มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ สังคมนิยม | (n) socialism, Example: รัสเซียพยายามอย่างเต็มที่ในการใช้ระบบเศรษฐกิจตลาดผสมผสานกับสังคมนิยม, Thai Definition: ทฤษฎีเศรษฐกิจและการเมือง ที่มีหลักการให้รัฐหรือส่วนรวมเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิต ตลอดจนการจำแนกแจกจ่าย และวางระเบียบการบริโภคผลผลิต | สังคมนิยม | (adj) socialist, Example: แนวคิดของพรรคสังคมนิยมมุ่งหมายจะทำลายล้างระบบชนชั้นศักดินา, Thai Definition: ที่มีหลักการให้รัฐหรือส่วนรวมเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิต ตลอดจนการจำแนกแจกจ่าย และวางระเบียบการบริโภคผลผลิต | นักสังคมนิยม | (n) socialist, Example: นอกจากเขาจะเป็นนักวิทยาศาสตร์ระดับโลกแล้วยังเป็นนักสังคมนิยมตัวยง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ใฝ่ใจในทฤษฎีทางสังคมนิยม | พรรคสังคมนิยม | (n) socialist party, Example: ลักษณะเด่นของระบบพรรคการเมืองในประเทศญี่ปุ่นคือการแข่งขันระหว่างพรรคเสรีประชาธิปไตยกับพรรคสังคมนิยม, Count Unit: พรรค, Thai Definition: พรรคการเมืองที่มีนโยบายว่าทรัพย์ทั้งหลายควรเป็นของรัฐ | ลัทธิสังคมนิยม | (n) socialism |
|
| สังคมนิยม | (สังคมมะ-, สังคม-) น. ทฤษฎีเศรษฐกิจและการเมือง ที่มีหลักการให้รัฐหรือส่วนรวมเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิต ตลอดจนการจำแนกแจกจ่าย และวางระเบียบการบริโภคผลผลิต. | คอมมิวนิสต์ | น. ระบบเศรษฐกิจการเมืองและสังคมแบบหนึ่งของลัทธิสังคมนิยมที่มีอุดมการณ์ให้รวมทรัพย์สินทั้งปวงเป็นสมบัติส่วนกลางของชุมชน ไม่ให้มีกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล และให้จัดสรรรายได้แก่บุคคลอย่างเสมอภาคกัน ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาความทุกข์ยากของคนในสังคมอันเป็นผลจากความไม่เสมอภาคในทรัพย์สิน, ผู้ที่นิยมระบบคอมมิวนิสต์. | ซ้าย | เรียกกลุ่มที่มีอุดมคติเพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในด้านเศรษฐกิจและการเมือง เป็นต้น มักใช้วิธีการที่รุนแรงและรวดเร็ว ว่า ฝ่ายซ้าย, โดยทั่วไปใช้หมายถึงกลุ่มที่นิยมลัทธิสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์. | นิยม | ก. ชมชอบ, ยอมรับนับถือ, ชื่นชมยินดี, ใช้ประกอบท้ายคำสมาสบางคำใช้เป็นชื่อลัทธิ เช่น ลัทธิชาตินิยม ลัทธิสังคมนิยม. | ฝ่ายซ้าย | น. กลุ่มที่มีอุดมคติเพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในด้านเศรษฐกิจและการเมืองเป็นต้น มักใช้วิธีการที่รุนแรงและรวดเร็ว, โดยทั่วไปใช้หมายถึงกลุ่มที่นิยมลัทธิสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์. | ลัทธิ | น. คติความเชื่อถือ ความคิดเห็น และหลักการ ที่มีผู้นิยมนับถือและปฏิบัติตามสืบเนื่องกันมา เช่น ลัทธิสังคมนิยม ลัทธิชาตินิยม ลัทธิทุนนิยม. | เวียดนาม | น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับเขมร ลาว และจีน ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อชาติเวียด, เรียกเต็มว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม. |
| | Cooperation and socialism | สหกรณ์กับสังคมนิยม [TU Subject Heading] | National socialism | สังคมนิยมแห่งชาติ [TU Subject Heading] | Socialism | สังคมนิยม [TU Subject Heading] | Socialism and buddhism | สังคมนิยมกับพุทธศาสนา [TU Subject Heading] | Socialism and music | สังคมนิยมกับดนตรี [TU Subject Heading] | Socialism and religion | สังคมนิยมกับศาสนา [TU Subject Heading] | Socialism and society | สังคมนิยมกับสังคม [TU Subject Heading] | Socialist realism and architecture | สัจนิยมแนวสังคมนิยมกับสถาปัตยกรรม [TU Subject Heading] | Socialists | นักสังคมนิยม [TU Subject Heading] | Agreement for the Application of the Bolivarian Alternative for the Peoples of our America and the People’s Trade Agreements | ความตกลงอัลบา เกิดขึ้นจากแนวความคิดของประธานาธิบดี Hugo Cha'vez แห่งเวเนซุเอลาหลังประกาศถอนตัวจากการเป็นสมาชิกประชาคมแอนเดียนเพื่อแสดง ความไม่พอใจที่โคลัมเบียและเปรูจัดทำความตกลงการค้าเสรีกับสหรัฐฯ ข้อตกลง ALBA จึงเป็นทางเลือกในการจัดทำความตกลงทางการค้าตามแนวสังคมนิยมแทนการจัดทำเขต การค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา (FTAA) ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 3 ประเทศ ได้แก่ เวเนซุเอลา คิวบา และโบลิเวีย [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | State Peace and Development Council | สภาเพื่อสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ เป็นองค์กรปกครองสูงสุดของพม่าในปัจจุบัน เดิมมีชื่อว่าสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (SLORC - State Law and Order Restoration Council) อันเป็น กลุ่มทหารพม่าที่เข้ายึดอำนาจการปกครองในวันที่ 18 กันยายน 2531 ภายหลังจากที่ประชาชนชาวพม่าได้ออกมาเดินขบวนประท้วงรัฐบาลภายใต้การนำของ พรรคโครงการสังคมนิยมพม่า การเข้ายึดอำนาจรัฐในครั้งนั้นเป็นไปอย่างนองเลือดและคณะทหารดังกล่าวได้ให้ สัญญาว่าจะจัดให้มีการเลือกตั้ง แต่ภายหลังการเลือกตั้งในวันที่ 27 พฤษภาคม 2533 SLORC กลับปฏิเสธที่จะมอบอำนาจการปกครองให้แก่พรรค National League for Democracy (NLD) และเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2540 SLORC ก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น SPDC [การทูต] |
| I'm excused Alamein... for my feet. | ฉันคิดว่ารูปแบบของสังคมนิยม แห่งชาติบางส่วน How I Won the War (1967) | - This beats National Socialism, Gripweed! | นี้เต้นสังคมนิยมแห่งชาติ วันใดวันหนึ่งใช่มั้ย กริปวีด? ฉันดีใจที่ฉันจะไม่ How I Won the War (1967) | What does a Bolshevik do when he dives into the Red Sea? | พวกสังคมนิยมที่เข้าปกครองรัสเซทำ when he ดำน้ำเข้าไปในทะเลสีแดงทำอะไร? Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | You don't know what a Bolshevik does? | คุณไม่มีอะไรรู้พวกสังคมนิยมที่เข้าปกครองรัสเซทำ? Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | Yes, but I'm sure that as a distinguished member... of the National Socialist Party, you would be proud to plant... our country's flag on the summit of Nanga Parbat when you reach it. | ครับ แต่ผมมั่นใจว่าในฐานะ สมาชิกผู้โด่งดัง ของพรรคสังคมนิยมแห่งชาติ คุณคงจะภูมิใจถ้าได้ปัก ธงของประเทศเราบนยอดเขานังการ์ปาบัต เมื่อคุณปีนขึ้นไปถึงบนนั้น Seven Years in Tibet (1997) | Chairman Mao vowed that the first task of the Communist regime... is to reunite the Chinese motherland. | ประธานเหมากล่าวคำปฏิญาณว่างานแรก ภายใต้การปกครองระบอบสังคมนิยม คือการรวบรวมแผ่นดินจีน ทั้งหมดเข้าด้วยกัน Seven Years in Tibet (1997) | The only thing I've got against him is he's not a socialist. | แต่ฉันเกี่ยงแค่ เขาไม่ใช่พวกสังคมนิยม The Pianist (2002) | - Socialism. Complete disaster. | - รูสเวลท์เป็นสังคมนิยมเหรอครับ I Heart Huckabees (2004) | - Theodore Roosevelt was a socialist. And Yeats. | วิลเลี่ยม บัตเลอร์ เยส์ เป็นสังคมนิยมเหรอครับ I Heart Huckabees (2004) | Henry David Thoreau, Robinson Jeffers, the national geographic society, all socialists? | เนชั่นแนลจีโอกราฟฟิก เป็นสังคมนิยมหมดเหรอครับ - คุณกำลังพูดถึงสังคมนิยม I Heart Huckabees (2004) | The Pinko (socialist) press would have us believe this Michael X is a crusading champion of the poor and oppressed. | สื่อของพวกสังคมนิยม อยากให้เราเชื่อว่า ไมเคิล เอ็กซ์คนนี้ เป็นนักต่อสู้รณรงค์ของคนจน และคนที่ถูกกดขี่ The Bank Job (2008) | You dedicated your life to the communist ideal. | คุณเคยอุทิศชีวิตตนเอง ให้กับแนวคิดแบบสังคมนิยม The International (2009) | Our beautiful Socialist dream has been taken apart by Capitalist swine. | ความฝันที่งดงามของนพวกสังคมนิยมอย่างเรา เคยถุกพวกทุนนิยมจอมตะกละยึดไป Chuck Versus the Coup d'Etat (2010) | Burma suspended diplomatic relations with North Korea. | ที่ประเทศสังคมนิยม พม่า บอกให้เราทำได้แค่ทางการทูต Episode #1.1 (2011) | Anyone check up the ass of socialism? | มีใครเห็น ก้นแห่งสังคมนิยมไหม? Eye of the Beholder (2011) | You see... the National Socialist Party is the people's party, nothing more... | ฟังนะ พรรคสังคมนิยมก็คือพรรคที่เป็นของประชาชน นั้นคือทั้งหมด Iron Sky (2012) | We taught you the National Socialist message about peace and unity. | เราได้คุยกับพรรคสังคมนิยม เกี่ยวกับสันติภาพและสามัคคี Iron Sky (2012) | One red flag, and it's pretty Scarlet, carmine, crimson. | เป็นพวกสังคมนิยมแบบสุดโต่ง In the Blood (2013) | The red flag just got redder. | สังคมนิยมสุดโต่งกว่าเดิมซะอีก In the Blood (2013) | They're still ideologues, but the new ideology is money. | พวกเขายังคงมีอุดมการณ์สังคมนิยม แต่อุดมการณ์ใหม่คือ เงิน Jack Ryan: Shadow Recruit (2014) | - Yeah. | - สังคมนิยม I Heart Huckabees (2004) |
| | | bolshevik | (บอล'ชะ วิค) n. พวกสังคมนิยมที่เข้าปกครองรัสเซียตั้งแต่ปี ค.ศ.1917, สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ของรัสเซีย, สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์, ผู้ที่มีหัวรุนแรง, See also: bolshevism n. ดูBolshevik Bolshevism n. ดูBolshevik Boshevist n. ดูBolshevik bolshevistic | lefitst | (เลฟ'ทิสทฺ) n. ผู้นิยมฝ่ายซ้าย, สมาชิกฝ่ายซ้าย (ผู้นิยมลัทธิสังคมนิยมหรือการปฏิรูประบบสังคม การเมืองหรือเศรษฐกิจ) ., See also: leftism n. | left | (เลฟทฺ) adj. ซ้าย, ข้างซ้าย, ด้านซ้าย, มือซ้าย, ทางซ้าย, ปีกซ้าย, ฝ่ายซ้าย (นิยมลัทธิสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์) n. ด้านซ้าย, สิ่งที่อยู่ทางซ้ายมือ, การหันซ้าย, การเลี้ยวซ้าย adv. ไปทางซ้าย v. กริยาช่อง 2 และช่อง 3 ของ leave (จากไป, ลาจาก) -Phr. (the Left ผู้นิยมการปฏิรูประบบการเมืองสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ, หมัดซ้าย | leftist | (เลฟ'ทิสทฺ) n. ผู้นิยมฝ่ายซ้าย, สมาชิกฝ่ายซ้าย (ผู้นิยมลัทธิสังคมนิยมหรือการปฏิรูประบบสังคม การเมืองหรือเศรษฐกิจ) ., See also: leftism n. | marx | (มาร์คซฺ) n. Karl (Heinrich) (ค.ศ.1819-1883) นักสังคมนิยมผู้ก่อตั้งระบบคอมมิวนิสต์ | socialism | (โซ'ชะลิสซึม) n. ระบบสังคมนิยม | socialist | (โซ'ชะลิสทฺ) n. ผู้สนับสนุนระบบสังคมนิยม, See also: socialistic adj. |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |