ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: วิทยา, -วิทยา- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ มะม่วงหาว มะนาวโห่ | ชื่อเต็ม มะม่วงไม่รู้หาว มะนาวไม่รู้โห่, ผลไม้ในกลุ่มเบอร์รี่ชนิดหนึ่ง มีรสเปรี้ยว ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Carissa carandas, ชื่อสามัญ Karanda, Carunda, Christ’s thorn, Bengal Currants ที่มา: https://www.disthai.com/17039488/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7-%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%AB%E0%B9%88 |
|
| dyslexic | (n) " ดิสเลคซิค” (dyslexic-บุคคลที่พร่องความสามารถในการเขียนเป็นคำๆ ปกติแล้วจะสัมพันธ์กับความบกพร่องทางประสาทวิทยา) | ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ | [ชุ-ติ-กาญน์ ศรี-วิ-บูลย์] (n, name) รองศาสตราจารย์ ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รับมอบยาฟ้าทะลายโจร จํานวน ๕๐๐ ขวด จากคุณปรินดา ตั้งวิรุฬธรรม ผู้จัดการบริษัทฉมา แอ็สเซ็ท ในวันศุกร์ที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๕ เพื่อนําไปใช้ในการดูแลสุขภาพของบุคลากร และประชาชนทั่วไปในคลินิคแพทย์แผนไทยวังสวนสุนันทา | ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย | ปลาแรด | [Pla-Raed] (n) Giant gourami-แปลตรงตัว "ปลากระดี่ยักษ์"; ชื่อวิทยาศาสตร์: Osphronemus goramy) เป็นปลาน้ำจืดในสกุลปลาแรด ในวงศ์ Osphroneminae ซึ่งอยู่ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae นับเป็นปลาแรดชนิดที่เป็นที่รู้จักมากที่สุด | ปูจั๊กจั่น | (n) Red Frog Crab, Spanner Crab หรือ Kona Crab; ชื่อวิทยาศาสตร์: Ranina vanima) เป็นปูในวงศ์ รานินีดี้ (Family Raninidae) ถิ่นที่อยู่ตั้งแต่หมู่เกาะฮาวาย ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฟิลิปปินส์ ไทย จนไปถึงหมู่ เกาะอินโดนีเซีย และ แอฟริกาตะวันออก | สรีระวิทยา | (n) เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับหน้าที่และการทำงานของระบบต่างๆในร่างกายว่าเกิดอะไรขึ้น, respiration, See also: S. osmoregulation, photosynthesis, A. transpiration, translocation, R. metabolism |
| hematologist | (n) นักโลหิตวิทยา | histology | (n) มิญชวิทยา, วิทยาเนื้อเยื่อ | PET Scan | (n, vt) PET Scan ย่อมาจาก Positron Emmision Tomography เป็นเครื่องมือใหม่ที่ใช้เพื่อ ตรวจหาการกระจายและปริมาณความผิดปกติของสารเภสัชรังสีโพสิตรอน ทำให้ข้อมูลที่ได้จาก PET มีความแตกต่างจากเครื่องมืออื่นๆ ซึ่งเรารู้จักกันดี เช่น การตรวจด้วย ultrasound, CT และ MRI ที่ส่วนใหญ่จะแสดงเพียงลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค การตรวจด้วย PET เป็นการถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีที่สลายตัวให้โพสิตรอน (positron) สารเภสัชรังสีเหล่านี้จะสัมพันธ์และแสดงถึงขบวนการชีววิทยาต่างๆ ในร่างกาย ทำให้เราสามารถตรวจขบวนการเผาผลาญ (metabolism) ของเซลล์ได้ หลักการของเครื่องตรวจนี้คือ ใช้้ในการตรวจหาเซลล์ที่มีเมตะบอลลิสม์ผิดปกติ เป็นการตรวจหาการทำงานของเซลล์และผ่านกลวิธีทำให้ออกมาเป็นรูปให้เราเห็น ในการตรวจมะเร็งปอดเราใช้น้ำตาล เมื่อเราทำให้น้ำตาลนั้นจับกับสารกัมมันตภาพ (Glucose 2-fluoro-2-deoxy-D-glucose หรือ FDG) ฉีดเข้าไปในเลือด เซลล์ไหนที่มีเมตะบอลลิสม์สูงจะใช้น้ำตาลมาก เช่น เซลล์ของมะเร็ง เซลล์ไหนที่ตายหรือมีเมตะบอลลิสม์ต่ำจะใช้น้ำตาลน้อย เมื่อใช้ Radiotracer จับปริมาณกัมมันตภาพ เราจะพบว่าก้อนมะเร็งนั้นมีกัมมันตภาพสูงกว่าเนื้อธรรมดาและใช้ตรวจทั้งตัว ก็ได้ |
| | ชงโค | (name) ..............ชงโค................ ชื่อทางวิทยาศาสตร์............Bauhinia purpurea ชื่อวงศ์............................CAESALPINIACEAE ชื่อสามัญ..........................Orchid Tree, Purder ชื่ออื่นๆ............................เสี้ยวดอกแดง, เสี้ยวดอกขาว ถิ่นกำเนิด..........................ทวีปเอเซีย การขยายพันธุ์....................เพาะเมล็ด ประวัติและข้อมูลทั่วไป.........ดอกชงโคมีหลายสี เช่น ชมพู ขาว ม่วง ชาวอินเดียถือว่าเป็นไม้สวรรค์ขึ้นอยู่ในเทวโลกและถือว่าเป็นไม้ของพระลักษมี นิยมปลูกร่วมกับ กาหลง และ โยทะกา เพราะมีใบคล้ายกัน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์......ชงโคเป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นผลัดใบสูงประมาณ 15 เมตร ใบเป็นรูปไข่แยกเป็น 2 แฉกลึก ช่อดอกออกตามกิ่งข้างและจำนวนดอกน้อย กลีบดอกขาวหรือม่วง ลักษณะคล้ายดอกกล้วยไม้ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ เกสรตัวผู้ 5 อัน ขนาดไม่เท่ากัน มีผลเป็นฝักขนาดกว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 15-20 ซม. การปลูกและดูแลรักษา...........ชงโคเป็นไม้ที่ชอบแดด ควรปลูกในที่ได้รับแสงแดดทั้งวัน ดินปลูกควรเป็นดินร่วนระบายน้ำดี มีความ |
| | สรีระวิทยา | (n) การเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโต, การขยายพันธุ์, See also: S. transcription, translation |
| วิทยา | (n) knowledge, See also: philosophy, science, learning, Syn. พิทย, พิทยา, ความรู้, วิชา, Example: การศึกษาเรื่องศาสนาสามารถศึกษาได้ทั้งแนววิทยาศาสตร์ และแนวแห่งความเชื่อเกี่ยวกับหลักทางปรัชญา, Thai Definition: ความรู้, มักใช้ประกอบกับคำอื่น, Notes: (สันสกฤต) | วิทยากร | (n) expert, See also: lecturer, Example: มีคนโทรเข้ามาคุยกับวิทยากรมาก เนื่องจากวิทยากรเป็นคนมีความรู้และพูดได้น่าฟัง, Thai Definition: ผู้ทรงความรู้ความสามารถในศิลปวิทยาของตน | วิทยาคม | (n) incantations, See also: magic, occult sciences, Syn. เวทมนตร์, คาถา, Example: เขาไปขอให้ผู้มีวิทยาคมขลังช่วยรักษาโรคร้ายที่เป็นอยู่, Notes: (สันสกฤต) | วิทยาธร | (n) one who has magical power, See also: angel musician, Syn. พิทยาธร, คนธรรพ์, Example: เหล่าวิทยาธรขี่ปักษาเหาะเหินมาในอากาศเป็นกระบวนใหญ่, Count Unit: ตน, Thai Definition: อมนุษย์พวกหนึ่ง มีฐานะต่ำกว่าเทวดา เชื่อว่ามีวิชากายสิทธิ์ สามารถเหาะเหินเดินอากาศได้ อยู่ในภูเขาหิมาลัย มีหน้าที่ปฏิบัติพระศิวะ, Notes: (สันสกฤต) | กีฏวิทยา | (n) entomology, Syn. วิชากีฏวิทยา, Example: นักศึกษาที่เรียนกีฏวิทยาได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแมลงชนิดนี้ ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาว่าด้วยแมลง, Notes: (อังกฤษ) | จิตวิทยา | (n) psychology, See also: study of mind, Example: เจ้าหน้าที่ตำรวจหน่วยปราบจลาจลได้รับการฝึกฝนให้รับสภาพความวุ่นวาย และจิตวิทยาฝูงชนมาเป็นอย่างดี, Thai Definition: วิชาว่าด้วยจิต, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยปรากฎการณ์ พฤติกรรม และกระบวนการของจิต | ชีววิทยา | (n) biology, Example: เขาสนใจในวิชาชีพสองแขนงคือชีววิทยาและวิชาการแพทย์, Thai Definition: วิชาว่าด้วยสิ่งที่มีชีวิต | ญาณวิทยา | (n) epistemology, Thai Definition: ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยกำเนิดลักษณะ และความถูกต้องแห่งความรู้ ตลอดจนวิธีหาความรู้ | วิทยาคาร | (n) school, See also: college, institute, Syn. โรงเรียน, Example: ผู้ว่าฯ ไปเป็นประธานเปิดวิทยาคารแห่งใหม่ของจังหวัด, Count Unit: โรง, Thai Definition: สถานที่ให้ความรู้ | วิทยาทาน | (n) imparting of knowledge for the general benefit, Example: ใครนำวิธีของผมไปใช้ ผมไม่สงวนลิขสิทธิ์นะ ถือว่าเป็นวิทยาทานอย่างหนึ่ง, Thai Definition: การให้ความรู้ | วิทยาลัย | (n) college, Example: มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยต่างๆ ได้บรรจุวิชาปรัชญาเข้าไว้ในหลักสูตรการศึกษาของตน, Thai Definition: สถานศึกษาในระดับสูง สอนวิชาชีพเฉพาะอย่าง, Notes: (สันสกฤต) | วิทยาเขต | (n) campus, Example: ที่ประชุมมีนโยบายที่จะพัฒนาวิทยาเขตต่างๆ ของมหาวิทยาลัยให้มีชื่อเสียงทัดเทียมกัน, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: คณะหรือส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยแต่ตั้งอยู่ในบริเวณอื่น โดยมีอธิการบดีคนเดียวกันและคณะกรรมการกำหนดนโยบายชุดเดียวกัน | สุขวิทยา | (n) hygiene, See also: hygienics, Example: หากจะสอนเด็กๆ ให้ปฏิบัติตัวถูกต้องตามหลักของสุขวิทยา ผู้ใหญ่จะต้องทำเป็นตัวอย่างให้เด็กเห็นเสียก่อน, Thai Definition: วิชาวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งกล่าวถึงการปฏิบัติตนให้ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัย | โลกวิทยา | (n) Earth sciences, Thai Definition: วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับโลก | กิมิวิทยา | (n) helminthology, See also: science of worm, Example: หลายคนอาจจะไม่รู้จักกิมิวิทยา, Thai Definition: วิชาว่าด้วยหนอน | ทัณฑวิทยา | (n) penology, Example: วิชานิติเวชมีความหมายกว้าง ครอบคลุมถึงอาชญวิทยา ทัณฑวิทยา และการวินิจฉัยโรคของผู้กระทำผิด, Thai Definition: วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิธีลงโทษผู้กระทำผิดทางอาญา | ธรณีวิทยา | (n) geology, Example: ตอนเหนือของจังหวัดชัยภูมิมีหน่วยหินจำนวนมากและมีธรณีวิทยาสลับซับซ้อน, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาว่าด้วยความรู้เกี่ยวกับประวัติ โครงสร้าง และสภาพของโลก | ปฐพีวิทยา | (n) pedology, Example: เขาเรียนวิชาปฐพีวิทยา, Thai Definition: วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องดิน | ภารตวิทยา | (n) Indian study, See also: study of India, Example: ท่านสนใจในด้านภารตวิทยาเพราะท่านเคยไปอยู่ที่อินเดียมานาน, Thai Definition: วิชาที่เกี่ยวกับประเทศอินเดีย มีศาสนา ปรัชญา วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษา วรรณคดี เป็นต้น, Notes: (สันสกฤต) | ภูมิวิทยา | (n) geology, Syn. ธรณีวิทยา, วิชาภูมิวิทยา, Example: วิชาแร่เป็นแขนงหนึ่งของภูมิวิทยา, Thai Definition: วิชาว่าด้วยความรู้เกี่ยวกับประวัติ โครงสร้าง และสภาพของโลก | ศิลปวิทยา | (n) arts and sciences, Example: เมื่อพระเจ้าอนุวงศ์กลับไปครองเวียงจันทน์ จึงนำเอาศิลปวิทยาต่างๆ ที่พบเห็นไปสร้างขึ้นในบ้านเมืองของพระองค์, Thai Definition: ศิลปะและวิชาการ | สรีรวิทยา | (n) physiology | สรีรวิทยา | (n) physiology, Example: การมองเห็นภาพต่างๆ และสีสรร เป็นเรื่องทางสรีรวิทยาที่ซับซ้อน, Thai Definition: วิชาว่าด้วยคุณสมบัติและการกระทำหน้าที่ของอินทรีย์ต่างๆ ซึ่งเป็นส่วนของสิ่งที่เป็นรูปร่างและมีชีวิต, Notes: (บาลี) | สรีรวิทยา | (n) physiology, Example: การมองเห็นภาพต่างๆ และสีสรร เป็นเรื่องทางสรีรวิทยาที่ซับซ้อน, Thai Definition: วิชาว่าด้วยคุณสมบัติและการกระทำหน้าที่ของอินทรีย์ต่างๆ ซึ่งเป็นส่วนของสิ่งที่เป็นรูปร่างและมีชีวิต, Notes: (บาลี) | สัตววิทยา | (n) zoology, Syn. สัตวศาสตร์, Example: ตามหลักของสัตววิทยา จัดพวกมนุษย์เข้าอยู่ในหมู่ (Group) สัตว์มีกระดูกสันหลัง, Thai Definition: วิทยาศาสตร์ชีวภาพสาขาหนึ่ง ว่าด้วยเรื่องของสัตว์ | อุทกวิทยา | (n) hydrology, Thai Definition: วิชาว่าด้วยน้ำที่มีอยู่ในโลก เช่น ศึกษาถึงสาเหตุการเกิด การหมุนเวียน ตลอดจนคุณลักษณะของน้ำ รวมทั้งการนำน้ำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ | โลหะวิทยา | (n) metallurgy | คติชนวิทยา | (n) folklore | จักษุวิทยา | (n) ophthalmology, See also: medical study and treatment of eyes, Example: นิพนธ์กำลังศึกษาวิชาจักษุวิทยาในระดับปริญญาเอก, Thai Definition: วิชาที่ว่าด้วยการศึกษาเรื่องโรคที่เกี่ยวกับดวงตาและวิธีการรักษา | ปรสิตวิทยา | (n) parasitology, Syn. พยาธิวิทยา, Thai Definition: วิชาที่ว่าด้วยพยาธิ | พยาธิวิทยา | (n) pathology, Example: การวินิจฉัยโรคที่แน่นอนคือการตัดเนื้อในกล่องเสียงไปตรวจมะเร็งทางพยาธิวิทยา, Thai Definition: วิชาอันว่าด้วยเชื้อโรค | มนุษยวิทยา | (n) anthropology, Syn. มานุษยวิทยา, มนุษย์วิทยา, Example: มนุษยวิทยาแบ่งเรื่องของมนุษย์ออกเป็นสองภาคคือ ภาคว่าด้วยเรื่องเชื้อชาติและภาคว่าด้วยวัฒนธรรม, Thai Definition: วิชาว่าด้วยเรื่องตัวคนและสิ่งที่คนสร้างขึ้น | ระบาดวิทยา | (n) epidemiology | รังสีวิทยา | (n) radiology, Thai Definition: วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยรังสีเอกซ์และกัมมันตภาพรังสีรวมทั้งการใช้รังสีวิเคราะห์และรักษาโรค, Notes: (อังกฤษ) | สหวิทยาการ | (n) interdisciplinary, Example: เราต้องทำงานวิจัยที่มีลักษณะเป็นสหวิทยาการ, Thai Definition: ความรู้ที่รวมเอาหลายสาขาวิชามาประกอบกัน | สหวิทยาลัย | (n) united colleges, Count Unit: แห่ง | สังคมวิทยา | (n) sociology | สังคมวิทยา | (n) sociology, See also: social sciences, Example: สังคมวิทยาการเมืองเป็นตัวอย่างของวิชาสังคมวิทยาที่มุ่งศึกษาด้านใดด้านหนึ่งของสังคมอย่างลึกซึ้งเฉพาะด้าน, Thai Definition: วิชาว่าด้วยเรื่องสังคม | อักขรวิทยา | (n) paleography | อาชญาวิทยา | (n) criminology, Example: วิชาที่เกี่ยวกับการรักษาระเบียบกฎเกณฑ์ทางสังคม ได้แก่ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ และอาชญาวิทยา | เภสัชวิทยา | (n) pharmacology, Thai Definition: วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยฤทธิ์ของยาหรือของสารที่มีต่อสิ่งมีชีวิต | จุลชีววิทยา | (n) microbiology, Example: วิชาจุลชีววิทยาเป็นวิชาที่เป็นประโยชน์แก่วงการอุตสาหรรมเป็นอันมาก, Thai Definition: วิชาที่ว่าด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก | ทางจิตวิทยา | (adj) psychological, Example: แรงจูงใจ อารมณ์ และการับรู้ เป็นหัวใจสำคัญของกระบวนการทางจิตวิทยา, Thai Definition: ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยปรากฏการณ์ พฤติกรรม และกระบวนการของจิต | ทางชีววิทยา | (adj) biological, Example: ความก้าวหน้าทางชีววิทยาทำให้เกิดการขยายตัวของวิธีการทางการแพทย์, Thai Definition: ี่เกี่ยวกับศาสตร์ที่ว่าด้วยสิ่งมีชีวิต | นรีเวชวิทยา | (n) gynecology, Syn. นรีเวชศาสตร์, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาว่าด้วยโรคเกี่ยวกับระบบการสืบพันธุ์ของสตรี | นักจิตวิทยา | (n) psychologist, Example: นักจิตวิทยาควรมีส่วนช่วยในการวินิจฉัยโรคหูตึงแต่กำเนิดตั้งแต่ระยะแรกด้วย, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญด้านวิชาจิตวิทยา | นักชีววิทยา | (n) biologist, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านวิชาชีววิทยา | มหาวิทยาลัย | (n) university, Example: นักศึกษาใหม่มีเพื่อนมาชวนไปเข้าชุมนุมต่างๆ ในมหาวิทยาลัย, Count Unit: มหาวิทยาลัย, แห่ง, Thai Definition: สถาบันอุดมศึกษาที่มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลายสาขาวิชา หรือหลายกลุ่มสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา ปริญญา และประกาศนียบัตรบัณฑิตแก่ผู้สำเร็จการศึกษา | มานุษยวิทยา | (n) anthropology, Example: ท่านเป็นปราชญ์ผู้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรมหลายสาขา เช่น ภาษา ประวัติศาสตร์ โบราณคดี มานุษยวิทยา ศาสนา ประเพณี เป็นต้น, Thai Definition: วิชาว่าด้วยเรื่องตัวคนและสิ่งที่คนสร้างขึ้น | วิทยานิพนธ์ | (n) thesis, Example: ในปีพ.ศ. 2543 ท่านได้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาคุมการทำวิทยานิพนธ์ และเป็นกรรมการด้วยผู้หนึ่ง, Count Unit: ฉบับ, เรื่อง, Thai Definition: บทนิพนธ์ที่ผู้เรียบเรียงยกเอาหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่งขึ้นวิจัยและพรรณนาขยายความเพื่อเสนอรับปริญญา |
| กิมิวิทยา | น. วิชาว่าด้วยหนอน. | กีฏวิทยา | น. วิชาว่าด้วยแมลง. | จิตวิทยา | (จิดตะ-, จิด-) น. วิชาว่าด้วยจิต, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยปรากฏการณ์ พฤติกรรม และกระบวนการของจิต. | ชาติพันธุ์วิทยา | (ชาดติพันวิดทะยา) น. วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการแบ่งเชื้อชาติของมนุษย์ กำเนิดของเชื้อชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างเชื้อชาติ ตลอดจนลักษณะเฉพาะของเชื้อชาติต่าง ๆ. | ชีววิทยา | น. วิชาว่าด้วยสิ่งที่มีชีวิต. | ญาณวิทยา | (ยานะวิดทะยา, ยานนะวิดทะยา) น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยบ่อเกิด ลักษณะ หน้าที่ ประเภท ระเบียบวิธี และความสมเหตุสมผลของความรู้. | ตัจวิทยา | (ตัดจะวิดทะ-) น. วิชาว่าด้วยผิวหนัง. (ป. ตจ + ส. วิทฺยา) | ตรรกวิทยา | น. ตรรกศาสตร์. | ทองวิทยาศาสตร์ | น. โลหะชุบทอง, ทองชุบ ก็เรียก. | ทัณฑวิทยา | (ทันทะ-) น. วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิธีลงโทษผู้กระทำผิดทางอาญา. | เทพนิยายวิทยา | น. วิชาว่าด้วยเทพนิยาย. | เทววิทยา | น. วิชาว่าด้วยพระเป็นเจ้าและความสัมพันธ์ระหว่างพระเป็นเจ้ากับโลก. | ธนุรวิทยา, ธนุรเวท | (ทะนุระ-) น. วิชายิงธนูและการใช้อาวุธอื่น ๆ. (ส.). (ดู อุปเวท ประกอบ). | ธรณีวิทยา | น. วิชาว่าด้วยความรู้เกี่ยวกับประวัติ โครงสร้าง และสภาพของโลก. | นรีเวชวิทยา | (-เวดวิดทะยา) น. วิชาว่าด้วยโรคเกี่ยวกับระบบการสืบพันธุ์ของสตรี. | นักษัตรวิทยา | น. วิชาดาว, โหราศาสตร์. | นิติวิทยาศาสตร์ | น. วิชาที่ว่าด้วยการนำหลักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ มาประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาทางกฎหมาย และการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดีความ. | นิเวศวิทยา | (นิเวดสะวิดทะยา, นิเวดวิดทะยา) น. วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับถิ่นที่อยู่และสิ่งแวดล้อม | นิเวศวิทยา | การศึกษาเกี่ยวกับการดัดแปลงวัฒนธรรมของมนุษย์ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม. | ปฐพีวิทยา | (ปะถะพีวิดทะยา, ปัดถะพีวิดทะยา) น. วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องดิน. | ปรสิตวิทยา | (ปะระสิดตะวิดทะยา, ปะระสิดวิดทะยา) น. วิชาที่ว่าด้วยพยาธิ. | ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ | น. ปุ๋ยเคมี. | ภารตวิทยา | น. วิชาที่เกี่ยวกับประเทศอินเดีย มีศาสนา ปรัชญา วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษา วรรณคดี เป็นต้น. | เภสัชวิทยา | (เพสัดชะวิดทะยา, เพสัดวิดทะยา) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยฤทธิ์ของยาหรือของสารที่มีต่อสิ่งมีชีวิต. | มหาวิทยาลัย | (มะหาวิดทะยาไล) น. สถาบันอุดมศึกษาที่มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลายสาขาวิชา หรือหลายกลุ่มสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา ปริญญา และประกาศนียบัตรบัณฑิตแก่ผู้สำเร็จการศึกษา รวมทั้งดำเนินการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ. | มานุษยวิทยา | (มานุดสะยะ-, มานุด-) น. วิชาว่าด้วยเรื่องตัวคน และสิ่งที่คนสร้างขึ้น. | รังสีวิทยา | น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยรังสีเอกซ์และกัมมันตภาพรังสี รวมทั้งการใช้รังสีวิเคราะห์และรักษาโรค. | วิทยา | (วิดทะยา) น. ความรู้, มักใช้ประกอบกับคำอื่น เช่น วิทยากร วิทยาคาร จิตวิทยา สังคมวิทยา. | วิทยากร | น. ผู้ทรงความรู้ความสามารถในศิลปวิทยาแขนงต่าง ๆ เช่น วิทยากรในการสัมมนาเรื่องเศรษฐกิจ. | วิทยากล | น. การแสดงที่อาศัยกลวิธีและความไวทำให้ผู้ชมสนเท่ห์. | วิทยาการ | น. ความรู้แขนงต่าง ๆ เช่น ปัจจุบันวิทยาการต่าง ๆ ก้าวหน้าไปมาก, บางทีใช้ว่า ศิลปวิทยาการ. | วิทยาเขต | น. ส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัย แต่ตั้งอยู่ในบริเวณอื่น มีคณาจารย์ อาคาร สถานที่ ตลอดจนอุปกรณ์ต่าง ๆ ของตนเอง เกี่ยวพันกับมหาวิทยาลัยโดยมีอธิการบดีคนเดียวกัน และสภามหาวิทยาลัยชุดเดียวกัน. | วิทยาคม | น. เวทมนตร์, คาถาอาคม, เช่น อาจารย์ถ่ายทอดวิทยาคมให้ศิษย์, วิชาอาคม ก็ว่า. | วิทยาคาร | น. สถานที่ให้ความรู้. | วิทยาทาน | น. การให้ความรู้ เช่น ให้ความรู้เป็นวิทยาทาน จัดพิมพ์หนังสือแจกเป็นวิทยาทาน. | วิทยาธร | น. พิทยาธร. | วิทยานิพนธ์ | น. บทนิพนธ์ที่ผู้เรียบเรียงยกเอาหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่งขึ้นวิจัยหรือพรรณนาขยายความ โดยนับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อเสนอรับปริญญา. | วิทยาลัย | น. สถานศึกษาในระดับสูง สอนวิชาชีพเฉพาะอย่าง เช่น วิทยาลัยเทคนิค. | วิทยาศาสตร์ | น. ความรู้ที่ได้โดยการสังเกตและค้นคว้าจากปรากฏการณ์ธรรมชาติแล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ, วิชาที่ค้นคว้าได้หลักฐานและเหตุผลแล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ. | วิทยาศาสตร์กายภาพ | น. วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ของสิ่งไม่มีชีวิต เช่น เคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์. | วิทยาศาสตร์ชีวภาพ | น. วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต เช่น สัตววิทยา พฤกษศาสตร์. | วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม | น. ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงาน การควบคุมรักษาสภาพสิ่งแวดล้อม และการวิจัย. | วิทยาศาสตร์ประยุกต์ | น. วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ที่มุ่งประโยชน์ในทางปฏิบัติยิ่งกว่าทางทฤษฎี เช่น แพทยศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์. | วิสัญญีวิทยา | น. วิชาที่ว่าด้วยการให้ยาชาและยาสลบ. | ศัพทมูลวิทยา | (สับทะมูนละ-, สับทะมูน-) น. วิชาว่าด้วยที่มาและประวัติของคำ. | ศิลปวิทยา | น. ศิลปะและวิชาการ. | สรีรวิทยา, สรีรศาสตร์ | น. วิชาว่าด้วยสมบัติและการกระทำหน้าที่ของอินทรีย์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วนของสิ่งที่เป็นรูปร่างและมีชีวิต. | สังคมวิทยา | (สังคมมะ-, สังคม-) น. วิชาว่าด้วยเรื่องสังคม. | สัตววิทยา | น. วิทยาศาสตร์ชีวภาพสาขาหนึ่ง ว่าด้วยเรื่องของสัตว์. | สัทวิทยา | (สัดทะวิดทะยา) น. วิชาว่าด้วยการศึกษาระบบเสียงของแต่ละภาษาโดยพิจารณาหน้าที่ของเสียงและการประกอบเสียงในภาษานั้น. |
| phenomenology | ปรากฏการณ์วิทยา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | palynology | เรณูวิทยา [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | petrology | ศิลาวิทยา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | pathology, general | พยาธิวิทยาทั่วไป [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, geographical | ภูมิศาสตร์พยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, internal; pathology, medical | อายุรพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, medical; pathology, internal | อายุรพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, mental; psychopathology | จิตพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, special | พยาธิวิทยาจำเพาะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, surgical | ศัลยพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pharyngology | วิทยาคอหอย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | proof, ontological | การให้เหตุผลทางภววิทยา, ข้อพิสูจน์ทางภววิทยา [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | posology | วิทยาพิกัดยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | protozoology | วิทยาสัตว์เซลล์เดียว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | parapsychology | ปรจิตวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | palaeoclimatology; paleoclimatology | ภูมิอากาศบรรพกาลวิทยา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | palaeontology; paleontology | บรรพชีวินวิทยา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | periodontics; periodontology | ปริทันตวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | periodontics; periodontology | ปริทันตวิทยา [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | pathological diagnosis | การวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathologist | ๑. นักพยาธิวิทยา๒. พยาธิแพทย์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology | พยาธิวิทยา [ มีความหมายเหมือนกับ pathobiology ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, animal; zoopathology | สัตวพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, cellular | กลลพยาธิวิทยา, พยาธิวิทยาเซลล์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, clinical | พยาธิวิทยาคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, comparative | พยาธิวิทยาเปรียบเทียบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, dental; pathodontia | ทันตพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathology, experimental | พยาธิวิทยาทดลอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiology | สรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiology, animal; zoodynamics; zoophysiology | สัตวสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiology, hominal; physiology, human | มนุษยสรีรวิทยา, สรีรวิทยามนุษย์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiology, human; physiology, hominal | มนุษยสรีรวิทยา, สรีรวิทยามนุษย์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiology, morbid; pathophysiology; physiology, pathologic | พยาธิสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiology, pathologic; pathophysiology; physiology, morbid | พยาธิสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | physiopathology | สรีรพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | psephology | วิทยาการเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | pyretology | วิทยาเรื่องไข้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathologic; pathological | -พยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathologic physiology; pathophysiology; physiology, morbid | พยาธิสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | pathological; pathologic | -พยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | political sociology | สังคมวิทยาการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | podology | บาทาวิทยา [ มีความหมายเหมือนกับ podiatry ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | poenology; penology | ทัณฑวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | proctologic | -วิทยาไส้ตรงและทวารหนัก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | proctology | วิทยาไส้ตรงและทวารหนัก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | parasitologist | นักปรสิตวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | parasitology | ปรสิตวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | psychopathology; pathology, mental | จิตพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | psychopharmacology | จิตเภสัชวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | psychophysiology | จิตสรีรวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Educational Technology | เทคโนโลยีการศึกษา, การประยุกต์เอาระเบียบวิธีการ แนวความคิดต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนผลิตผลอันเกิดจากผลของวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น [เทคโนโลยีการศึกษา] | Virtual university | มหาวิทยาลัยเสมือน [เทคโนโลยีการศึกษา] | Dissertations, Academic | วิทยานิพนธ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | University press | สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย [เทคโนโลยีการศึกษา] | Thesis | วิทยานิพนธ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Scientific library | ห้องสมุดวิทยาศาสตร์, Example: <p>หากจัดแบ่งตามประเภทห้องสมุด ซึ่งมี 5 ประเภท คือ หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ห้องสมุดโรงเรียน และห้องสมุดเฉพาะ <p>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ จัดอยู่ในประเภทห้องสมุดเฉพาะ ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา ให้บริการแก่ผู้ใช้เฉพาะกลุ่มหรือบางกลุ่มซึ่งเป็นผู้ที่ทำงานหรือศึกษาในสาขาวิชานั้น ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานราชการ องค์กรวิจัย เป็นต้น ทำหน้าที่จัดหาหนังสือ และให้บริการความรู้ ข้อมูล และข่าวสาร เฉพาะเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานนั้น ๆ <P>ที่ตั้งและสถานภาพของห้องสมุดวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ สังกัดมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา หรือ หน่วยงาน องค์กรวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <P>ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ที่โดดเด่น เช่น ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Cyclopedia | วิทยานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Dissertations | วิทยานิพนธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Thesis | วิทยานิพนธ์, Example: บทนิพนธ์ที่ผู้เรียบเรียงยกเอาหัวข้อเรื่องใดหัวข้อเรื่องหนึ่งขึ้นวิจัยหรือพรรณนาขยายความ โดยเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก วิทยานิพนธ์มีรูปแบบและมีส่วนประกอบ 3 ส่วน ดังนี้ <p> <p> <p>1. ส่วนประกอบตอนต้น ( Preliminary Section) <p>2. ส่วนเนื้อความ (Text Section or Body of Text) <p>3. ส่วนอ้างอิงหรือส่วนประกอบตอนท้าย (References Section) <p>1. ส่วนประกอบดอนต้น (Preliminary Section) ส่วนนี้รวมตั้งแต่ปกหน้าไปจนถึงหน้าท้ายสุดก่อนส่วนเนื้อความ มีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ <p>1.1 ปก มีข้อมูลประกอบเฉพาะของวิทยานิพนธ์ คือ ชื่อเรื่องของวิทยานิพนธ์ ชื่อผู้เขียนวิทยานิพนธ์ ข้อมูลที่แจ้งว่าวิทยานิพนธ์ดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาปริญญาใด ระดับการศึกษาใด ชื่อปริญญา ภาควิชา สถาบันการศึกษา ปีที่สำเร็จ และการอนุมัติปริญญา <p>1.2 ปกใน มีข้อมูลเช่นเดียวกับปก จะมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศอื่นๆ <p>1.3 หน้าอนุมัติ หรือหน้าตรวจรับรอง (Approval page)จะมีข้อมูลหัวข้อวิทยานิพนธ์ ผู้เขียน ภาควิชา อาจารย์ที่ปรึกษา ข้อความอนุมัติและลายเซ็นต์คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย และคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ <p>1.4 บทคัดย่อ หรือสาระสังเขป (Abstract) ประกอบด้วยข้อความสรุปเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ที่สั้นกระทัดรัด ชัดเจน ทำให้ผู้อ่านทราบถึงเนื้อหาของวิทยานิพนธ์อย่างรวดเร็ว มีทั้งบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศอื่นๆ <p>1.5กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) คือ ข้อความแสดงความขอบคุณบุุคคล สถาบัน และ/หรือหน่วยงานที่มีส่วนช่วยเหลือ ให้ความร่วมมือในการค้นคว้าเพื่อเขียนวิทยานิพนธ์ ตลอดทั้งคณะกรรมการสอบ ผู้สนับสนุนเงินทุนวิจัย ผู้ให้ข้อคิดเห็น ให้ข้อมูล และผู้ที่อนุญานให้ใช้ข้อเขียนหรือเครื่องมือในการวิจัย <p>1.6 สารบัญ (Contents) เป็นรายการที่แสดงถึงส่วนประกอบสำคัญทั้งหมดของวิทยานิพนธ์ <p>1.7 สารบัญตาราง (List of Tables) (ถ้ามี) เป็นส่วนที่แจ้งตำแหน่งของตารางทั้งหมดที่มีอยู่ในวิทยานิพนธ์ พิมพ๋เรียงลำดับต่อจากส่วนสารบัญ <p>1.8 สารบัญภาพหรือสารบัญแผนภูมิ (List of Figures or List of Illustrations) (ถ้ามี) เป็นส่วนที่แจ้งตำแหน่งหน้าของรูปภาพ (รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ฯลฯ) ทั้งหมดที่มีอยู่ในวิทยานิพนธ์ <p>1.9 คำอธิบายสัญลักษณ์และคำย่อ (List of Abbreviations) (ถ้ามี) เป็นส่วนที่อธิบายถึงสัญลักษณ์และคำย่อต่างๆ ที่ใช้ในวิทยานิพนธ์ <p>2. ส่วนเนื้อความหรือเนื้อเรื่อง (Body of Text) ประกอบด้วย บทนำ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ <p>3. ส่วนอ้างอิง (Refereces Section) เป็นส่วนท้ายเล่ม ประกอบด้วย บรรณานุกรม ภาคผนวก และประวัติผู้เขียนวิทยานิพนธ์ <p> <p>รายการอ้างอิง <p>พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2552. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | University library | ห้องสมุดมหาวิทยาลัย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | University press | สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย, Example: <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย (University press) เป็นสำนักพิมพ์ประเภทหนึ่ง จัดอยู่ในสำนักพิมพ์ของทางราชการ องค์การ สมาคม และหน่วยงานต่าง ๆ <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย ส่วนใหญ่จัดพิมพ์ตำรา เอกสารประกอบการเรียน และสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ของมหาวิทยาลัย อาจจัดเป็นสำนักพิมพ์เฉพาะได้ แต่สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมีลักษณะแตกต่างจากสำนักพิมพ์อื่น ดังนี้ <p>1. จัดพิมพ์สิ่งพิมพ์ทางวิชาการในสาขาวิชาการต่าง ๆ กว้างขวางกว่าสำนักพิมพ์เฉพาะ <p>2. ส่วนมากได้รับเงินอุดหนุนจากมหาวิทยาลัย <p>3. ไม่ต้องเสียภาษี <p>4. ไม่ได้มุ่งหวังเพื่อแสวงหาผลกำไร <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยในต่างประเทศที่มีชื่อเสียง เช่น <p>Cambridge University Press และ Oxford University Press ของอังกฤษ <p>Columbia University Press และ University of Chicago Press ของสหรัฐอเมริกา <p>ในประเทศไทย มหาวิทยาลัยบางแห่งมีทั้งสำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ และมีหน่วยงานรับผิดชอบในการจัดจำหน่ายโดยเฉพาะ เช่น <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม (ฝ่ายโรงพิมพ์) <p>ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ <p>สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง (สำนักพิมพ์ และโรงพิมพ์ ใช้ชื่อเดียวกัน) ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยรามคำแหง <p>สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย <p>บรรณานุกรม <p>สำนักหอสมุดแห่งชาติ. (2553). คู่มือคัดเลือก จัดหา รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศหอสมุดแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : สำนัก. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Paleontology | บรรพชีวินวิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Fertilization (Biology) | ปฏิสนธิ (ชีววิทยา) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Soil science | ปฐพีวิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Parasiology | ปรสิตวิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Medical parasitology | ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Veterinary parasitology | ปรสิตวิทยาทางสัตวแพทยศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Neurology | ประสาทวิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Periodontic | ปริทันตวิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Ornithology | ปักษีวิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Quantum cryptography | ระบบวิทยาการรหัสลับเชิงควอนตัม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Science processing skills | ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Biology | ชีววิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Science communication | การสื่อสารวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Roasting (Metallurgy) | การเผา (โลหวิทยา) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Bioaccumulation | การสะสมทางชีววิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | High pressure (Science) | ความดันสูง (วิทยาศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Science camp | ค่ายวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Cookies (Computer science) | คุกกี้ (วิทยาการคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Agricultural microbiology | จุลชีววิทยาทางการเกษตร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Marine microbiology | จุลชีววิทยาทางทะเล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Soil biology | ชีววิทยาของดิน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Population biology | ชีววิทยาประชากร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Food chain (Ecology) | โซ่อาหาร (นิเวศวิทยา) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Physical geology | ธรณีวิทยากายภาพ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Coastal geomorphology | ธรณีสัณฐานวิทยาชายฝั่ง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Protozoology | โปรโตซัววิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Veterinary protozoology | โปรโตซัววิทยาทางสัตวแพทยศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Veterinary toxicology | พิษวิทยาทางสัตวแพทยศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Ontology | ภววิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Powder metallurgy | โลหะผงวิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Earth science | วิทยาศาสตร์โลก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Algology | วิทยาสาหร่าย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Formal method (Computer science) | วิธีรูปนัย (วิทยาการคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Evolution (Biology) | วิวัฒนาการ (ชีววิทยา) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Agricultural virology | ไวรัสวิทยาทางการเกษตร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Petroleum Province | บริเวณที่มีลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยา และลักษณะชั้นหินที่คล้ายคลึงกัน, บริเวณที่มีลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยา และลักษณะชั้นหินที่คล้ายคลึงกัน และมีแหล่งกักเก็บปิโตรลียม (Petroleum reservoir) อยู่เป็นจำนวนมาก [ปิโตรเลี่ยม] | Pathology | พยาฺธิวิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Toxicology | พิษวิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Rural sociology | สังคมวิทยาชนบท [เศรษฐศาสตร์] |
| College. | ในวิทยาลัย Chapter Nine 'Brother's Keeper' (2009) | I'm up for the Douglas Chair at the university. | ผมไปหา ดักกลาส แชร์ ที่มหาวิทยาลัย Basic Instinct (1992) | Wasn't it Nietzsche's work itself, which through deconstructive and post-structuralist readings induced the death of psychobiography? | ผลงานของเนเช่ ซึ่ง... ...ผ่านจิตวิทยาการวิจารณ์และ นักโครงสร้างการอ่าน... ...โน้มน้าวไปสู่ความตาย แห่งความวิกลจริตไม่ใช่เหรอ? Basic Instinct (1992) | She's doing research for a novel about an eminent psychoanalyst. | เธอกำลังทำวิจัยในนวนิยายเกี่ยวกับ นักจิตวิทยาที่มีชื่อเสียง Basic Instinct (1992) | I think it's time we brought this out of the closet... and report these results directly... to the Department of Scientific Intelligence in Washington. | ฉันว่ามันถึงเวลาที่เรา.. ..จะนำรายงานนี้เข้าเสนอโดยตรง.. ..ต่อกระทรวงวิทยาศาสตร์ในวอชิงตัน The Lawnmower Man (1992) | The psychiatrist figured she'd probably witnessed... one of the murders, and she's just in shock... but I've seen people flipped out before... and this girl is flipped out for good. | นักจิตวิทยาบอกว่า เธอเจอบางอย่างที่ร้ายแรงมาก จนถึงขั้นที่ว่าช็อคอย่างรุนแรง ผมเคยเห็นคนเพี้ยนแย่ๆมามาก The Lawnmower Man (1992) | Uh, I only played once with some Jewish friends in college. | ฉันเคยเล่นแค่ครั้งเดียวกับ เพื่อนชาวยิวที่มหาวิทยาลัยเท่านั้นเองค่ะ The Joy Luck Club (1993) | Harold made it back in college. | ฮาร์โรลเป็นคนทำเองตอนที่อยู่มหาวิทยาลัย The Joy Luck Club (1993) | That first afternoon he introduced himself on campus, he asked to borrow my notes. | ครั้งแรกตอนบ่ายนั้น ที่เขาเข้ามาแนะนำตัวเองตอนอยู่ในมหาวิทยาลัย เขามาขอยืมสมุดจดของฉัน The Joy Luck Club (1993) | How'd you come to work for the FBI? | ค่ะ คุณเข้าเรียนวิทยาลัยแพทย์ แต่กลับเลือกที่ไม่เป็นหมอ Deep Throat (1993) | My parents still think it was an act of rebellion. | ใช่... ค่ะ ฉันเลือกออกจากวิทยาลัยแพทย์ Deep Throat (1993) | Spooky Mulder. | เขามีฉายาที่วิทยาลัยว่า Deep Throat (1993) | You'll want to contact Agent Mulder. We look forward to your reports. | พวกเรา เชื่อมั่นในตัวคุณ ว่ามี การวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ที่เหมาะสม Deep Throat (1993) | You did your undergraduate degree in physics. | . คุณเป็นแพทย์ คุณสอนที่วิทยาลัย Deep Throat (1993) | Now when convention and science offer us no answers, might we not finally turn to the fantastic as a plausibility? | ที่ตาย จากเหตุลึกลับแบบนี้ ตอนนี้ เมื่อเรารวมข้อมูลที่มี และ วิทยาศาสตร์ ก็ไม่สามารถให้คำตอบได้ Deep Throat (1993) | The answers are there. You just have to know where to look. | ...คือความเห็นใดๆ ที่พอเป็นคำตอบ แห่งแก่นแท้ทางวิทยาศาสตร์ Deep Throat (1993) | - What we can't do here, we'll order to go. | กลุ่มเลือด, รายงานพิษวิทยา พร้อมทั้งพันธุกรรม Deep Throat (1993) | There has got to be an explanation. | - ไม่มีอะไรสนับสนุนความคิดนั้น - ไม่มีอะไรเป็นวิทยาศาสตร์ Deep Throat (1993) | - You're aware of that? - Yes, sir. | ..หลักการ และความเชื่อถือทางวิทยาศาสตร์ ดูเหมือนจะไม่สนับสนุนเรื่องราวเลย Deep Throat (1993) | The science or medical technology to do what you are suggesting does not exist. | แล้วเทคโนโลยี่ทางวิทยาศาสตร์ หรือการแพทย์ใด ที่จะทำตามอย่างที่คุณพูดได้ นั่นไม่มี Squeeze (1993) | As director of Leland University's Biotechnology Research Program... I thank you on behalf of my esteemed colleagues for your consideration. | ในฐานะ ผ.อ.โครงการวิจัยไบโอเทคมหาวิทยาลัยเลแลนด์ ผมขอขอบคุณในนามของเพื่อนที่เคารพในการรับพิจารณาโครงการ Junior (1994) | I took you for a scientist. | ฉันให้นายเป็นนักวิทยาศาสตร์ Junior (1994) | - l am a scientist. | - ฉันเป็นนักวิทยาศาสตร์ Junior (1994) | You know, of course, that human experimentation... is against university and F.D.A. guidelines. | คุณก็รู้ใช่ไหม ว่าการทดลองในมนุษย์ มันผิดกฎมหาวิทยาลัย รวมถึงอาหารและยา Junior (1994) | I'm workin' in conjunction with the university's psychiatric center. | ผมทำงานร่วมกับฝ่ายจิตเวทย์ของมหาวิทยาลัย Junior (1994) | We were unaware of the university policy, so that's why the little fib. | เรายังไม่ได้แจ้งนโยบายมหาวิทยาลัย เลยดูเหมือนโกหกหน่อยๆ Junior (1994) | -The greatest scientific breakthrough... in the history of this university. | - การก้าวล้ำทางวิทยาศาสตร์ Junior (1994) | Bravo, Doctor. | ในประวัติศาสตร์ของทางมหาวิทยาลัย ดีใจด้วย ด็อกเตอร์ Junior (1994) | And I quote, "Exploitation of results from university-funded research... shall be at the sole discretion of the university." | "การค้นพบที่อยู่ในงบประมาณของมหาวิทยาลัย" "จะต้องถูกขายภายใต้ชื่อของมหาวิทยาลัย" Junior (1994) | You and your baby are university property now. | คุณและลูกของคุณเป็นทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยแล้ว Junior (1994) | Somebody from the university has got a whole bunch of media out front. | มีคนจากมหาวิทยาลัยส่งนักข่าวมาเต็มหน้าตึกเลย Junior (1994) | This is Edward Sawyer, president of Leland University. | ท่านนี้คือเอ็ดเวิร์ด ซอว์เยอร์ อธิการมหาวิทยาลัย Junior (1994) | Do you want to continue this theological discussion in a car... or in a jailhouse with the cops? | คุณต้องการที่จะดำเนินการต่อไปนี้การอภิปรายเทววิทยาในรถ ... หรือในเรือนจำกับตำรวจได้หรือไม่ Pulp Fiction (1994) | What are you, a fucking geologist? | สิ่งที่คุณเป็นนักธรณีวิทยาร่วมเพศ? The Shawshank Redemption (1994) | Oh, Andy loved geology. | โอ้แอนดี้รักธรณีวิทยา The Shawshank Redemption (1994) | Geology is the study of pressure and time. | ธรณีวิทยาคือการศึกษาของความดันและเวลา The Shawshank Redemption (1994) | It was a small and isolated town that resisted modern technology. | มันเป็นเมืองเล็กๆ และห่างไกล ที่ไม่ยอมรับวิทยาการที่ทันสมัย Don Juan DeMarco (1994) | I am the world's greatest psychiatrist. | ผมเป็นนักจิตวิทยาที่เก่งที่สุดในโลก Don Juan DeMarco (1994) | No. All the same, these figures are science. | ไม่ เหมือนเดิมตัวเลข เป็นวิทยาศาสตร์ The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | And what is science, Mr. Anson? | วิทยาศาสตร์คืออะไร คุณแอนสัน The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | -Science is dispassionate. | วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องไร้อารมณ์ The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | By means of psychology. | โดย จิตวิทยา ครับ The Great Dictator (1940) | Another psychological triumph. | ชัยชนะ อีกวิธีด้านจิตวิทยา The Great Dictator (1940) | Secretary of the Interior, Minister of Propaganda... | รมต.มหาดไทย รมต.จิตวิทยาโฆษาณา The Great Dictator (1940) | Let us fight for a world of reason, a world where science and progress will lead to the happiness of all. | เราจะสู้บนเหตุและผล โลกแห่งวิทยาศาสตร์และความก้าวหน้า จะพาทุกคนไปสู่ความสุข The Great Dictator (1940) | Nobody can know a thing like that. This isn't an exact science. | ไม่มีใครสามารถรู้ว่าสิ่งที่ต้องการที่ นี้ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ที่แน่นอน 12 Angry Men (1957) | That's reverse psychology. Dad used to pull it on me all the time. | มันคือจิตวิทยาย้อนกลับ พ่อใช้มันกับฉันอยู่บ่อยๆ Jumanji (1995) | Scientist, you're getting nowhere. | นักวิทยาศาสตร์ คุณได้รับ ไม่มีที่ไหนที่คุณ นักวิทยาศาสตร์ Help! (1965) | (Electronic beeping) | ไม่ย่อท้อในที่สุด นักวิทยาศาสตร์ที่ ใกล้ที่สุด Help! (1965) | Outrageous! You're nothing but a mad scientist! | แค่นักวิทยาศาสตร์บ้าที่ใช้งาน ซ้ำซาก Help! (1965) |
| อาจารย์มหาวิทยาลัย | [ājān mahāwitthayālai] (n, exp) EN: lecturer | อาณาจักรวิทยาศาสตร์ | [ānājak witthayāsāt] (n, exp) EN: domain of science ; field of science FR: domaine de la science [ m ] | อาชญาวิทยา = อาชญาวิทยา | [ātchayāwitthayā = ātyāwitthayā] (n) EN: criminology FR: criminologie [ f ] | อาชญาวิทยา = อาชญาวิทยา | [ātyāwitthayā = ātchayāwitthayā] (n) EN: criminology FR: criminologie [ f ] | โบราณคดีวิทยา | [bōrānnakhadīwitthayā] (n) EN: archeology FR: archéologie [ f ] | ชื่อวิทยาศาสตร์ | [cheū witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific name FR: nom scientifique [ m ] ; nom latin [ m ] | ชีววิทยา | [chīwawitthayā] (n) EN: biology FR: biologie [ f ] | ชีววิทยาเชิงคำนวณ | [chīwawitthayā choēng khamnūan] (n, exp) EN: computational biology | ชีววิทยาของเซลล์ | [chīwawitthayā khøng sel] (n, exp) EN: cell biology FR: biologie cellulaire [ f ] | ชีววิทยาของเซลล์ทางการแพทย์ | [chīwawitthayā khøng sel thāng kān phaēt] (n, exp) EN: medical cell biology | จักรวาลวิทยา | [jakkrawānwitthayā] (n) EN: cosmology FR: cosmologie [ f ] | จักษุวิทยา | [jaksuwitthayā] (n) EN: ophthalmology FR: ophtalmologie [ f ] | จิตวิทยา | [jittawitthayā] (n) EN: psychology FR: psychologie [ f ] | จิตวิทยาอปกติ | [jittawitthayā apakati = jittawitthayā apokkati] (n, exp) EN: abnormal psychology | จิตวิทยาบุคลิกภาพ | [jittawitthayā bukkhalikkaphāp] (n, exp) EN: psychology of personality FR: psychologie de la personnalité [ f ] | จิตวิทยาเด็ก | [jittawitthayā dek] (n, exp) EN: child psychology FR: psychologie de l'enfant [ f ] | จิตวิทยาการบริการ | [jittawitthayā kān børikān] (n, exp) EN: psychology of hospitality ; psychology of tourism, hospitality and leisure | จิตวิทยาการจูงใจ | [jittawitthayā kān jūngjai] (n, exp) EN: psychology of motivation FR: psychologie de la motivation [ f ] | จิตวิทยาการกีฬา | [jittawitthayā kānkīlā] (n, exp) EN: sport psychology FR: psychologie sportive [ f ] | จิตวิทยาการพัฒนาทีมงาน | [jittawitthayā kān phatthanā thīm ngān] (n, exp) EN: teamwork development psychology | จิตวิทยาการปรึกษา | [jittawitthayā kān preuksā] (n, exp) EN: counseling psychology | จิตวิทยาการปรึกษาแบบกลุ่ม | [jittawitthayā kān preuksā baēp klum] (n, exp) EN: group counseling | จิตวิทยาการเรียนรู้ | [jittawitthayā kān rīenrū] (n, exp) EN: psychology of learning FR: psychologie de l'apprentissage [ f ] | จิตวิทยาการศึกษา | [jittawitthayā kānseuksā] (n, exp) EN: educational psychology FR: psychologie éducative [ f ] | จิตวิทยาการสื่อสาร | [jittawitthayā kān seūsān] (n, exp) EN: psychology of communication FR: psychologie de la communication [ f ] | จิตวิทยาการทดลอง | [jittawitthayā kān thotløng] (n, exp) EN: experimental psychology FR: psychologie expérimentale [ f ] | จิตวิทยาคลีนิก | [jittawitthayā khlinik] (n, exp) EN: clinical psychology FR: psychologie clinique [ f ] | จิตวิทยาองค์การ | [jittawitthayā ongkān] (n, exp) EN: organizational psychology FR: psychologie organisationnelle [ f ] | จิตวิทยาพัฒนาการ | [jittawitthayā phatthanākān] (n, exp) EN: developmental psychology | จิตวิทยาผู้บริโภค | [jittawitthayā phūbøriphōk] (n, exp) EN: consumer psychology FR: psychologie du consommateur [ f ] | จิตวิทยาประยุกต์ | [jittawitthayā prayuk] (n, exp) EN: applied psychology FR: psychologie appliquée [ f ] | จิตวิทยาสังคม | [jittawitthayā sangkhom] (n, exp) EN: social psychology FR: psychologie sociale [ f ] | จิตวิทยาสิ่งแวดล้อม | [jittawitthayā singwaētløm] (n, exp) EN: environmental psychology FR: psychologie environnementale [ f ] | จิตวิทยาสุขภาพ | [jittawitthayā sukkhaphāp] (n, exp) EN: health psychology | จิตวิทยาทดลอง | [jittawitthayā thotløng] (n, exp) EN: experimental psychology FR: psychologie expérimentale [ f ] | จิตวิทยาทั่วไป | [jittawitthayā thūapai] (n, exp) EN: general psychology FR: psychologie générale [ f ] | จิตวิทยาวัยผู้ใหญ่ | [jittawitthayā wai phūyai] (n, exp) EN: adult psychology FR: psychologie de l'adulte [ f ] | จิตวิทยาวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ | [jittawitthayā wai phūyai lae phū sūng-āyu] (n, exp) EN: psychology of adulthood and aging FR: psychologie de l'adulte et de la personne âgée [ f ] | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | [Julālongkøn Mahāwitthayālai] (n, prop) EN: Chulalongkorn University FR: université Chulalongkorn [ f ] | จุลชีววิทยา | [junchīwawitthayā] (n) EN: microbiology FR: microbiologie [ f ] | กายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยา | [kāiyawiphāksāt lae sarīrawitthayā] (n, exp) EN: anatomy and physiology | การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ | [kān patiwat thāng witthayāsāt] (n, exp) EN: Scientific Revolution | การแสดงวิทยาศาสตร์ | [kān sadaēng witthayāsāt] (n, exp) EN: science show FR: exposition scientifique [ f ] | การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย | [kānseuksā radap mahāwitthayālai] (n, exp) EN: university education | การวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ | [kān wijai choēng witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific research FR: recherche scientifique [ f ] | คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | [Khana Nitisāt Julālongkøn Mahāwitthayālai] (org) FR: Faculté de Droit de l'université Chulalongkorn [ f ] | คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | [Khana Nitisāt Mahāwitthayālai Thammasāt] (org) FR: Faculté de Droit de l'université Thammasat [ f ] | คณะวิทยาการจัดการ | [khana witthayākān jatkān] (n, exp) EN: faculty of management sciences | คณะวิทยาการการจัดการ | [khana witthayākān kān jatkān] (n, exp) EN: faculty of management sciences | คณะวิทยาศาสตร์ | [khana witthayāsāt] (n, exp) EN: faculty of science FR: faculté des sciences [ f ] |
| bayer pattern | (n) รูปแบบตารางแผ่นกรองหลากสี สำหรับปะหน้าตัวรับภาพที่แยกแยะได้เฉพาะค่าความสว่าง (เช่น CCD หรือ CMOS Sensor) เพื่อให้สามารถแยกแยะสีของภาพได้ โดยแผ่นกรองนี้จะยอมให้แสงสีที่กำหนดผ่านไปตกบนตัวรับภาพ ณ บริเวณที่กำหนดเท่านั้น bayer pattern ที่นิยมใช้กันมากในกล้องถ่ายภาพมี สองชนิด คือ RGB bayer pattern และ CMY bayer pattern ซึ่งยอมให้แสงสี Red-Green-Blue และ Cyan-Magenta-Yellow ไปตกบนตัวรับภาพได้ ตามลำดับ ชื่อของแบบตาราง มาจากชื่อของ Dr. Bayer นักวิทยาศาสตร์ของบริษัท Kodak ผู้คิดค้น, See also: CCD | biology | ชีววิทยา | nstda | (org) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ National Science and Technology Development Agency | biologist | (n) นักชีววิทยา | CIFS | (org) สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม (Central Institute of Forensic Science) | emeritus | (adj, n) กิตติคุณ เป็นตำแหน่งที่มหาวิทยาลัยมอบให้แก่บุคลากรอาวุโสที่เกษียณอายุแล้ว โดยเป็นผู้ที่ทำคุณประโยชน์แก่มหาวิทยาลัยมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน เช่น president emeritus อธิการบดีกิตติคุณ, professor emeritus ศาสตราจารย์กิตติคุณ | physiology | (n) ศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต, สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา | methodology | (n) ระเบียบวิธี, วิธีวิทยา | psy-ops | (n) ปฏิบัติการทางจิตวิทยา, Syn. psychological operations | neurobiology | (n) ประสาทชีววิทยา | theses | (n) |พหูพจน์ของ thesis| วิทยานิพนธ์, ข้อสรุป, ข้อวินิจฉัย เช่น Finding model theses or dissertations can help you gauge how much (or how little) you have to do. A good model can also serve as an inspiration for you. | glory lily | ดองดึง หรือบางที่เรียกว่า ดอกก้ามปูนา มีชื่อวิยาศาสตร์ว่า Gloriosa superba (ชื่อวิทยาศาตร์ต้องเขียนด้วยตัวเอียงหรือขีดเส้นใต้เท่านั้น) Image: | entomologist | (n) นักกีฏวิทยา เช่น Entomologists should study botany, entomology, and natural science. | Ramkhamhaeng University | (n, name, uniq) มหาวิทยาลัยรามคำแหง, มหาวิทยาลัยแบบไม่ต้องสอบเข้า ไม่จำกัดอายุ เพศ หรืออัตตลักษณ์ทางเพศ ตั้งอยู่ที่ ถ.รามคำแหง เขตหัวหมาก กรุงเทพมหานคร, www.RU.ac.th, See also: Open University | Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) | data science | (n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | data analytics | (n) วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล, ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจำแนกกลุ่ม การดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์แนวโน้ม การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประจำของข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ปรากฏชัดเจนนัก [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | cryptocurrency | (n) เงินตราเข้ารหัสลับ, คริปโทเคอร์เรนซี, สินทรัพย์ดิจิทัลที่เป็นสื่อกลางในการทำธุรกรรม ซึ่งใช้วิทยาการเข้ารหัสลับสำหรับรับประกันความถูกต้องของธุรกรรมนั้น เพื่อควบคุมการสร้างหน่วยเงินดิจิทัลเพิ่ม และเพื่อยืนยันความถูกต้องของการโอนสินทรัพย์ เป็นเงินดิจิทัลรูปแบบหนึ่งที่ควบคุมโดยกระจายศูนย์กลางผ่านบล็อกเชน [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | artificial intelligence (AI) | (n) ปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ), สาขาหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเน้นเรื่องที่จะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ใกล้เคียงมนุษย์มากขึ้น แบ่งย่อยออกเป็นสาขาต่าง ๆ เช่น การแปลภาษาด้วยเครื่อง ระบบผู้เชี่ยวชาญ วิทยาการหุ่นยนต์ การรู้จำแบบ การรับรู้เยี่ยงมนุษย์ (human perception) ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
| academic | (n) อาจารย์หรือนักศึกษามหาวิทยาลัย | academician | (n) สมาชิกของสโมสร (ทางด้านต่างๆเช่น ศิลปะ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์) | academy | (n) โรงเรียน, See also: สถานศึกษา, สถาบันการศึกษา, วิทยาลัยเฉพาะด้าน | actinology | (n) วิทยาศาสตร์ในสาขาที่เกี่ยวกับรังสีของแสงและปฏิกิริยาของแสง | aero | (adj) ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์หรือศิลปะการบิน | aerostation | (n) วิทยาศาสตร์หรือศิลปะที่เกี่ยวกับการสร้างวัตถุเช่น บอลลูนให้ลอยในอากาศ | agrology | (n) วิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร | agronomics | (n) วิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร, Syn. agronomy | agronomy | (n) วิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร, Syn. agronomics | altimetry | (n) วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการวัดความสูง | analytics | (n) วิเคราะห์วิทยา | anthropologist | (n) นักมานุษยวิทยา | anthropology | (n) มานุษยวิทยา, See also: การศึกษาเกี่ยวกับมนุษยในด้านต่างๆ, Syn. science of humans, study of humans | anthropometry | (n) การวัดร่างกายมนุษย์ตามหลักวิทยาศาสตร์ | archaeology | (n) โบราณคดี, See also: โบราณคดีวิทยา, Syn. archeology | archeology | (n) โบราณคดี, See also: โบราณคดีวิทยา, Syn. archaeology | bacteriology | (n) แบ็กทีเรียวิทยา, Syn. pathology | behaviorism | (n) ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ (ทางจิตวิทยา) | behaviourism | (n) ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ (ทางจิตวิทยา) | biological | (adj) ทางชีววิทยา, Syn. biotic, organic, natural, Ant. artificial, inorganic, unnatural. | biologist | (n) นักชีววิทยา | biology | (n) ชีววิทยา, Syn. naturalist | biophysics | (n) ศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการใช้วิธีการทางฟิสิกส์ศึกษาชีววิทยา | boffin | (n) นักวิทยาศาสตร์ | breakthrough | (n) การพัฒนาหรือการค้นพบที่ยิ่งใหญ่, See also: โดยเฉพาะทางวิทยาศาสต์ เทคโนโลยี หรือทางการแพทย์, Syn. discovery | Burapa University | (n) มหาวิทยาลัยบูรพา | bursar | (n) เหรัญญิกโรงเรียนหรือวิทยาลัย | be up | (phrv) มาถึง (มหาวิทยาลัยหรือสถานที่สำคัญ) | campus | (n) พื้นที่ที่เป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัย, Syn. school grounds, college grounds | college | (n) วิทยาลัย, See also: โรงเรียนเฉพาะสาขาวิชา, Syn. institute, campus | collegian | (n) นักศึกษาของวิทยาลัย | collegiate | (adj) เกี่ยวกับวิทยาลัย | cosmology | (n) จักรวาลวิทยา, See also: การศึกษาเกี่ยวกับจักรวาล | criminology | (n) อาชญวิทยา | feed into | (phrv) ป้อนเข้าไปใน (เครื่องจักร, โรงเรียน, มหาวิทยาลัย), See also: ป้อนเข้าสู่, หยอดเข้าไปใน | decompose | (vt) ทำให้เน่าเปื่อย (ทางชีววิทยา), See also: ทำให้ผุพัง, ทำให้เน่าสลาย, Syn. decay, molder, putrefy, rot, spoil | delusion | (n) อาการหลงผิด (ทางจิตวิทยา), See also: อาการหลอน, Syn. hallucination, mental error | dermatology | (n) ผิวหนังวิทยา, See also: การศึกษาเกี่ยวกับโรคผิวหนัง | dialectic | (adj) เกี่ยวกับการโต้แย้งด้วยเหตุผล, See also: ตรรกวิทยา | dialectician | (n) นักตรรกวิทยา | dietetics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการกำหนดปริมาณและชนิดของอาหารเพื่อสุขภาพ, See also: วิชากำหนดอาหารเพื่อสุขภาพ, โภชนวิทยา, โภชนบำบัด, Syn. sitology | dissertation | (n) ปริญญานิพนธ์, See also: วิทยานิพนธ์, Syn. thesis, report, essay | dynamogenesis | (n) การเกิดพลังงาน (ทางจิตวิทยา), See also: การเกิดกำลังแรงงาน | earth science | (n) วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับพื้นดินและส่วนประกอบของโลก (เช่น ภูมิศาสตร์ ธรณีวิทยา), Syn. geography | ecology | (n) นิเวศวิทยา, See also: การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม, สาขาสังคมวิทยาที่เกี่ยวกับความ, Syn. bionomics | efferent | (adj) ซึ่งสั่งการจากอวัยวะส่วนกลาง (โดยเฉพาะสมองและไขสันหลัง) (ทางสรีรวิทยา), See also: ซึ่งออกจากจุดศูนย์กลาง, Ant. afferent | ego | (n) อัตตา (ทางจิตวิทยา), See also: ตัวของตัวเอง, ตนเอง, Syn. individuality, personality, self | eidetic | (adj) ซึ่งสามารถจดจำได้อย่างแม่นยำ (ทางจิตวิทยา), See also: ซึ่งถอดแบบมาได้เหมือนจริงมาก, Syn. visualizing | ensiform | (adj) ซึ่งเรียวยาวและปลายแหลมคล้ายดาบ (ทางชีววิทยา), Syn. swordlike | entomology | (n) สาขาวิชาหนึ่งทางสัตววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับแมลง, See also: กีฏวิทยา |
| a. a. a. s. | abbr. American Association for the Advancement of Science สมาคมเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์แห่งอเมริกา | a. a. s. | abbr. American Academy of Sciences (สภาวิทยาศาสตร์แห่งอเมริกา) | a. a. u. w. | abbr. American Association of University Women (สมาคมสตรีมหาวิทยาลัยแห่งอเมริกา) | abc | (เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ <คำแปล>ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด | abnormal psychology | จิตวิทยาที่เกี่ยวกับความวิปริตของบุคลิกภาพ (branch of psychology) | acarology | (แอคคาร็อล' โลจี) n. ชีววิทยาที่เกี่ยวกับตัวเห็บหรือหมัด -acarologist n. | aeroballistics | (แอโรบะลิส' ทิคซฺ) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับขีปนาวุธ. -aeroballistic adj. | aerograph | (แอ' โรกราฟ) n. บันทึกอุตุวิทยา | aeronautics | (แอโรนอท' ทิคซฺ) n. วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะการบิน (science of flight) | aerostatics | (แอโรสแทท' ทิคซฺ) n. สถิติศาสตร์ที่เกี่ยวกับแก๊สหรืออากาศธาตุ, วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับยานที่เบากว่าอากาศ -aerostatic , aerostatical adj. (of lighter-than-air craft) | aerostation | (แอโรสเท' เชิน) n. วิทยาศาสตร์หรือศิลปที่เกี่ยวกับบอลลูนหรือเรือบินที่เบากว่าอากาศ | agrobiology | (แอก' โกรไบออล' โลจี) ชีวเกษตรกรรม, วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับชีวิต และโภชนาการของพืช. -agrobiologic, agribiological adj. -agrobiologist n. วิทยาที่เกี่ยวกับเ (agro+biology) | agrology | (อะกรอล' โลจี) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับดินเพาะปลูกเกษตรกรรม, ปฐพีเกษตรกรรม. -agroligic, agrological adj. | agronomics | (แอกโรนอม' มิคซฺ) ปฐพีศาสตร์, วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับพื้นดินเพาะปลูกสำหรับเกษตรกรรม (science of managing crops) | ai | (เอไอ) abbr. 1. ย่อมาจากคำว่า aortic insufficiency 2. ย่อมาจากคำว่า artificial intelligence แปลว่า ปัญญาประดิษฐ์ หมายถึงแขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ | altimetry | (แอลทิม' มิทรี) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการวัดความสูง-altimetric (al) adj. | alumnus | (อะลัม' เนิส) n., (pl. -ni) ศิษย์เก่าชายของโรงเรียน วิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย | analytics | (แอนนะลิท' ทิคซฺ') n. วิเคราะห์วิทยา | anatomic | (al) (แอนนะทอม' มิเคิล) adj. เกี่ยวกับกายวิภาควิทยา | anatomy | (อะแนท' โทมี) n. กายวิภาควิทยา, แบบจำลองสิ่งมีชีวิตเพื่อใช้ศึกษาด้านกายวิภาควิทยา, โครงกระดูก, การตรวจวิเคราะห์อย่างละเอียด | anesthesiology | (แอนเนสธีซิออล' โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับการวางยาสลบหรือยาชา, วิสัญญีวิทยา, Syn. anaesthesiology | angelology | (เอนเจลลอล' โลจี) n. ทูตสวรรค์วิทยา, ทฤษฎีเกี่ยวกับทูตสวรรค์ | anthropologist | (แอนโธรพอล' โลจิสทฺ) n. มนุษย์วิทยา, ผู้เชี่ยวชาญวิชามนุษย์วิทยา | arpanet | (อาร์ปาเน็ต) ARPA นั้นย่อมาจาก Advanced Research Project Agency เป็นชื่อหน่วยงานที่ทำการวิจัยและทดลองเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วประเทศของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่เชื่อมโยงสถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยมีจุดประสงค์ที่จะเพิ่มศักยภาพทางการทหารให้แก่กระทรวงกลาโหม ปัจจุบัน เครือข่ายอาร์ปาเน็ต ได้ไปผนวกเข้ากับเครือข่ายอื่น ๆ อีกหลายเครือข่าย เป็นเครือข่ายรวมใหญ่ในชื่อว่า "อินเตอร์เน็ต" (Internet) | artificial intelligence | ปัญญาประดิษฐ์ใช้ตัวย่อว่า AI หมายถึง แขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ | astronautics | (แอสโทรนอท' ทิคซฺ) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการบินในอวกาศ | autecology | (ออทีคอส'โลจี) n. นิเวศวิทยาที่เกี่ยวกับเฉพาะตัวและสิ่งแวดล้อม. -autecologic (al) adj. (author authorized | avionics | (เอวีออน'นิคซ) n. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกี่ยวกับอุปกรณ์ไฟฟ้า และอีเลคทรอนนิคส์แห่งการบิน (in aviation) | b.s. | abbr. Bachelor of Science วิทยาศาสตรบัณฑิต | b.sc | abbr. Bachelor of Science วิทยาศาสตรบัณฑิต | b.sc. | abbr. Bachelor of Science วิทยาศาสตรบัณฑิต | babbage, charles | (ชาร์ลส์ แบบเบจ) เป็นชื่อนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่ง มีชีวิตอยู่ตั้งแต่ ค.ศ 1791-1871 เป็นคนแรกที่ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีชื่อว่า Analytic Engine ซึ่งมีลักษณะความคิดที่เป็นต้นเค้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดิจิตอล ในปัจจุบัน กล่าวคือเป็นเครื่องจักรที่ทำงานไปตามโปรแกรมซึ่งเขียนเก็บไว้ในหน่วยความจำ | bacteriologist | n. นักแบคทีเรียวิทยา | bacteriology | (แบคเทียรีออล'โลจี) n. แบคทีเรียวิทยา, การศึกษาเกี่ยวกับเชื้อแบคทีเรีย, See also: bacteriological adj. bacteriologist n. | ballistics | (บะลิส'ทิคซฺ) n. วิทยาศาสตร์หรือการศึกษาเกี่ยวกับขีปนาวุธ, See also: ballistician adj. ดูballistics | bbs | (บีบีเอส) ย่อมาจาก bulletin board system หรือที่แปลว่า ระบบแผงข่าว เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น บีบีเอสของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) | bernouilli box | กล่องเบอร์นิวลีหมายถึง ระบบการเก็บข้อมูลจำนวนมาก ๆ ไว้ในแถบบันทึกคาร์ทริดจ์ (cartridge) แถบบันทึกชนิดนี้ทำไว้ให้ถอดเก็บได้สะดวก นักวิทยาศาสตร์ชาวสวิสที่ ชื่อเบอร์นิวลี (Bernouilli) เป็นผู้คิดทำและ เป็นผู้คิดทฤษฎีเกี่ยวกับพลังการหมุนของแถบบันทึกชนิดนี้ | biologic | (ไบโอลอจ'จิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับชีววิทยา n. ผลิตผลทางชีวภาพ (เช่น วัคซีน เซรุ่ม) | biological | (ไบโอลอจ'จิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับชีววิทยา n. ผลิตผลทางชีวภาพ (เช่น วัคซีน เซรุ่ม) | biologist | (ไบออล'ละจิสทฺ) n. นักชีววิทยา | biology | (ไบออล'โลจี) n. ชีววิทยา | breakthrough | (เบรค'ธรู) n. การพัฒนาอย่างมากมายยิ่ง, การก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ครั้งสำคัญยิ่ง, การฝ่าอุปสรรค, การบุกทะลวง, Syn. advance -Conf.break through | bulletin board system | ระบบการบริการเครือข่ายที่อนุญาตให้ผู้ใช้ที่มีผลประโยชน์ร่วมให้ส่งและรับข้อมูลหรือได้รับซอฟแวร์ เป็นต้น ระบบแผงข่าวศูนย์รวมข่าวใช้ตัวย่อว่า BBS (อ่านว่า บีบีเอส) เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น ระบบแผงข่าวของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) | campus | (แคมพฺ'พัส) n. บริเวณมหาวิทยาลัยหรือโรงเรียน, วิทยาลัย, มหาวิทยาลัย -pl. campuses | campus area network | ข่ายงานบริเวณวิทยาเขตหมายถึงข่ายงานร่วมกันภายในแต่ละมหาวิทยาลัยที่มีวิทยาเขต (campus) หลายวิทยาเขต คอมพิวเตอร์ในแต่ละวิทยาเขตจะทำงานร่วมกันได้ ใช้ข้อมูลหรือโปรแกรมร่วมกันได้ ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือใช้อุปกรณ์บางอย่างร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ นับเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายได้เป็นอย่างดีดู local area network ประกอบ | cancerology | n. มะเร็งวิทยา | cardiology | (คาร์ดิออล'โลจี่) n. หัวใจวิทยา, See also: cardiological adj. เกี่ยวกับหัวใจวิทยา cardiologist n. นักหัวใจวิทยา | carpology | n. ผลไม้วิทยา | censor | (เซน'เซอะ) n. เจ้าหน้าที่จับผิด, เจ้าหน้าที่ดูแลมหาวิทยาลัย, พลังข่มจิตภายใน vt. ตรวจสอบ, เซนเซอร์, ตัดตอนแก้ไข, See also: censorial adj. -Conf. consure | christology | (คริสทอล'โลจี) n. คริสต์ศาสนาวิทยา |
| agronomist | (n) นักปฐพีวิทยา | agronomy | (n) ปฐพีศาสตร์, ปฐพีวิทยา | anatomy | (n) กายวิภาคศาสตร์, กายวิภาควิทยา | anthropology | (n) มานุษยวิทยา | anthropometry | (n) มานุษยวิทยาเกี่ยวกับการวัดร่างกายของคน | astronautics | (n) วิทยาศาสตร์การบิน | biological | (adj) เกี่ยวกับชีววิทยา, ทางชีววิทยา | biologist | (n) นักชีววิทยา | biology | (n) ชีววิทยา | bionomics | (n) นิเวศน์วิทยา | campus | (n) วิทยาเขต | college | (n) วิทยาลัย, โรงเรียนเอกชน | collegiate | (adj) เกี่ยวกับวิทยาลัย | criminology | (n) อาชญากรรมวิทยา | dissertation | (n) การสนทนา, การถกปัญหา, การบรรยาย, การเขียนตำรา, วิทยานิพนธ์ | divinity | (n) ศาสนศาสตร์, พระเจ้า, เทพเจ้า, เทววิทยา, ความศักดิ์สิทธิ์ | entomology | (n) กีฏวิทยา, วิชาว่าด้วยแมลง | ethnology | (n) ชาติพันธุ์วิทยา, ชนชาติวิทยา, ชาติวงศ์วิทยา | fellow | (n) มิตรสหาย, เพื่อน, ภาคีสมาชิก, มนุษย์, นักวิจัยในมหาวิทยาลัย | fellowship | (n) มิตรภาพ, ความสัมพันธ์, การคบหาสมาคม, ทุนเรียนในมหาวิทยาลัย | geological | (adj) เกี่ยวกับธรณีวิทยา, ทางธรณีวิทยา | geologist | (n) นักธรณีวิทยา | geology | (n) ธรณีวิทยา | ideology | (n) ลัทธิ, มโนคติวิทยา | institute | (n) สิ่งที่จัดขึ้น, องค์การ, สถาบัน, หลักฐาน, วิทยาลัย | intercollegiate | (adj) ระหว่างวิทยาลัย, ระหว่างมหาวิทยาลัย | logic | (n) ตรรกวิทยา, เหตุผล | logical | (adj) ตามเหตุผล, ตามหลักตรรกวิทยา | logician | (n) นักตรรกวิทยา | meteoric | (adj) เกี่ยวกับดาว, เกี่ยวกับบรรยากาศ, เกี่ยวกับอุตุนิยมวิทยา | meteorological | (adj) เกี่ยวกับอุตุนิยมวิทยา | meteorology | (n) อุตุนิยมวิทยา | mineralogy | (n) แร่วิทยา | naturalist | (n) นักธรรมชาติวิทยา | neurology | (n) ประสาทวิทยา | ornithology | (n) นกวิทยา | pathological | (adj) เกี่ยวกับพยาธิวิทยา | pathology | (n) พยาธิวิทยา, อายุรเวช, เวชศาสตร์ | pharmacology | (n) เภสัชวิทยา | physiological | (adj) เกี่ยวกับสรีรวิทยา | physiologist | (n) นักสรีรศาสตร์, นักสรีรวิทยา | physiology | (n) สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา | psychological | (adj) เกี่ยวกับจิตวิทยา, เกี่ยวกับจิต, ในทางจิต | psychologist | (n) นักจิตวิทยา | psychology | (n) จิตวิทยา | Renaissance | (n) สมัยฟื้นฟูวิทยาการใหม่ | school | (n) โรงเรียน, วิทยาลัย, สถาบันการศึกษา, การเล่าเรียน, ฝูงปลา | science | (n) วิทยาศาสตร์, ศาสตร์ | scientific | (adj) มีหลักเกณฑ์, เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ | scientifically | (adv) อย่างมีหลักเกณฑ์, ทางวิทยาศาสตร์ |
| *ผงชูรส* | (n) เป็นชื่อกลางที่ใช้เรียก โมโนโซเดียมกลูตาเมต (Monosodium Glutamate) วัตถุเจือปนอาหารประเภท วัตถุปรุงแต่งรสอาหารมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวไม่มีกลิ่น มีประโยชน์ในการเป็นสารเพิ่มรสชาติอาหาร (Flavor Enhancer) ทำให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น โดยช่วยเพิ่มรสชาติของรสชาติพื้นฐาน 4 รสที่เรารู้จักกันดีคือ รสหวาน รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสขม ให้เด่นชัดมากขึ้น ในการศึกษาทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับรสชาติพบว่าผงชูรสสามารถกระตุ้น Glutamate Receptor แล้วทำให้เกิดรสชาติเฉพาะตัวที่เรียกว่ารสอูมามิ (Umami) ซึ่งเป็นรสที่ 5 ที่มนุษย์สามารถรับรู้ได้และมีเอกลักษณ์แตกต่างจากรสชาติพื้นฐานทั้ง 4 | academia | โรงเรียน มหาวิทยาลัย | Anthropocene | [อันโธรพะซีน] (adv) เกี่ยวกับหรือหมายถึงยุคสมัยในทางธรณีวิทยาที่ซึ่งการกระทำของมนุษย์มีอิทธิพลมากที่สุดต่อสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อม | anthropological linguistics | ภาษาศาสตร์มนุษยวิทยา | Assumption University | (n) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ | Automated Meteorological Data Acquisition System | (jargon) ระบบรับข้อมูลอุตุนิยมวิทยาโดยอัตโนมัติ | college | (n) มหาวิทยาลัย | collegiality | (n) วิทยามิตร | decomposer | [ดีคอมโพสเซอร์] (n) ผู้ย่อยสลาย หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ได้สารอาหารจากการย่อยซากสิ่งมีชีวิต เช่น จุลินทรีย์ เห็ด รา เป็นต้น(ศัพท์ทางชีววิทยา) | dermatology | (n) ตจวิทยา | disease | (n) การตอบสนองทางพยาธิสรีรวิทยาต่อปัจจัยภายนอก หรือภายใน | ecohydrology | [UK [ ˌɛkəʊhaɪˈdrɒlədʒi ], US [ ˌɛkoʊhaɪˈdrɑːlədʒi ]] (n, uniq) น. นิเวศนุกวิทยา - วิชาที่ว่าด้วยระบบน้ำที่มีอยู่ในโลกและระบบนิเวศ (eco + hydrology: นิเวศ + อุทกวิทยา) | embryologist | (n) นักวิทยาศาสตร์เพาะเลี้ยงตัวอ่อน, See also: embryo | entania | [เอนทาเนีย] (name) ชื่อเรียกของนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | entania | (uniq) ชื่อเรียกของนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | entania | (n) ชื่อเรียกของนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | environmental science | (n) วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม | epidemiologist | (n) นักระบาดวิทยา, See also: A. -, disease, Syn. - | Epigenetic | [อีพีเจเนติกส์] อีพีเจเนติกส์ หรือพันธุศาสตร์ด้านกระบวนการเหนือพันธุกรรม คือองค์ความรู้ทางชีววิทยาโดยเฉพาะพันธุศาสตร์ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของการแสดงออกของยีนที่เกิดจากกระบวนการอื่นนอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงลำดับดีเอ็นเอ ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงการแสดงออกของยีนแบบนี้เช่นการเติมหมู่เมธิลบนดีเอ็นเอหรือการถอนหมู่อะเซทิลออกจากฮิสโตน เป็นการยับยั้งการแสดงออกของยีนนั้นๆ โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงของลำดับดีเอ็นเอในยีนนั้นๆ | Faculty of Sociology and Anthropology | (n) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา | Faculty of Sociology and Anthropology | (n) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา | forensic anthropology | นิติมานุษยวิทยา | histological | (n) มิญชวิทยา | history painting | [ฮิส-ตรี-เพ้น-ทิง] (n) จิตรกรรมประวัติศาสตร์ เป็นประเภทของจิตรกรรม (genre) ที่เป็นจิตรกรรมเป็นภาพเขียนของเนื้อหาจากประวัติศาสตร์กรีกและโรมัน, ประวัติศาสตร์คริสต์ศาสนา และตำนานเทพ/ปรัมปราวิทยา และรวมทั้งเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นเมื่อไม่นานก่อนที่งานจะเขียน (Source: wikipedia.org) | ichthyology | (n) มีนวิทยา | immunological | [อิมมิวโนโลจิคอล] (n) การศึกษาเกี่ยวกับวิทยาภูมิคุ้มกัน | intania | (n, name, uniq) ชื่อเรียกของนิสิต นักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ มหาวิทยาลัยมหิดล | intrabusiness | [ไทย] (n, vt) Intrabusiness ก็คือ การติดต่อ ระหว่างคนในองค์กรกันเอง หรือ ระหว่างบริษัทที่เป็นคู่ค้ากันอยู่ เช่น เว็บของมหาวิทยาลัยบ คนอื่น ก็จะเข้ามาได้ แต่ไม่สามารถเข้ามาดูข้อมูลส่วนตัวได้ หรือ อย่างธนาคารที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสาขากัน | Khonkaen Vocational College | [ขอนแก่น โวเคชั่นแนลคอลเลจ] (n) วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น | Khonkaenwittayayorn School | (n) โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน | Lexicology | ศัพทวิทยา | limnologist | [ลิมโนโลจิสต์] (n) นักชลธีวิทยา | long kong | (name) ลองกองเป็นชื่อของผลไม้เศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ MELIACEAE ชื่อสามัญคือ long kong ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Lansium domesticum Corr. ลองกองนั้นเชื่อว่าเป็นผลไม้ที่มีถิ่นกำเนิดมาจากบริเวณหมู่เกาะมลายู อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และภาคใต้ของไทย Image: | mayfly | (n, name, uniq) ชีปะขาว หรือชีผะขาวก็เรียก ชีผ้าขาวก็เรียก หรือเมย์ฟลายส์ (mayflies) ชื่อวิทยาศาสตร์ เอพฮีมีรอบเทอรา (Ephemeroptera) ตัวขนาดเล็กถึงกลาง ปีกบางมีเส้นมากมาย ปีกคู่แรกใหญ่กว่าคู่หลัง ตัวเมียวางไข่ในน้ำ ตัวอ่อนรูปร่างเรียวยาวอาศัยในน้ำนาน 1-2 ปี ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นแมลงโตเต็มวัย มีปีก ชอบเล่นไฟ มันมีอายุเพียง 1-2 วันเท่านั้น ไม่กินอาหาร ผสมพันธุ์แล้วตาย ฤดูกาลวางไข่อยู่ในราวกลางเดือนเมษายน พบใกล้แหล่งน้ำ บ่อน้ำ ลำธาร ตัวแก่เต็มที่จะลอกคราบออกพร้อมบินขึ้นจากผิวน้ำไปยังแสงสว่าง เป็นการบินขึ้นมาดูโลกครั้งแรกและครั้งสุดท้ายในชีวิต | mega tsunami | (n) คลื่นซึนามิขนาดใหญ่ ที่นักวิทยาศาสตร์คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งคลื่น mega tsunami อาจมีความสูงหลายร้อยเมตร มีอำนาจการทำลายล้างมากกว่า Tsunami หลายสิบเท่า | Molecular Gastronomy | (n, name) การทำอาหารโดยอาศัยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ และอาศัยวิธีการศึกษาองค์ประกอบของเครื่องปรุงอย่างวิทยาศาสตร์ศึกษาปฏิกิริยาทางเคมีที่ทำให้เครื่องปรุงเปลี่ยนรสหรือเปลี่ยนสี เพื่อให้เกิดการสร้างสรรค์ที่ได้ทั้งรูปทรงใหม่ๆ และรสชาติที่แตกต่างจากของเดิม | morphological | (adj) (adj.) เิชิงสัณฐานวิทยา เช่น (Mathematical) morphological Operation การปฎิบัติการเิชิงสัณฐานวิทยา(ทางคณิตศาสตร์), See also: morphology | morphology | (n) สัณฐานวิทยา | morphology | (n) วิทยาหน่วยคำ | neptunism | [เน็พทิวนิซมฺ] (n) (ธรณีวิทยา) ทฤษฎีว่าด้วยการกลายเป็นน้ำ | neuropsychiatrist | (n) นักจิตประสาทวิทยา | Oceanographer | [โอ๊เชียนโนกราฟเฟอ] (n) นักประดาน้ำ, นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับทะเล | Oceanographer | [โอ๊เชี่ยนโนกราฟเฟอ] (n) นักวิทยาศาสตร์ทางทะเล, นักประดาน้ำ, Syn. Frogman | oceanography | [โอ-เชีย-นอ-กราฟ-ฟี] (n) “สมุทรศาสตร์” เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์โลก (Earth science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทรในหัวข้อต่างๆ ที่รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร, ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดล้อม, กระแสคลื่นในมหาสมุทร, พฤติกรรมของคลื่น, แผ่นเปลือกโลกที่ก้นมหาสมุทร, ธรณีวิทยาของก้นมหาสมุทร, และความผันผวนของสารเคมีและลักษณะทางฟิสิคส์ของทั้งมหาสมุทรและบริเวณรอบข้าง (ข้อมูลจาก wikipedia.org) | palaeontology | (n) สาขาทางธรณีวิทยาซึ่งศึกษาซากฟอสซิล | paleontology | (n) บรรพชีวินวิทยา | plant diseases | การทำงานทางสรีระวิทยาที่ผิดปกติไปจากเดิม หรือในระบบพืชผิดปกติ เป็นผลมาจากกรระคายเคืองอย่างต่อเนื่อง และยาวนานที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตที่ก่อให้เกิดโรคแก่พืช | plant diseases | การทำงานทางสรีระวิทยาที่ผิดปกติไปจากเดิม หรือในระบบพืชผิดปกติ เป็นผลมาจากกรระคายเคืองอย่างต่อเนื่อง และยาวนานที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตที่ก่อให้เกิดโรคแก่พืช | plant health | (n) ความสามารถในการทำหน้าที่ทางสรีระวิทยาตามปกติในระดับที่ยอมรับได้ ซึ่งสอดคล้องกับศักยภาพทางพันธุกรรม | polymath | [โพลีแม็ธ] (n) คือผู้ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ในการใช้อย่างเป็นทางการเท่าใดนักจะหมายถึงผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญสูง นักวิทยาศาสตร์สมัยโบราณมักจะเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” โดยมาตรฐานที่ใช้กันในปัจจุบัน ผู้รู้รอบด้านมีความหมายต่างจากคำว่าอัจฉริยบุคคล (ข้อมูลแปลจาก wikipedia.org) |
| 入学 | [にゅうがく, nyuugaku] (n) การเข้ามหาวิทยาลัย (เริ่มเข้าไปเรียน) | 大学院 | [だいがくいん, daigakuin] (n) บัณฑิตวิทยาลัย | 学部 | [がくぶ, gakubu] (n) คณะวิชา (ในมหาวิทยาลัย) | 学長 | [がくちょう, gakuchou] (n) อธิการบดี(ของมหาวิทยาลัย) | 東北大学 | [tohoku daigaku, tohoku daigaku] (n, uniq) มหาวิทยาลัยโตโฮกุ ตั้งอยู่ที่เมืองเซนได ประเทศญี่ปุ่น เป็นมหาวิทยาลัยที่ตั้งขึ้นเป็นแห่งที่สามของประเทศญี่ปุ่น | 気象庁 | [きしょうちょう, kishouchou] (n) สำนักงานอุตุนิยมวิทยา |
| 短期大学 | [たんきだいがく, tankidaigaku] (n) ปวช., วิทยาลัยเทคนิค, อาชีวศึกษา | 理工学部 | [りこうがくぶ, rikougakubu] (phrase) คณะวิศวกรรมศาสตร์-วิทยาศาสตร์ | 早稲田 | [わせだ, waseda] (name, org) วาเซดะ (ชื่อของมหาวิทยาลัย), มหาวิทยาลัยวาเซดะ | 博士論文 | [はくしろんぶん, hakushironbun] (n) วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก | 短大 | [たんだい, tandai] วิทยาลัยระดับอนุปริญญา | 科学的管理 | [かがくてきかんり, kagakutekikanri] (n) การควบคุมอย่างมีหลักการทางวิทยาศาสตร์ | todai | [とうだい, toudai] (n) มหาวิทยาลัยโตเกียว (เป็นชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งของมหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น) | テーゼ | [てーぜ, teze] (n) วิทยานิพนธ์ | ninkungz | [人くん, nin kun] (n, name) (น.) วิญญาณ ดิจิตอล , ชายที่ใช้ชีวิตในโลกวิทยาการ, See also: S. nin koong z | 情報工学 | [じょうほうこうがく, jouhoukougaku] (n) วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ | 浪人 | [ろうにん、rounin, rounin , rounin] ซามูไรพเนจร, คนที่สอบเข้ามหาวิทยาลัยไม่ได้แล้วรอสอบใหม่ในปีต่อไป | 大学 | [だいがく, daigaku, daigaku , daigaku] (n) มหาวิทยาลัย | 論文 | [ろんぶん, ronbun] (n) วิทยานิพนธ์ สารานิพนธ์ งานเขียน | 社会学と人類学の教員 | [ชะไคกาคุโตะจินรุยกะคุโนะเคียวอิน] (n) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา | 眼科学 | [がんかがく, gankagaku] (n) จักษุวิทยา, See also: R. ophthalmology |
| 学内 | [がくない, gakunai] TH: อยู่ภายในบริเวณสถานศึกษา เช่น โรงเรียน, วิทยาสัย หรือ มหาวิทยาลัย EN: within the school | 科学 | [かがく, kagaku] TH: วิทยาศาสตร์ EN: science | 大生 | [だいせい, daisei] TH: นักศึกษามหาวิทยาลัย EN: college student | 進学 | [しんがく, shingaku] TH: เรียนในระดับที่สูงขึ้นต่อไป เช่นจากมัธยมปลายเป็นมหาวิทยาลัย EN: going on to university (vs) | 京大 | [きょうだい, kyoudai] TH: ชื่อย่อของมหาวิทยาลัยเกียวโต EN: Kyoto University (abbr) | 京都大学 | [きょうとだいがく, kyoutodaigaku] TH: มหาวิทยาลัยเกียวโต | 電気通信大学 | [でんきつうしんだいがく, denkitsuushindaigaku] TH: มหาวิทยาลัยเดงกิซือชิน EN: University of Electro-Communication | 北大 | [ほくだい, hokudai] TH: ชื่อย่อเรียกมหาวิทยาลัยฮอกไกโด EN: Hokkaido University | 理学 | [りがく, rigaku] TH: วิทยาศาสตร์กายภาพ EN: physical science | 東京大学 | [とうきょうだいがく, toukyoudaigaku] TH: มหาวิทยาลัยโตเกียว EN: Tokyo University | 大学 | [だいがく, daigaku] TH: มหาวิทยาลัย EN: university | 学園際 | [がくえんさい, gakuensai] TH: งานฉลองประจำปีของโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยมักจัดในช่วงวันวัฒนธรรมปลายเดือนพฤศจิกายน EN: school festival | 理学部 | [りがくぶ, rigakubu] TH: คณะวิทยาศาสตร์ |
| Universität | (n) |die, pl. Universitäten| มหาวิทยาลัย | her | (adv) นี่ (ทิศทางจากนอกเข้ามา) เช่น von irgendwo her จากที่ใดที่หนึ่ง, Wir kennen uns von der Uni her. เรารู้จักกันจากตอนมหาวิทยาลัย | Schall | (n) |der, nur Sing.| เสียง (เรียกในเชิงวิทยาศาสตร์) เช่น die Schallwelle คลื่นเสียง, See also: die Stimme, das Geräusch | Fachhochschule | (n) |die, pl. Fachhochschulen| มหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนด้านปฏิบัติ เมื่อจบการศึกษาจะได้รับวุฒิที่เทียบเท่าปริญญาตรีที่เมืองไทย ในขณะที่ในมหาวิทยาลัยทั่วไป (Universität)จะได้วุฒิที่เทียบเท่ากับปริญญาโท | promovieren | (vi) |promovierte, hat promoviert| ศึกษาหรือเรียนระดับปริญญาเอก เช่น Meine Schwester promovierte im Jahr 1991 an der Mahidol Universität. น้องสาวของผมเรียนจบระดับปริญญาเอกจากที่มหาวิทยาลัยมหิดลในปี 1991, Syn. eine Doktorarbeit machen | wissenschaftlich | (adj) ทางวิชาการ หรือ ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์หรือวิชาการ | in die Schule gehen | (phrase) ไปเรียน หรือ ไปโรงเรียน สามารถแปลว่า ไปมหาวิทยาลัยได้ด้วย เช่น 1° a: Wann geht Ihr Sohn in die Schule? = ลูกชายคุณจะเข้าโรงเรียนเมื่อไหร่ครับ b: wahrscheinlich, nächstes Jahr! = อ๋อ ก็คงจะปีหน้านะ, Syn. zur Schule gehen | Ablehnungsbescheid | (n) |der| คำปฏิเสธ เช่น คำปฏิเสธเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย เป็นต้น, See also: A. der Zulassungsbescheid | Prüfungsamt | (n) |das| ฝ่ายวิชาการในมหาวิทยาลัย ซึ่งรับผิดชอบเรื่องที่เกี่ยวกับการสอบโดยตรง | Einheit | (n) |die, pl. Einheiten| หน่วยทางฟิสิกส์หรือวิทยาศาสตร์ เช่น Die Krafteinheit ist in Newton ( N ) angegeben. = หน่วยของแรง(ทางฟิสิกส์)ถูกกำหนดให้เป็นหน่วยนิวตัน | Südpol | (n) |der, nur Sg.| ขั้วโลกใต้ (ธรณีวิทยา), See also: A. der Nordpol | Mensa | (n) |die, pl. Mensen| โรงอาหารของมหาวิทยาลัย | Cafeteria | (n) |die, pl. Cafeterian/Cafeterias| ร้านขายกาแฟและอาหารว่างตามมหาวิทยาลัยและสถานศึกษา | Kittel | (n) |der, pl. Kittel| เสื้อคลุมยาว, เสื้อกาวน์(สำหรับแพทย์หรือนักวิทยาศาสตร์), See also: Related: Mantel | unterstützen | (vt) |unterstützte, hat unterstützt| สนับสนุน, ช่วยเหลือโดยให้สิ่งของ เช่น Meine Eltern haben mich finanziell während meines Studium unterstützt. พ่อแม่ของผมช่วยผมด้านการเงินช่วงที่ผมเรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัย, See also: Related: helfen | Schließfach | (n) |das, pl. Schließfächer| ตู้ใส่ของตามสถานีรถไฟหรือตามมหาวิทยาลัย, ล็อกเกอร์, Syn. Spind | Spind | (n) |der, pl. Spinde| ตู้ใส่ของตามมหาวิทยาลัย, ล็อกเกอร์, Syn. Schließfach | erforschen | (vt) |erforschte, hat erforscht| (+ A) วิจัยหรือศึกษาทางด้านวิชาการอย่างละเอียด เช่น Die Wissenschaftler erforschen die Verbreitung der Bakterien. นักวิทยาศาสตร์วิจัยการขยายตัวของแบคทีเรียนี้, See also: Related: forschen | forschen | (vi) |forschte, hat geforscht| (nach etw./jmdm.) พยายามเพื่อหาที่มาหรือสาเหตุของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น Wissenschaftler forschen seit langem nach der Ursache des Aussterbens von Dinosaurier. นักวิทยาศาสตร์พยายามศึกษาหาสาเหตุของการสูญพันธ์ของไดโนเสาร์มานานแล้ว, See also: Related: erforschen | durchführen | (vt) |führt durch, führte durch, hat durchgeführt, etw.(A)| ดำเนินการทำให้สมบูรณ์, ทำให้สำเร็จ เช่น Das Promotionsverfahren soll bei der Fakultät Chemie durchgeführt werden. ขบวนการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกถูกดำเนินการที่คณะเคมี | Physiologie | (n) |die, nur Sg.| ศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต, สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา | physiologisch | (adj, adv) เกี่ยวกับสรีรศาสตร์, เกี่ยวกับสรีรวิทยา | Morphologie | (n) |die, nur Sg.| สัณฐานวิทยา, Syn. Formenlehre | Formenlehre | (n) |die, nur Sg.| สัณฐานวิทยา, See also: morphologisch, Syn. Morphologie | morphologisch | (adj) เิชิงสัณฐานวิทยา เช่น (Mathematische) morphologische Operation การปฎิบัติการเิชิงสัณฐานวิทยา(ทางคณิตศาสตร์), See also: morphologie |
| der Meteorogin | (n) นักอุตุนิยมวิทยาหญิง, See also: Meteoroge, Syn. Meteorologist |
| enseignement supérieur | (n) le, = การเรียนการสอนในระดับอุดมศุกษา, มหาวิทยาลัย | en | (prep) ที่ (ใช้ตอบคำถาม ไปที่ไหน หรือ อยู่ที่ไหน) เช่น Le Chili, c'est en Amérique. ประเทศชิลีอยู่ในทวีปอเมริกา, Elle va à la fac chaque jour. เธอไปที่มหาวิทยาลัยทุกวัน | thèse | (n) |f, pl. thèses| วิทยานิพนธ์ | soutenance d'une thèse | (n) |f| การแสดงผลงานวิทยานิพนธ์ที่ได้ศึกษา ก่อนจะสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก | soutenir une thèse | (vt) แสดงผลงานวิทยานิพนธ์ที่ได้ศึกษา ก่อนจะสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |