Absolute poverty | ความยากจนสัมบูรณ์ [เศรษฐศาสตร์] |
Absolute | แบบสมบูรณ์, สัมบูรณ์ [การแพทย์] |
Bioavailability, Absolute | ปริมาณสัมบูรณ์ของยาในกระแสโลหิต [การแพทย์] |
Bioavailable Fraction, Absolute | ปริมาณสัมบูรณ์ของยาในกระแสโลหิต [การแพทย์] |
Absolute monthly maximum temperature | อุณหภูมิสูงสุด สัมบูรณ์ประจำเดือน [อุตุนิยมวิทยา] |
Absolute moisture of the soil (Ha) | ความชื้นสัมบูรณ์ของ ดิน [อุตุนิยมวิทยา] |
Absolute standard barometer | บารอมิเตอร์มาตรฐาน สัมบูรณ์ [อุตุนิยมวิทยา] |
absolute humidity | absolute humidity, ความชื้นสัมบูรณ์ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
absolute value | ค่าสัมบูรณ์, ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง a เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ หมายถึงระยะจากจุดแทน 0 ถึงจุดแทน a บนเส้นจำนวน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
absolute value of a complex number [ modulus of a complex number ] | ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน, ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อนของ a + bi เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ | a + bi | หมายถึงระยะจากจุดกำเนิด (0, 0) ถึงจุด (a, b) มีค่าเท่ากับ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
modulus of a complex number | ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน, ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน ดู absolute value of a complex number [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
absolute value function | ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์, ฟังก์ชันที่อยู่ในรูปค่าสัมบูรณ์ เช่น f(x) = |x - c| เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใด ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
average deviation [ mean deviation ] | ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย, ค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ย, ค่าที่ใช้วัดการกระจายของข้อมูล ที่ได้จากการเฉลี่ยค่าสัมบูรณ์ของความแตกต่างระหว่างค่าของข้อมูลแต่ละค่าจากค่ากลางของข้อมูลชุดนั้น ซึ่งค่ากลางอาจจะเป็นค่าเฉลี่ยเลขคณิต หรือมัธยฐาน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
gas law | กฎของแก๊ส, กฎที่ว่าด้วยสมบัติของแก๊สคือ ความดันและปริมาตรของแก๊สเป็นปฏิภาคโดยตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ เป็นกฎที่ได้จากกฎของบอยล์และกฎของชาร์ลรวมกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Charles' law | กฎของชาร์ล, กฎที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและปริมาตรของแก๊สในภาชนะปิด คือ เมื่อความดันคงตัวปริมาตรของแก๊สจะเป็นปฏิภาคตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ของแก๊ส [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
absolute humidity | ความชื้นสัมบูรณ์, มวลของไอน้ำที่มีอยู่จริงในอากาศหนึ่งหน่วยปริมาตร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
absolute zero temperature | อุณหภูมิศูนย์สัมบูรณ์, อุณหภูมิ 0 K หรือ -273 ํC ซึ่งตามทฤษฎีจลน์ พลังงานของอนุภาคทั้งระบบจะมีค่าเป็นศูนย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
absolute temperature | อุณหภูมิสัมบูรณ์, อุณหภูมิที่ใช้ในการศึกษาวิชาอุณหพลศาสตร์มีหน่วยเป็น เคลวิน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
K | เคลวิน, สัญลักษณ์หน่วยอุณหภูมิสัมบูรณ์ ดู kelvin [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
humidity | ความชื้น, ปริมาณไอน้ำที่มีอยู่ในบรรยากาศ อาจจะวัดได้เป็นความชื้นสัมบูรณ์ความชื้นสัมพัทธ์ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
kelvin | เคลวิน, หน่วยอุณหภูมิสัมบูรณ์ ใช้สัญลักษณ์ K มีช่วงสเกลเท่ากับช่วงสเกลของหน่วยเซลเซียส O K = 273.15°C [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
absolute brightness | ความส่งสว่างสัมบูรณ์ [ดาราศาสตร์] |
absolute luminosity | สภาพส่งสว่างสัมบูรณ์ [ดาราศาสตร์] |
absolute temperature | อุณหภูมิสัมบูรณ์ [ดาราศาสตร์] |
absolute magnitude | โชติมาตรสัมบูรณ์, Example: [ดาราศาสตร์] |
absolute zero | ศูนย์สัมบูรณ์, ศูนย์สัมบูรณ์ [ดาราศาสตร์] |