที่มีโมเลกุลของน้ำอยู่ด้วย. vt., vi.รวมกับน้ำ., See also: hydration, hydrator n. | hydroxide | n. สารประกอบด้วยกลุ่มธาตุOH | minium | (มิน'เนียม) n. สารประกอบตัวตะกั่วชนิดหนึ่ง | octane | (ออค'เทน) n. สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่ง | oxide | (ออค'ไซดฺ) n. สารประกอบออกซิเจนกับธาตุอื่นหรือกลุ่มของธาตุ, See also: oxidic adj. | reduction | (รีดัค'เชิน) n. การลดลง, การย่อ, การทำให้หด, การทด, การทอน, การทำให้เจือจาง, การเอาออกซิเจนออกจากออกไซด์, การเพิ่มไฮโดรเจนแก่สาร, การได้อิเล็กตรอนของสาร, การลดวาเลนซีของธาตุที่มีประจุบวกในสารประกอบ, See also: reductional adj. -S... | seltzer | (เซลทฺ'เซอะ) n น้ำแร่ธรรมชาติที่มีฟอง ผุดขึ้นประกอบด้วยเกลือและสารประกอบคาร์บอเนต ของโซเดียมแคลเซียมและแมกนีเซียม, น้ำแร่เทียมที่มีสารประกอบดังกล่าว, Syn. Seltzer water | silica | (ซิล'ละคะ) n. สารประกอบซิลิกอนไดออกไซด์ (เช่นที่เป็นทราย, หินควอร์ตซ | silver | (ซิล'เวอะ) n. เงิน;Ag;เหรียญเงิน, เงิน, เครื่องเงิน, สีเงิน, สารประกอบ silver halides ที่ใช้ในการทำภาพถ่าย | substituent | (ซับสทิช'ชูเอินทฺ) n. อะตอมหรือกลุ่มอะตอมที่แทนที่อะตอมหรือกลุ่มอะตอมอื่นในโมเลกุลของสารประกอบเดิม. adj. แทนที่ได้, สามารถแทนที่ได้ | urea | (ยูเรีย', ยู'เรีย) n. สารประกอบชนิดหนึ่งที่พบในปัสสาวะ, เป็นผลิตผลของการสันดาปโปรตีน | uric acid | สารประกอบชนิดหนึ่ง ที่พบในปัสสาวะและพบเป็นรูปเกลือในข้อต่อของคนที่เป็นโรคเก๊าท์ | vermilion | (เวอมิล'เยิน) n. สีแดงสดใส, สารสีแดงสดใสชนิดหนึ่งที่ไม่ละลายในน้ำ, เป็นสารประกอบcupric sulfide | vermillion | (เวอมิล'เยิน) n. สีแดงสดใส, สารสีแดงสดใสชนิดหนึ่งที่ไม่ละลายในน้ำ, เป็นสารประกอบcupric sulfide |
| compound | (n) บริเวณ, สารประกอบ, ของเจือ, คำประสม | electrolysis | (n) การวิเคราะห์สารประกอบเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า | electrolyte | (n) สารประกอบที่ถูกวิเคราะห์ด้วยกระแสไฟฟ้า | hydrate | (n) สารประกอบด้วยน้ำ | oxide | (n) สารประกอบก๊าซออกซิเจนกับธาตุอื่น |
| | 臭化物 | [しゅうかぶつ, shuukabutsu] (n) สารประกอบโบรมีน |
| 炭化物 | [たんかぶつ, tankabutsu] (n) สารประกอบคาร์บอน | 無機化合物 | [むきかごうぶつ, mukikagoubutsu] สารประกอบอนินทรีย์ |
| Benzol | (n) |das, pl. Benzole| สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนที่ประกอบด้วยคาร์บอนและไฮโดรเจนอย่างละหกอะตอม | Benzin | (n) |das, pl. Benzine| น้ำมันเบนซิน (น้ำมันที่กลั่นได้จากน้ำมันดิบ เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ระเหยง่ายและติดไฟได้) |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |