ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: วยากรณ์, -วยากรณ์- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ไวยากรณ์ | (n) grammar | ไวยากรณ์ | (n) grammar, See also: structure, Example: ไวยากรณ์มีคำอยู่แปดประเภทคือ คำนาม คำสรรพนาม คำคุณศัพท์ คำกริยา คำกริยาวิเศษณ์ คำบุพบท คำสันธานและคำอุทาน, Thai Definition: วิชาภาษาว่าด้วยรูปคำและระเบียบในการประกอบรูปคำให้เป็นประโยค | ไวยากรณ์พึ่งพา | (n) generative grammar | โครงสร้างไวยากรณ์ | (n) grammatical structure, Syn. รูปแบบไวยากรณ์, Example: โครงสร้างไวยาการณ์ของแต่ละภาษาย่อมไม่เหมือนกัน, Count Unit: โครงสร้าง |
|
| วยากรณ์ | น. พยากรณ์. | ไวยากรณ์ | น. วิชาภาษาว่าด้วยรูปคำและระเบียบในการประกอบรูปคำให้เป็นประโยค. | ฉันทลักษณ์ | (ฉันทะลัก) น. ลักษณะแบบแผนคำประพันธ์ประเภทร้อยกรอง, ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยลักษณะของคำประพันธ์. | นาม, นาม- | คำชนิดหนึ่งในไวยากรณ์ สำหรับเรียกคน สัตว์ และสิ่งของต่าง ๆ | บุพบท | น. คำชนิดหนึ่งในไวยากรณ์ ทำหน้าที่เชื่อมคำต่อคำ อยู่หน้านาม สรรพนาม หรือกริยา มีคำว่า ด้วย โดย ใน เป็นต้น เช่น เขียนด้วยดินสอ หนังสือของฉัน กินเพื่ออยู่. | บุรพบท | น. บุพบท, คำชนิดหนึ่งในไวยากรณ์ ทำหน้าที่เชื่อมคำต่อคำ อยู่หน้านาม สรรพนาม หรือกริยา มีคำว่า ด้วย โดย ใน เป็นต้น เช่น เขียนด้วยดินสอ หนังสือของฉัน กินเพื่ออยู่. | ปฐมบุรุษ | (ปะถมมะ-, ปะถม-) น. บุรุษที่ ๑, ตามไวยากรณ์ ได้แก่ สรรพนามพวกที่ใช้แทนชื่อผู้พูด เช่น ข้า เรา แต่ตามไวยากรณ์บาลีหมายถึงพวกที่เราพูดถึง เช่น เขา. | ประโยคประธาน | น. หลักไวยากรณ์, หลัก. | ปรัสสบท | (ปะรัดสะ-) น. “บทเพื่อผู้อื่น”, ในตำราไวยากรณ์บาลีและสันสกฤตใช้เป็นเครื่องหมายให้ทราบว่าเป็นกริยากรรตุวาจก เช่น สูโท โอทนํ ปจติ = พ่อครัวหุงอยู่ซึ่งข้าวสุก, ปจติ เป็นกริยาปรัสสบท, ตรงข้ามกับ อัตตโนบท. | ปริกัลปมาลา | น. ระเบียบกริยาในไวยากรณ์ที่บอกความคาดหมาย ความกำหนด. | ผัน ๒ | เปลี่ยนบางส่วนไปตามลักษณะทางไวยากรณ์ เช่น ผันวิภัตติในภาษาบาลีสันสกฤต ผันกริยาในภาษาอังกฤษ. | พยติเรก | ในไวยากรณ์ใช้เป็นชื่อประโยคใหญ่ที่แสดงเนื้อความแย้งกัน | พฤทธิ์ | ในไวยากรณ์หมายถึงเสียงยาวที่สุดของสระต่าง ๆ คือ ในบาลีและสันสกฤตได้แก่ อา เป็นพฤทธิ์ของ อะ เป็นต้น. | ภาษาคำโดด | น. ภาษาแบบที่ใช้คำที่มีลักษณะโดด ๆ คือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปไปตามหน้าที่หรือตามความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์เกี่ยวเนื่องกับคำอื่น คำในภาษาคำโดดมักจะมีพยางค์เดียวเป็นส่วนมาก แต่ก็มีคำสองพยางค์และหลายพยางค์ด้วย เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม. | ภาษามีวิภัตติปัจจัย | น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการใช้วิภัตติปัจจัยประกอบเข้ากับรากศัพท์ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระทำให้เกิดเป็นคำที่แสดงเพศ พจน์ กาล มาลา วาจกอย่างชัดเจน เพื่อเข้าสัมพันธ์ทางไวยากรณ์กลมกลืนกับคำอื่นในประโยค เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษากรีกโบราณ ภาษาละติน ภาษาฝรั่งเศส. | มดี | (มะ-) คำเติมท้ายคำอื่นที่เป็นนามในคำที่มาจากบาลีและสันสกฤตเฉพาะที่มีสระ อิ อุ อยู่ท้าย หมายความว่า มี เช่น สิริมดี พันธุมดี, ตามหลักไวยากรณ์ เป็นเพศหญิง. | มุขยประโยค | น. ชื่อประโยคในตำราไวยากรณ์ได้แก่ ประโยคที่มีประโยคอื่นเป็นส่วนขยาย. | ลิงค์ | ประเภทคำในไวยากรณ์ที่บอกให้รู้ว่าคำนั้นเป็นเพศอะไร เช่น ปุงลิงค์ คือ เพศชาย อิตถีลิงค์ คือ เพศหญิง | ลึงค์ | ประเภทคำในไวยากรณ์ที่บอกให้รู้ว่าคำนั้นเป็นเพศอะไร เช่น ปุลลึงค์ คือ เพศชาย สตรีลึงค์ คือ เพศหญิง | วจีวิภาค | น. ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยคำและหน้าที่ของคำ. | วดี ๒ | คำเติมท้ายคำอื่นที่เป็นนาม หมายความว่า มี เป็นเพศหญิงตามหลักไวยากรณ์ เช่น ดาราวดี ว่า มีดาว. | วากยสัมพันธ์ | น. ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่แยกความออกเป็นประโยค ๆ และบอกความเกี่ยวข้องของคำในประโยค. | เวทางค์, เวทางคศาสตร์ | น. วิชาประกอบการศึกษาพระเวทมี ๖ อย่าง คือ ๑. ศึกษาวิธีออกเสียงคำในพระเวทให้ถูกต้อง ๒. ไวยากรณ์ ๓. ฉันท์ ๔. โชยติส คือ ดาราศาสตร์ ๕. นิรุกติ คือ กำเนิดของคำ และ ๖. กัลปะ คือ วิธีจัดทำพิธี. | แว่น ๑ | โดยปริยายหมายถึงหนังสือคู่มือ เช่น แว่นไวยากรณ์ แว่นอังกฤษ. | ศิลปศาสตร์ | ตำราว่าด้วยวิชาความรู้ต่าง ๆ ในสมัยก่อนพุทธกาล มี ๑๘ ประการ ได้แก่ ๑. สูติ วิชาฟังเสียงคนเสียงสัตว์รู้ว่าดีหรือร้าย ๒. สัมมติ วิชาเข้าใจในกฎธรรมเนียม ๓. สังขยา วิชาคำนวณ ๔. โยคยันตร์ วิชาการช่าง ๕. นีติ วิชาแบบแผนราชการ ๖. วิเสสิกา วิชาการค้า ๗. คันธัพพา วิชานาฏศิลป์ ๘. คณิกา วิชากายบริหาร ๙. ธนุพเพธา วิชายิงธนู ๑๐. ปุราณา วิชาโบราณคดี ๑๑. ติกิจฉา วิชาการแพทย์ ๑๒. อิติหาสา วิชาตำนานหรือประวัติศาสตร์ ๑๓. โชติ วิชาดาราศาสตร์ ๑๔. มายา วิชาตำราพิชัยสงคราม ๑๕. ฉันทสา วิชาการประพันธ์ ๑๖. เกตุ วิชาพูด ๑๗. มันตา วิชาร่ายมนตร์ ๑๘. สัททา วิชาไวยากรณ์. | สมโพธน์ | น. คำร้องเรียก, คำอาลปนะในไวยากรณ์. | สมาส | (สะหฺมาด) น. การเอาศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไปมาต่อกันเป็นศัพท์เดียวตามหลักที่ได้มาจากไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น สุนทร + พจน์ เป็น สุนทรพจน์ รัฐ + ศาสตร์ เป็น รัฐศาสตร์ อุดม + การณ์ เป็น อุดมการณ์. | อักขรวิธี | น. วิธีเขียนและอ่านหนังสือให้ถูกต้อง, ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยตัวอักษร การอ่าน การเขียน และการใช้ตัวอักษร. | อัตตโนบท | น. “บทเพื่อตน”, ในตำราไวยากรณ์บาลีและสันสกฤตใช้เป็นเครื่องหมายให้ทราบว่าเป็นกริยากรรมวาจกหรือภาววาจก เช่น สูเทน โอทโน ปจิยเต = ข้าวสุกอันพ่อครัวหุงอยู่, ปจิยเต เป็นกริยาอัตตโนบท, ตรงข้ามกับ ปรัสสบท. | อันโยนย-, อันโยนยะ | ในไวยากรณ์ใช้เรียกสรรพนามพวกหนึ่ง ซึ่งแทนชื่อคน สัตว์ หรือสิ่งของที่รวมกัน ได้แก่คำว่า “กัน” เช่น คนตีกัน เรียกว่า อันโยนยสรรพนาม. | อัพภาส | (อับพาด) น. คำซํ้า, ในไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต หมายเอา การซ้อนหรือซํ้าอักษรลงหน้าศัพท์ เช่น ชวาล (เรือง) เป็น ชัชวาล (รุ่งเรือง), ในภาษาไทยก็ใช้ เช่น ครื้น ครึก ยิ้ม แย้ม ใช้ อัพภาส เป็น คะครื้น คะครึก ยะยิ้ม ยะแย้ม. | อาขยาต | (-ขะหฺยาด) น. ชื่อคำกริยาประเภทหนึ่งในไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต ประกอบด้วย ธาตุ วิภัตติ กาล บท พจน์ บุรุษ วาจก ปัจจัย เพื่อเป็นเครื่องหมายบอกเนื้อความให้ชัดเจน เช่น กโรติ = ย่อมกระทำ ประกอบด้วย กรฺธาตุ ติวิภัตติ ปัจจุบันกาล ปรัสสบท เอกพจน์ ปฐมบุรุษ กัตตุวาจก โอปัจจัย. | อาเทศ ๒ | (-เทด) น. การแปลงหรือแผลงพยัญชนะและสระตามข้อบังคับแห่งไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น สมบัติ + อภิบาล อาเทศสระอิ ที่ ติ เป็น ย แล้วสนธิกับ อภิบาล เป็น สมบัตยาภิบาล, ธนุ + อาคม อาเทศสระอุ ที่ นุ เป็น ว แล้วสนธิกับ อาคม เป็น ธันวาคม, อธิ + อาสัย อาเทศอธิ เป็น อัชฌ แล้วสนธิกับ อาสัย เป็น อัชฌาสัย. | อาลปน์, อาลปนะ | ในไวยากรณ์ หมายถึง คำที่ใช้เรียกหรือทักทายผู้ที่ตนจะพูดด้วย เช่น “นายแดง แกจะไปไหน” คำ “นายแดง” เป็นอาลปนะ. | อุทาน ๑ | ในไวยากรณ์เรียกคำหรือเสียงที่เปล่งออกมาเช่นนั้น ว่า คำอุทาน. | อุปโยคบุรพบท | (อุปะโยคะบุบพะบด, -บุระพะบด) น. ในไวยากรณ์หมายถึงคำนำหน้ากรรมการก. | อุสุม | ในไวยากรณ์เรียกเสียงพยัญชนะที่มีลมเสียดแทรกออกมาระหว่างลิ้นกับฟัน ว่า มีเสียงอุสุม ได้แก่เสียง ศ ษ ส. |
| | syntax error | ผิดไวยากรณ์, ความผิดพลาดในโปรแกรมอันเกิดจากการสะกดคำสั่งผิดบ้าง หรือใช้รูปแบบคำสั่งผิดบ้าง โปรแกรมทีเขียนด้วยภาษาระดับสูงนั้นจะต้องนำไปแปลเป็นภาษาเครื่องก่อนจึงจะนำไปใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ ในการแปลนั้นตัวแปลภาษาจะตรวจสอบการใช้ไวยากรณ์ในโปรแกรมนั้นไปด้วย ถ้าหากมีที่ผิดตัวแปลภาษาก็จะรายงานความผิดพลาดให้ทราบ เพื่อที่เราจะได้นำไปพิจารณาแก้ไข [คอมพิวเตอร์] | Case grammar | ไวยากรณ์การก [TU Subject Heading] | Cognitive grammar | ไวยากรณ์จากการรู้คิด [TU Subject Heading] | Grammar | ไวยากรณ์ [TU Subject Heading] | Grammar, Comparative and general | ไวยากรณ์เปรียบเทียบ [TU Subject Heading] | Parts of speech | ชนิดของคำทางไวยากรณ์ [TU Subject Heading] |
| | โครงสร้างไวยากรณ์ | [khrōngsāng waiyākøn] (n, exp) EN: grammatical structure FR: structure grammaticale [ f ] | กฎไวยากรณ์ | [kot waiyākøn] (n, exp) EN: grammatical rule FR: règle grammaticale [ f ] | นักไวยากรณ์ | [nakwaiyākøn] (n) EN: grammarian ; linguist FR: grammairien [ m ] | ผิดไวยากรณ์ | [phit waiyākøn] (n, exp) EN: syntax error | ไวยากรณ์ | [waiyākøn] (n) EN: grammar FR: grammaire [ f ] | ไวยากรณ์อังกฤษ | [waiyākøn Angkrit] (n) EN: English grammar FR: grammaire anglaise [ f ] | ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ | [waiyākøn phāsā Angkrit] (n) EN: English grammar FR: grammaire anglaise [ f ] | ไวยากรณ์ภาษาไทย | [waiyākøn phāsā Thai] (n, exp) EN: Thai grammar FR: grammaire thaïe [ f ] | ไวยากรณ์ไทย | [waiyākøn Thai] (n, exp) EN: Thai grammar FR: grammaire thaïe [ f ] | ไวยากรณ์พึ่งพา | [waiyākøn pheungphā] (n, exp) EN: generative grammar |
| accidence | (n) ไวยากรณ์ที่เกี่ยวกับหน่วยคำเติม (ภาษา) | agreement | (n) ความสอดคล้องทางไวยากรณ์, See also: ความสอดคล้องระหว่างประธานและกริยา | content word | (n) คำแสดงเนื้อหา (ทางไวยากรณ์ เช่น คำนาม คำกริยา คำคุณศัพท์ เป็นต้น), Syn. open-class word | coordinate | (adj) ซึ่งมีหน้าที่ทางไวยากรณ์เหมือนกัน | dash | (n) เครื่องหมายขีดคั่นระหว่างพยางค์ คำ วลี หรือประโยค (ทางไวยากรณ์), See also: เครื่องหมายขีด, เครื่องหมาย - หน้าหรือหลังพยางค์, เครื่องหมายวรรคตอน, Syn. stroke, line | dative | (n) กรรมรอง (ทางไวยากรณ์) | durative | (adj) ซึ่งต่อเนื่องกัน (ทางไวยากรณ์), See also: ซึ่งยังไม่สมบูรณ์ | grammar | (n) ไวยากรณ์, See also: หลักไวยากรณ์, หนังสือไวยากรณ์, Syn. structure, linguistic science | grammarian | (n) นักไวยากรณ์, See also: ผู้กำหนดหลักไวยากรณ์, Syn. linguist, grammatist | grammatical | (adj) ตามหลักไวยากรณ์, See also: เกี่ยวกับไวยากรณ์, ถูกต้องตามไวยากรณ์, Syn. liguistic, analytic | grammatical construction | (n) โครงสร้างไวยากรณ์, Syn. structure | grammatist | (n) นักไวยากรณ์, Syn. grammarian | indirect object | (n) กรรมรอง (ทางไวยากรณ์) | inflect | (vi) ผันไปตามบุรุษและพจน์ (ทางไวยากรณ์) | inflection | (n) การผันคำ (ทางไวยากรณ์), See also: วิภัตติ | inflection of verbs | (n) การผันคำกริยา (ทางไวยากรณ์), See also: วิภัตติ | interrogative | (n) สรรพนามที่ใช้เป็นคำถาม (ไวยากรณ์) | modal | (adj) เกี่ยวกับการแสดงมาลา (mood) (ทางไวยากรณ์), See also: เกี่ยวกับการใช้กริยากับกริยาช่วย | modify | (vt) ประกอบคำกริยา (ทางไวยากรณ์), See also: ขยายความ | mood | (n) มาลา (ทางไวยากรณ์), See also: กลุ่มคำกริยาแสดงทัศนคติ, Syn. aspect, inflection, mode | objective case | (n) กรรมการก (ทางไวยากรณ์) | parse | (vi) วิเคราะห์คำในประโยค (ทางไวยากรณ์), See also: ตัดคำในประโยค, วิเคราะห์โครงสร้างประโยค, Syn. analyze | parse | (vt) วิเคราะห์คำในประโยค (ทางไวยากรณ์), See also: ตัดคำในประโยค, วิเคราะห์โครงสร้างประโยค, Syn. analyze | perfect | (n) กาลสมบูรณ์ (ทางไวยากรณ์) | person | (n) บุรุษ (ในทางไวยากรณ์) | personal | (adj) เกี่ยวกับบุรุษ (ในทางไวยากรณ์) | phrase | (n) วลี (ทางไวยากรณ์), See also: กลุ่มคำ | present tense | (n) กาลปัจจุบัน (ทางไวยากรณ์) | progressive | (adj) ที่ดำเนินต่อเนื่องไป (ทางไวยากรณ์), Syn. continuous | reflexive | (adj) ซึ่งเป็นสรรพนามที่ย้อนกลับไปหาประธาน (ทางไวยากรณ์) | subordinate | (adj) เป็นส่วนขยาย (ไวยากรณ์), See also: เป็นส่วนเสริม, Syn. subsidiary | substantive | (adj) แสดงการมีอยู่ (ไวยากรณ์) | substitute | (n) คำที่ใช้แทนได้ (ไวยากรณ์), See also: คำแทนที่ | suppositive | (n) คำแสดงการสมมุติ (ไวยากรณ์) | syntax | (n) วากยสัมพันธ์, See also: ความสัมพันธ์ระหว่างถ้อยคำในประโยค, โครงสร้างความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์, Syn. grammar, linguistics | voice | (n) วาจกในไวยากรณ์ |
| alpha privative | คำเสริมหน้า a- ที่ใช้ไวยากรณ์กรีกเพื่อแสดงการปฏิเสธหรือลบล้าง | aorist | (เอ'อะริสท) n. กาลกริยาในไวยากรณ์, -adj. เกี่ยวกับ aorist (a verb tense) | asyntactic | (อะซินแทค'ทิค) n. ซึ่งไม่ถูกหลักไวยากรณ์, เกี่ยวกับสำนวนที่ไม่ถูกหลักไวยากรณ | cat | 1. (แคท) n. แมว, สัตว์ในตระกูลแมว, หญิงที่มีใจอำมหิต, บุคคล 2. (ซีเอที) ย่อมาจาก computer-aided translation แปลว่า การแปลภาษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วย หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ รวมทั้งบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ (บางตำราว่า CAT ย่อมาจาก computer aided training แปลว่า การอบรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) | comparison | (คัมแพ'ริเซิน) n. การเปรียบเทียบ ภาวะที่ถูกเปรียบเทียบ, การเทียบเคียง. -Phr. (degree of comparison การเปรียบเทียบคุณลักษณะในไวยากรณ์), Syn. equation, matching, similarity, correlation | computer-aided translatio | การแปลใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAT (อ่านว่า ซีเอที) หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอม พิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ และบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ | error code | รหัสระบุความผิดพลาดหมายถึง รหัสที่มีกำหนดไว้ เพื่อบ่งบอกข้อผิดพลาดต่าง ๆ ว่าเป็นข้อผิดพลาดจากสาเหตุใด เช่น ศัพท์ที่ใช้ในชุดคำสั่งภาษานั้น ๆ ตัวแปลภาษาไม่รู้จัก (bad command) หรือไวยากรณ์ผิด (syntax error) เป็นต้น | feminine | (เฟม'มะนิน) adj. เกี่ยวกับผู้หญิง, เกี่ยวกับเพศหญิง, คล้ายผู้หญิง, อ่อนแอ, อ่อนโยน. -n. คำที่เป็นเพศหญิงในทางไวยากรณ์., See also: femininely adv. feminineness n. | grammar | (แกรม'มะ) n. ไวยากรณ์ | grammarian | (กระแม'เรียน) n. ผู้เชี่ยวชาญไวยากรณ์ | grammatical | (กระแมท'ทิเคิล) adj. เกี่ยวกับไวยากรณ์ | imperative | (อิมเพอ' ระทิฟช) adj. ซึ่งเลี่ยงไม่ได้, จำเป็น, เชิงบังคับ -n. คำสั่ง, ความจำเป็น, ข้อบังคับ, กฎเกณฑ์, น้ำเสียงขอร้องหรือเป็นเชิงบังคับ, มาลาเชิงบังคับของไวยากรณ์ | imperfect | (อิมเพอ' เฟคทฺ) adj. บกพร่อง, มีปมด้อย, ไม่สมบูรณ์, ไม่บริบูรณ์, หดแคบ, (ไว-ยากรณ์) , เกี่ยวกับรูปอดีตกาลที่ยังไม่สำเร็จ. -n. กาล (ไวยากรณ์) ที่ยังไม่สมบูรณ์, กริยา (ไวยากรณ์) ที่ยังไม่สมบูรณ์., See also: imperfectly adv. imperfectness n. คำ | inceptive | (อิมเซพ' ทิฟว) adj. เริ่มต้น, เริ่มแรกเกี่ยวกับกริยา (ไวยากรณ์) ที่เริ่มต้น. -n. คำกริยาที่แสดงการเริ่มต้น, Syn. inchoative | indicative | (อินดะเค' ทิฟว) adj. เป็นการชี้บอก, ซึ่งชี้แนะ, เป็นดรรชนี. -n. มาลาเล่าในไวยาการณ์, คำกริยาในมาลาบอกเล่าของไวยากรณ์., See also: indicatively adv., Syn. guiding | liberal arts | ศิลปศาสตร์ (ประกอบด้วยวิชาsocial sciences, natural sciences, humanitiesและarts) , 7 อย่างที่เกี่ยวกับศิลปะสมัยก่อนคือดาราศาสตร์, ตรรกวิทยา, ไวยากรณ์, การพูด, เลขคณิต, เรขาคณิต, ดนตรี | masculine | (แมส'คิวลิน) adj. ชาย, เพศชาย, มีลักษณะของชาย, มีความเป็นชาย, เข้มแข็ง. n. เพศชาย. (ไวยากรณ์) เพศชาย, คำนามที่เป็นเพศชาย., See also: masculinely adv. masculinity n., Syn. virile, strong | mat | (แมท) n. พรมเช็ดเท้า, เสื่อ, ที่รองจานอาหาร (หรือตะเกียง แจกันหรืออื่น ๆ) , พรมปูพื้น. vt. ปูพรม, ปูเสื่อ, ทำเป็นเสื่อหรือพรม. vi. พัวพัน, ยุ่งเกี่ยว- adj. ด้าน, ไม่เป็นเงา, n. ผิวหน้าที่ด้าน เอ็มเอที <คำอ่าน>ย่อมาจาก machine aided translation (การแปลใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ รวมทั้งบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ | natural language processi | การประมวลผลภาษาธรรมชาติหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำการประมวลผลได้โดยใช้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาธรรมชาติ พูดง่าย ๆ ก็คือ สามารถใช้ภาษาธรรมดา ๆ สั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามได้ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์จะใช้ภาษาเฉพาะที่มีกฎเกณฑ์ ไวยากรณ์ และศัพท์ของตนเอง ที่เรียกว่า ภาษาเชิงมนุษย์ (human oriented language) เช่น ภาษา C ภาษา BASIC ภาษา COBOL ฯ ส่วนภาษาธรรมชาตินั้น หมายถึง ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย แม้ว่าในปัจจุบัน จะมีการ พัฒนาด้านนี้กันไปไกลมาแล้ว แต่ก็สรุปได้ว่า ยังใช้การไม่ได้ดีเท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะภาษานั้นมีความสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก ยากที่จะแปลหรือตีความให้ตาย ตัวได้ | neuter | (นู'เทอะ) adj. (ไวยากรณ์) ไร้เพศ, ไร้อวัยวะสืบพันธุ์หรือมีอวัยวะสืบพันธุ์ที่ไม่สมบูรณ์, เป็นกลาง. n. นามที่ไร้เพศ, สัตว์ที่ถูกตอน, แมลงที่มีอวัยวะเพศไม่สมบูรณ์, ผู้ทำตัวเป็นกลาง, พืชที่ไม่มีทั้งเกสรตัวผู้และตัวเมีย. vt. ตอน | parse | (พาร์ส) vt. วิเคราะห์คำในไวยากรณ์, See also: parser n. | person | (เพอ'เซิน) n. บุคคล, คน, ร่าง, ร่างกาย, องค์, ตัว, ผู้, นิติบุคคล, บุคลิกลักษณะ, บุรุษ, (ในไวยากรณ์), Syn. individual, human being | personal | (เพอ'ซะเนิล) adj. ส่วนตัว, ส่วนบุคคล, เกี่ยวกับบุรุษ (ในไวยากรณ์) , เกี่ยวกับทรัพย์สินส่วนตัว. n. ข่าวบุคคล (ในหน้าหนังสือพิมพ์) , บุคคลในข่าว, Syn. individual, private, bodily, carnal | programming | การเขียนโปรแกรมการสร้างโปรแกรมหมายถึง การเขียนหรือสร้างคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ตามที่ต้องการ ด้วยภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ (สามารถแปลได้) ในการเขียนโปรแกรมนี้ ผู้เขียนจะต้องเข้าใจถึงขั้นตอนการแก้ปัญหา วิธีการแก้ รวมทั้ง ศัพท์และไวยากรณ์ ตลอดจนกฎเกณฑ์ของภาษาที่เลือกใช้ ดู programming language ประกอบ | pseudo code | รหัสเทียมรหัสลำลองหมายถึง การเขียนโปรแกรมโดยไม่ต้องคำนึงถึงไวยากรณ์ แต่เป็นภาษาที่นักเขียนโปรแกรมเข้าใจกันได้ มีลักษณะเป็นภาษาอังกฤษธรรมดาส่วนหนึ่ง เป็นภาษาทำโปรแกรม (programming language) อีกส่วนหนึ่งดู programming language ประกอบ | subject | (ซับ'จิคทฺ) n. เรื่อง, กรณี, ประเด็น, บัญหา, ข้อ, หัวข้อ, สาขาวิชา, สาเหตุ, มูลเหตุ, ประชากร, ข้า, ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน, ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา, ผู้รับการทดสอบ, (ไวยากรณ์) ประธานประโยค, (ปรัชญา) ตัวหลัก, ตัวของตัวเอง. adj. ภายใต้การควบคุม, เปิดเผย, อยู่ในสังกัด, อยู่ในความควบคุม, | subordinate | (ซับบอร์'ดิเนท) adj. เป็นรอง, ใต้บังคับบัญชา, สำคัญน้อยกว่า, ในสังกัด, เป็นบริวาร, เป็นข้า, ขึ้นอยู่กับ, (ไวยากรณ์) เสริมแต่ง. n. คนที่เป็นรอง, สิ่งที่เป็นรอง. vt. ทำให้อยู่ในลำดับรอง, ทำให้อยู่ในบังคับบัญชา., See also: subordination n. subordinative adj | tense | (เทนซฺ) n. กาล (ในไวยากรณ์) , กริยาแสดงเวลา, กลุ่มของกริยาหรือกาลดังกล่าว adj. ตึง, ตรึงแน่น, รัดแน่น, เครียด, See also: tenseness n., Syn. stretched, taut | voice | (วอยซฺ) n. เสียงร้อง, เสียงร้องของคน, เสียงพูด, เสียงเปล่ง, ความสามารถในการพูดหรือร้อง, สิทธิในการแสดงความคิดเห็น, ความต้องการ, ความปรารถนา, ความคิดเห็น, สิทธิในการออกเสียง, ปากเสียง, โฆษก, วาจกในไวยากรณ์, นักร้อง, ส่วนที่ขับร้องของบทดนตรี, ความสามารถในการขับร้อง |
| | 文法 | [ぶんぽう, bunpou] (n) ไวยากรณ์ |
| 補語 | [ほご, hogo] TH: หเป็นคำเฉพาะทางไวยากรณ์ใช้เรียกหน่วยเติมเต็ม EN: (grammar)complement |
| werden | (vi) |ich werde, du wirst, er/sie/es wird, sie/Sie werden, ihr/Ihr werdet, + infinitiv ท้ายประโยค| จะ (เป็นกริยาช่วยในไวยากรณ์อนาคตบ่งว่าจะทำอะไร) เช่น Nächste Woche werde ich in den Alpen skifahren. สัปดาห์หน้าฉันจะไปเล่นสกีที่เทือกเขาแอลป์ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |