ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: วาจก, -วาจก- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ กรรมวาจก | (n) passive voice, Thai Definition: กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรมการกหรือผู้ถูกกระทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรมการก คือผู้ถูกใช้ให้ทำ, กริยาของประโยคกรรมวาจกต้องใช้สกรรมกริยา คือ กริยาที่เรียกหากรรม โดยใช้กริยานุเคราะห์ ถูก ถูก-ให้ หรือถูกให้ประกอบ เช่น รถถูกขโมย | กรรตุวาจก | (n) active voice, Ant. กรรมวาจก, Thai Definition: กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานเป็นผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ | การิตวาจก | (n) causative verb, Thai Definition: กริยาที่บอกว่าประธานเป็นการิตการกหรือผู้รับใช้, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นการิตการก คือ เป็นผู้ถูกใช้ กริยาของการิตวาจกใช้กริยานุเคราะห์ ถูก ถูกให้ หรือ ถูก-ให้, Notes: (ไวยากรณ์) |
|
| กรรตุวาจก | (กัดตุ-, กันตุ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรตุการกคือผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรตุการกคือเป็นผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ เช่น ครูเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ทำ)ครูให้นักเรียนเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ใช้ให้ทำ). | กรรมวาจก | (กำมะ-) น. ระเบียบของกริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรมการกหรือผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรมการก คือ ผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคกรรมต้องใช้สกรรมกริยา คือ กริยาที่ต้องมีกรรมรับ, บางทีก็มีกริยานุเคราะห์ “ถูก” นำ และใช้หมายไปในทางไม่ดี เช่น เด็กถูกตี ถูกตี เป็นกริยา กรรมวาจก เด็กเป็นกรรมการก แต่บางทีก็ไม่ปรากฏกริยานุเคราะห์ “ถูก” เช่น หนังสือเล่มนี้แต่งดีมาก. | การิตวาจก | (การิดตะ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นการิตการกหรือผู้รับใช้, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นการิตการก คือ เป็นผู้ถูกใช้ กริยาของการิตวาจกใช้กริยานุเคราะห์ “ถูก” “ถูก-ให้” หรือ “ถูกให้” เช่น ลูกจ้างถูกนายจ้างให้ทำงาน. | วาจก | น. ผู้กล่าว, ผู้บอก, ผู้พูด. | วาจก | ก. กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นผู้ทำ ผู้ใช้ ผู้ถูกทำ หรือผู้ถูกใช้ แบ่งเป็น ๓ ชนิด คือ กรรตุวาจก กรรมวาจก และการิตวาจก. | ปรัสสบท | (ปะรัดสะ-) น. “บทเพื่อผู้อื่น”, ในตำราไวยากรณ์บาลีและสันสกฤตใช้เป็นเครื่องหมายให้ทราบว่าเป็นกริยากรรตุวาจก เช่น สูโท โอทนํ ปจติ = พ่อครัวหุงอยู่ซึ่งข้าวสุก, ปจติ เป็นกริยาปรัสสบท, ตรงข้ามกับ อัตตโนบท. | ภาษามีวิภัตติปัจจัย | น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการใช้วิภัตติปัจจัยประกอบเข้ากับรากศัพท์ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระทำให้เกิดเป็นคำที่แสดงเพศ พจน์ กาล มาลา วาจกอย่างชัดเจน เพื่อเข้าสัมพันธ์ทางไวยากรณ์กลมกลืนกับคำอื่นในประโยค เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษากรีกโบราณ ภาษาละติน ภาษาฝรั่งเศส. | อัตตโนบท | น. “บทเพื่อตน”, ในตำราไวยากรณ์บาลีและสันสกฤตใช้เป็นเครื่องหมายให้ทราบว่าเป็นกริยากรรมวาจกหรือภาววาจก เช่น สูเทน โอทโน ปจิยเต = ข้าวสุกอันพ่อครัวหุงอยู่, ปจิยเต เป็นกริยาอัตตโนบท, ตรงข้ามกับ ปรัสสบท. | อาขยาต | (-ขะหฺยาด) น. ชื่อคำกริยาประเภทหนึ่งในไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต ประกอบด้วย ธาตุ วิภัตติ กาล บท พจน์ บุรุษ วาจก ปัจจัย เพื่อเป็นเครื่องหมายบอกเนื้อความให้ชัดเจน เช่น กโรติ = ย่อมกระทำ ประกอบด้วย กรฺธาตุ ติวิภัตติ ปัจจุบันกาล ปรัสสบท เอกพจน์ ปฐมบุรุษ กัตตุวาจก โอปัจจัย. |
| | กรรมวาจก | [kammawājok] (n) EN: passive voice FR: voix passive [ f ] | กรรตุวาจก | [kantuwājok] (n) EN: active voice FR: voix active [ f ] | กรรตุวาจก | [kattuwājok] (n) EN: active voice |
| | passive | (แพส'ซิฟว) adj. อยู่เฉย ๆ , ไม่ดิ้นรน, ไม่มีปฏิกิริยา, ไม่โต้ตอบ, ไม่ร่วมด้วย, เกี่ยวกับกรรมวาจก n. กรรมวาจก รูปแบบที่ไม่มีปฏิกิริยา, See also: passivity n. | voice | (วอยซฺ) n. เสียงร้อง, เสียงร้องของคน, เสียงพูด, เสียงเปล่ง, ความสามารถในการพูดหรือร้อง, สิทธิในการแสดงความคิดเห็น, ความต้องการ, ความปรารถนา, ความคิดเห็น, สิทธิในการออกเสียง, ปากเสียง, โฆษก, วาจกในไวยากรณ์, นักร้อง, ส่วนที่ขับร้องของบทดนตรี, ความสามารถในการขับร้อง |
| voice | (n) เสียง, วาจก, ความคิดเห็น |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |