ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ละเมิด, -ละเมิด- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ละเมิด | (v) infringe, See also: break, violate, offend, transgress, contravene, Syn. ฝ่าฝืน, ขัดขืน, Example: แม้บางคนจะชอบละเมิดคำสอนในศาสนา แต่ใจเขาก็ยังเคารพอยู่, Thai Definition: ฝ่าฝืนจารีตประเพณี หรือกฎหมายที่มีบัญญัติไว้ | ละเมิด | (v) infringe, See also: violate, Syn. ล่วงเกิน, Example: ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาผู้ผลิตสินค้าของไทยบางส่วนได้ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของสหรัฐ ซึ่งประมาณการไว้ว่าสูงถึง 800 เหรียญสหรัฐ, Thai Definition: จงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน หรือสิทธิ | ผู้ละเมิด | (n) violator, See also: transgressor, Syn. ผู้ล่วงละเมิด, Example: ผู้ละเมิดกฎแห่งศีลธรรมจรรยาของสังคมย่อมถูกลงโทษ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้กระทำการล่วงออกไปจากกรอบที่กำหนดไว้ | ล่วงละเมิด | (v) violate, See also: infringe, encroach, Example: ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทหารญี่ปุ่นได้ล่วงละเมิดเอกราชอธิปไตยของชาติไทย, Thai Definition: ละเมิดสิทธิผู้อื่น | ละเมิดสัญญา | (v) break an agreement, See also: break a contract / a promise, Syn. ผิดสัญญา, Example: บริษัทคู่แข่งได้ละเมิดสัญญาที่ 3 บริษัทตกลงกันไว้ | ละเมิดกฎหมาย | (v) break the law, See also: violate the law, Syn. ฝ่าฝืนกฎหมาย, ฝืนกฎหมาย, ล่วงล้ำกฎหมาย, Example: พวกที่มาชุมนุมละเมิดกฎหมาย ปีนรั้วปีนกำแพงเข้าไปโดยไม่ได้รับอนุญาต | ละเมิดสิทธิ์ | (v) violate copyright, Syn. ล่วงละเมิดสิทธิ์, Ant. เคารพสิทธิ์, Example: เขาได้ละเมิดสิทธิ์หนังสือพจนานุกรมที่แปลโดยอาจารย์ของจุฬาฯ จัดทำเป็นเครื่องพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์, Thai Definition: ล่วงเกินสิทธิของผู้อื่น | ผู้ละเมิดกฎหมาย | (n) law-breaker, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย |
|
| ล่วงละเมิด | ก. ละเมิด. | ละเมิด | ก. ล่วงเกินหรือฝ่าฝืนจารีตประเพณีหรือกฎหมายที่มีบัญญัติไว้ | ละเมิด | จงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สินหรือสิทธิ. | ละเมิดลิขสิทธิ์ | ก. กระทำอย่างหนึ่งอย่างใดต่องานที่มีลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย ได้แก่ ทำซํ้าหรือดัดแปลง หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน โดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์. | กฎหมายแพ่ง | น. กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างบุคคลเกี่ยวกับสถานภาพ สิทธิ และหน้าที่ของบุคคลตามกฎหมาย เช่น กฎหมายว่าด้วยนิติกรรม ละเมิด ทรัพย์สิน ครอบครัว มรดก. | ก้าวล่วง | ก. ละเมิด เช่น ภิกษุก้าวล่วงสิกขาบท. | ไก่ | ผู้หญิงที่ถูกล่อลวงมาเพื่อล่วงละเมิดทางเพศ. | ขอขมา, ขอขมาลาโทษ | ก. ขอไม่ให้เอาโทษในสิ่งที่ได้ล่วงละเมิดหรือล่วงเกิน เช่น เขามาขอขมาญาติผู้ใหญ่เพื่อลาบวช, ขอษมา หรือ ขอษมาลาโทษ ก็ว่า. | ค่าทดแทน | น. เงินหรือสิ่งอื่นที่กฎหมายกำหนดให้ต้องชำระ หรือชดใช้เพื่อทดแทนความเสียหายจากการผิดสัญญา การละเมิดสิทธิหรือการล่วงล้ำสิทธิของบุคคล หรือการอื่น เช่นในกรณีลูกจ้างได้รับอันตรายจากการทำงาน. | ค่าสินไหมทดแทน | น. สิ่งที่ให้หรือการกระทำที่ทำ เพื่อชดใช้หรือทดแทนความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ทรัพย์สินหรือแก่บุคคลอันเนื่องมาจากการละเมิดหรือการผิดสัญญา รวมทั้งการคืนทรัพย์สินให้แก่ผู้เสียหายด้วย. | เคารพ | ไม่ล่วงเกิน, ไม่ล่วงละเมิด, เช่น เคารพสิทธิของผู้อื่น. | ตำรวจวัง | น. ข้าราชการในพระองค์ มีหน้าที่ตรวจตรารักษาพระราชวัง และดูแลไม่ให้มีการละเมิดระเบียบประเพณีวังเป็นต้น. | ทัณฑ์บน | น. ถ้อยคำหรือหนังสือสัญญาว่าจะไม่ประพฤติละเมิดตามเงื่อนไขที่ได้ให้ไว้, (โบ) ทานบน | ทานบน | น. ทัณฑ์บน, ถ้อยคำหรือหนังสือสัญญาว่าจะไม่ประพฤติละเมิดตามเงื่อนไขที่ได้ให้ไว้, เช่น ให้เอาตัวมาสบถษาบานเฉพาะพระพุทธพระธรรมพระสงฆเจ้าจงหนักหนา แล้วให้เรียกเอาทานบนไว้ครั้งหนึ่งก่อน ถ้าผู้นั้นมิละพะยศยังทำอยู่อิกไซ้ ก็ให้จับเอาตัวมาส่งให้ผู้รักษาเมืองผู้รั้งกรมการ (สามดวง). | ทุศีล | ว. ล่วงละเมิดศีลหรือวินัย (มักใช้แก่นักบวชนักพรต). | ธรรมจาคะ | น. การละธรรม, การละเมิดศาสนา, การทิ้งศาสนา. | นิติเหตุ | น. เหตุที่เกิดขึ้นซึ่งมีผลในทางกฎหมายอันมิใช่นิติกรรม เช่น การละเมิด, โบราณใช้ว่า นิติการณ์. | บังอาจ | ก. กล้าแสดงกล้าทำด้วยทะนงใจหรือฮึกเหิม โดยไม่ยำเกรงหรือไม่รู้จักที่ต่ำที่สูง, กล้าละเมิดกฎหมาย. | ปรับไหม | ก. ให้ผู้กระทำผิดหรือกระทำละเมิดชำระเงินค่าสินไหมทดแทนหรือค่าปรับ. | ป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย | ก. กระทำการอันจำต้องกระทำเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่นให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึงโดยกระทำพอสมควรแก่เหตุ. | ปาราชิก | น. ชื่ออาบัติหนักที่สุดในพระวินัย เมื่อภิกษุล่วงละเมิดแม้เพียงข้อใดข้อหนึ่งต้องขาดจากความเป็นภิกษุทันที บวชเป็นภิกษุอีกไม่ได้ มี ๔ ข้อ คือ ๑. เสพเมถุน ๒. ลักทรัพย์ ๓. ฆ่ามนุษย์ ๔. อวดอุตริมนุสธรรม. | ปาราชิก | ว. ผู้ละเมิดอาบัติปาราชิก เช่น พระปาราชิก. | ผิดศีล | ก. ล่วงละเมิดศีล. | ฝ่าฝืน | ก. ขัดขืน, ล่วง, ละเมิด. | ราคจริต | (ราคะจะหฺริด) น. ความประพฤติที่หนักไปทางความใคร่ในกามคุณ เช่น เขามีราคจริตมากจึงก่อคดีล่วงละเมิดทางเพศ, ความประพฤติที่มีพื้นนิสัยหนักไปในทางรักสวยรักงาม, เป็นจริต ๑ ในจริต ๖. (ป.) (ดู จริต). | ล่วงล้ำ | ก. ผ่านพ้นเกินเข้าไป, บุกรุก, ละเมิด, เช่น ข้าศึกล่วงล้ำชายแดน, บางทีก็ใช้เพียง ล่วง คำเดียว. | เสรี | ว. ที่ทำได้โดยอิสระ, มีสิทธิที่จะทำจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น. | เสรีภาพ | น. ความสามารถที่จะกระทำการใด ๆ ได้ตามที่ตนปรารถนาโดยไม่มีอุปสรรคขัดขวาง เช่น เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือศาสนา, ความมีสิทธิที่จะทำจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น. | เสียพรหมจรรย์ | ก. ขาดจากความเป็นนักบวชเพราะล่วงละเมิดการประพฤติพรหมจรรย์. | หล่อน | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย เพศหญิง สำหรับผู้ใหญ่ใช้เรียกผู้น้อย เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒, (โบ) สรรพนามบุรุษที่ ๒ และที่ ๓ ใช้เรียกได้ทั้งบุรุษและสตรี เช่น จงทรงพระกรุณาโปรด ขอประทานโทษเจ้าเวสสันดร หล่อนกระทำละเมิดจิตผิดกระทรวง (ม. ร่ายยาว ทานกัณฑ์). | เหยียบย่ำ | ก. ละเมิดให้เสียหาย, ย่ำยีด้วยความดูถูก เช่น อย่าเหยียบย่ำคนจน. | อัชฌาจาร | (-จาน) น. ความประพฤติชั่ว, การล่วงมรรยาท, การละเมิดประเพณี. | อาบัติ | น. โทษที่เกิดจากการล่วงละเมิดสิกขาบทหรือข้อห้ามแห่งภิกษุ มี ๗ อย่าง คือ ปาราชิก สังฆาทิเสส ถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฎ ทุพภาษิต มีโทษ ๓ สถาน คือ ๑. โทษสถานหนัก เรียกว่า ครุโทษ หรือ มหันตโทษ ทำให้ภิกษุผู้ต้องอาบัติขาดจากความเป็นภิกษุ ได้แก่ อาบัติปาราชิก ซึ่งเรียกว่า ครุกาบัติ ๒. โทษสถานกลาง เรียกว่า มัชฌิมโทษ ทำให้ภิกษุผู้ต้องอาบัติต้องอยู่กรรมก่อนจึงจะพ้นโทษ ได้แก่ อาบัติสังฆาทิเสส และ ๓. โทษสถานเบา เรียกว่า ลหุโทษ ทำให้ภิกษุผู้ต้องอาบัติที่ตํ่ากว่าอาบัติสังฆาทิเสสต้องปลงอาบัติ คือ บอกอาบัติของตนแก่ภิกษุด้วยกัน ได้แก่ อาบัติถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฏ และทุพภาษิต ซึ่งเรียกว่า ลหุกาบัติ. | อุกอาจ | ก. กล้าทำความผิดโดยไม่เกรงกลัว, กล้าละเมิดโดยไม่กลัวความผิด, บังอาจล่วงละเมิด. |
| piracy | ๑. การกระทำอันเป็นโจรสลัด (ก. อาญา)๒. การละเมิดลิขสิทธิ์ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | prima facie tort | การละเมิดที่มีมูล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | patent, infringement of | การละเมิดสิทธิบัตร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | privilege, breach of | การละเมิดเอกสิทธิ์ (ของฝ่ายนิติบัญญัติ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | lex loci delicti commissi (L.) | กฎหมายแห่งถิ่นที่เกิดการละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | legal injury | การละเมิดสิทธิ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | superseding cause | เหตุแทรกแทน, เหตุเหนือกว่า (ที่ทำให้ผู้ละเมิดหลุดพ้นจากความรับผิด) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | action ex delicto | คดีฟ้องว่ากระทำการละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | joint tortfeasors | ผู้กระทำละเมิดร่วม, ผู้ร่วมละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | quasi-delict | คล้ายละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | breach of privilege | การละเมิดเอกสิทธิ์ (ของฝ่ายนิติบัญญัติ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | break the law | การฝ่าฝืนกฎหมาย, การละเมิดกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | contempt of Congress; Congress, contempt of | การละเมิดอำนาจรัฐสภา (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | contempt of court | การดูหมิ่นศาล, การละเมิดอำนาจศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | contempt of Parliament | การละเมิดเอกสิทธิ์ของรัฐสภา (อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | classification of torts | การจำแนกประเภทละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | concurrent tortfeasors | ผู้รับผิดเพื่อละเมิดร่วมกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Congress, contempt of; contempt of Congress | การละเมิดอำนาจรัฐสภา (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | direct contempt | การละเมิดอำนาจศาลในบริเวณศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | derivative tort | ๑. ความรับผิดเพราะการละเมิดของผู้อื่น๒. ความรับผิดทางแพ่งเนื่องจากคดีอาญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | gravity of the wrongful act | ความร้ายแรงแห่งละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ex delicto; ex maleficio (L.) | ที่เกิดจากการละเมิด (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ex delicto, action | คดีฟ้องว่ากระทำการละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ex maleficio (L.); ex delicto | ที่เกิดจากการละเมิด (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | infringement | การละเมิดสิทธิ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | infringement | การละเมิดสิทธิ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | infringement of copyright | การละเมิดลิขสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | infringement of patent | การละเมิดสิทธิบัตร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | inviolable | ที่จะละเมิดมิได้ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | inviolable | ที่จะละเมิดมิได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | infraction | การฝ่าฝืนกฎหมาย, การละเมิด (กฎหมาย สัญญาหรือหน้าที่) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | tort | การละเมิด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | tort | ละเมิด, การละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | tort of negligence | การละเมิดเพราะประมาทเลินเล่อ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | tort, waiver of | การสละสิทธิ์เกี่ยวกับการละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | trespass | ๑. การบุกรุก [ ดู intrusion ]๒. การล่วงละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | trespass to goods | การล่วงละเมิดทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | trespass to the person | การล่วงละเมิดบุคคล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | trespasser | ๑. ผู้บุกรุก๒. ผู้ล่วงละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | tort-feasor | ผู้กระทำละเมิด, ผู้ละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | tortious act | การกระทำที่เป็นละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | torts, classification of | การจำแนกประเภทละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | negligence, tort of | การละเมิดเพราะประมาทเลินเล่อ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | wrongful act | การละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | waiver of tort | การสละสิทธิ์เกี่ยวกับการละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | wilful tort | การจงใจละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Copyright infringement | การละเมิดลิขสิทธิ์, Example: <p>การละเมิดลิขสิทธิ์ หมายถึงการนำผลงานของผู้อื่นมาใช้ เผยแพร่ ดัดแปลง ทำซ้ำ โดยผู้เป็นเจ้าของผลงานไม่อนุญาตหรือไม่ได้รับทราบ ซึ่งผลงานสิ่งประดิษฐ์ วรรณกรรม ศิลปกรรม ฯลฯ เป็นกรรมสิทธิ์และลิขสิทธิ์ของผู้สร้างสรรค์ การนำผลงานมาใช้อาจมีเงื่อนไขบางประการเรียกว่าสัญญาอนุญาต ซึ่งกำหนดโดยเจ้าของผลงานหรือกำหนดตามกฎหมาย เมื่อไม่ทำตามเงื่อนไขจึงถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ <p>สนธิสัญญาระหว่างประเทศที่มีจุดประสงค์มุ่งให้ความคุ้มครองในเรื่องลิขสิทธิ์ และป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น สนธิสัญญากรุงเบิร์น สนธิสัญญาลิขสิทธิ์ และสนธิสัญญาการแสดงและสิ่งบันทึกเสียง นอกจากสนธิสัญญาแล้ว ยังมีองค์กรที่ให้การคุ้มครองเพื่อป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น องค์การการค้าโลก และกรมทรัพย์สินทางปัญญา <p>สำหรับประเทศไทย ได้มีการออกพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 บังคับใช้ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดลิขสิทธิ์ คือ มาตรา 27 ระบุว่าการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยไม่ได้รับอนุญาตตามมาตรา 15 (5) ให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทำดังต่อไปนี้ (1) ทำซ้ำหรือดัดแปลง (2) เผยแพร่ต่อสาธารณชน <p>มาตรา 15 ภายใต้บังคับมาตรา 9 มาตรา 10 และมาตรา 14 เจ้าของลิขสิทธิ์ย่อมมีสิทธิแต่ผู้เดียว ดังต่อไปนี้ (1) ทำซ้ำหรือดัดแปลง (2) เผยแพร่ต่อสาธารณชน (3) ให้เช่าต้นฉบับ หรือสำเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ และสิ่งบันทึกเสียง (4) ให้ประโยชน์อันเกิดจากลิขสิทธิ์แก่ผู้อื่น (5) อนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิตาม (1) (2) หรือ (3) โดยจะกำหนดเงื่อนไขอย่างใดหรือไม่ก็ได้ แต่เงื่อนไขดังกล่าวจะกำหนดในลักษณะที่เป็นการจำกัดการแข่งขันโดยไม่เป็นธรรมไม่ได้ การพิจารณาว่าเงื่อนไขตามวรรคหนึ่ง (5) จะเป็นการจำกัดการแข่งขันโดยไม่เป็นธรรมหรือไม่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง <p>อย่างไรก็ตาม การละเมิดลิขสิทธิ์ มีข้อยกเว้นในประเด็นเรื่อง การใช้โดยเป็นธรรม หรือ การใช้โดยชอบธรรม (Fair use) ที่เป็นข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ที่กฎหมายกำหนดให้บุคคลทั่วไปมีสิทธิพิเศษที่จะใช้งานอันมีลิขสิทธิ์ โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของลิขสิทธิ์ หากการใช้นั้นเป็นการใช้ที่เป็นธรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างดุลยภาพระหว่างการปกป้องผลประโยชน์อันชอบธรรมของเจ้าของลิขสิทธิ์ และการรักษาประโยชน์ของสาธารณชนในอันที่จะใช้งานอันมีลิขสิทธิ์ ซึ่งหลักการว่าด้วยดุลยภาพนี้เป็นหลักการพื้นฐานของกฎหมายลิขสิทิ์ของทุกประเทศ โดยมีความมุ่งหมายที่จะส่งเสริมให้เกิดการสร้างงานที่มีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อสังคม และให้สังคมสามารถใช้งานนั้นได้โดยไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิของผู้สร้างสรรค์งาน การจะเข้าข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ และเข้าข่ายการใช้โดยเป็นธรรม (Fair use) จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ 3 ประการ คือ เป็นการกระทำเพื่อการวิจัยหรือศึกษางานนั้น การกระทำนั้นมิได้เป็นการกระทำเพื่อหากำไร และการกระทำนั้นไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์และไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Patent infringement | การละเมิดสิทธิบัตร, Example: <p>การละเมิดสิทธิบัตร (Patent infringement) คือ การที่บุคคลใด บุคคลหนึ่งกระทำการใด ๆ ให้ผู้ทรงสิทธิบัตรเสียหาย โดยกระทบต่อสิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตรข้างต้น เช่น ปลอม ทำซ้ำ ดัดแปลง โดยที่ไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของสิทธิบัตร ซึ่งการละเมิดสิทธิบัตรนั้น มีความผิดทั้งในทางอาญาและทางแพ่ง <p>ความรับผิดชอบทางอาญาตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ.2522 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2535 เป็นโทษจำคุก ปรับ ริบ ทรัพย์สิน <p>ความรับผิดชอบทางแพ่ง อาจต้องชดใช้ค่าเสียหายจากความเสียหายที่ผู้ทรงสิทธิบัตรได้รับ โดยคำนึงถึงความร้ายแรงของความเสียหาย รวมทั้งการสูญเสียประโยชน์และค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการบังคับตามสิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตรหรือผู้ทรงอนุสิทธิบัตร <p>ดังนั้นหากบุคคลใดที่ไม่ใช่เจ้าของสิทธิบัตร นำการประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์ของผู้ทรงสิทธิไปทำการผลิต ใช้ ขาย มีไว้เพื่อขาย เสนอขาย หรือนำเข้ามาในราชอาณาจักร หรือใช้คำว่า “สิทธิบัตรไทย” หรืออักษรต่างประเทศที่มีความหมายเช่นเดียวกัน ให้ปรากฏที่ผลิตภัณฑ์ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อของผลิตภัณฑ์ หรือในการประกาศโฆษณาการประดิษฐ์ตามสิทธิบัตร โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของสิทธิบัตรหรือผู้ทรงสิทธิบัตรที่ได้รับจดทะเบียนสิทธิบัตรไว้แล้ว โดยเป็นความผิดต่อกฏหมายพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ.2522 ที่ได้กำหนดโทษให้การกระทำความผิดดังกล่าวเป็นการละเมิดสิทธิบัตร และเป็นความผิดในทางอาญา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | software piracy | การละเมิดซอฟต์แวร์, Example: คำว่า piracy แปลว่าการกระทำเยี่ยงโจรสลัด และฝรั่งนิยมนำมาใช้กับการละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น การก๊อบปี้ซอฟต์แวร์ของผู้อื่นไปใช้ โดยไม่ยอมเสียเงินซื้อ เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ และทำให้ผู้ผลิตและจำหน่วยซอฟต์แวร์เสียหาย คือ ควรจะขายได้เงินก็ไม่ได้ ประเทศไทยมีการละเมิดซอฟต์แวร์มานานแล้ว แม้ว่าจะมีพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ฉบับ พ.ศ. 2521 บังคับใช้ ทั้งนี้เพราะกฎหมายฉบับนี้ไม่ได้ระบุว่าซอฟต์แวร์มีลิขสิทธิ์หรือไม่ เมื่อเป็นเช่นนั้นประเทศไทยจึงถูกประเทศสหรัฐอเมริการที่เป็นผู้ผลิตซอฟต์แวร์รายใหญ่จับตามอง และไทยได้รับการร้องขอให้ช่วยปราบปรามผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ และตรา พรบ. ที่รัดกุมกว่าขึ้นใช้เป็นผลให้มี พรบ.นี้กำหนดว่าซอฟต์แวร์ได้รับการคุมครอง และการละเมิดลิขสิทธิ์จะต้องถูกลงโทษ [คอมพิวเตอร์] | Infringe | การล่วงละเมิด ด้วยการผลิต ใช้ เลียนแบบกระบวนการ หรือ ขายการประดิษฐ์ที่ได้รับการคุ้มครองจากสิทธิบัตรในประเทศที่มีการยื่นขอ , การล่วงละเมิด ด้วยการผลิต ใช้ เลียนแบบกระบวนการ หรือ ขายการประดิษฐ์ที่ได้รับการคุ้มครองจากสิทธิบัตรในประเทศที่มีการยื่นขอ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของสิทธินั้น [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Contempt of court | การละเมิดอำนาจศาล [TU Subject Heading] | Copyright infringement | การละเมิดลิขสิทธิ์ [TU Subject Heading] | Intellectual property infringement | การละเมิดลิขสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญา [TU Subject Heading] | Pirated editions | ฉบับละเมิดลิขสิทธิ์ [TU Subject Heading] | Respondeat superior | ความรับผิดทางละเมิดของบุคคลที่อยู่ในความดูแล [TU Subject Heading] | Tort liability of banks | ความรับผิดฐานละเมิดของธนาคาร [TU Subject Heading] | Tort liability of corporations | ความรับผิดฐานละเมิดขององค์การ [TU Subject Heading] | Torts | ละเมิด [TU Subject Heading] | Trademark infringement | การละเมิดสิทธิเครื่องหมายการค้า [TU Subject Heading] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Conduct of Diplomatic Mission Towards the Receiving State | ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง [การทูต] | delict | ละเมิด [การทูต] | Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] | Freedom of Communication | เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต] | Humanitarian Intervention | การแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม " เป็นแนวคิดที่นายโคฟี อันนาน เลขาธิการสหประชาชาติเสนออย่างเป็น ทางการครั้งแรกต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ 54 เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมุ่งจะให้สหประชาชาติสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนภาย ในประเทศต่าง ๆ ได้โดย คำนึงถึงประเด็นเรื่องมนุษยธรรมเป็นหลัก ขณะนี้ แนวคิดนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่ยุติ โดยบางประเทศเห็นว่า เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐ บางประเทศเห็นว่าเป็นมาตรการที่จำเป็นเพื่อแก้ปัญหาของมนุษยชาติ ส่วนบางประเทศเห็นว่าการแทรกแซงดังกล่าวจะต้องอยู่ใต้กรอบหลักเกณฑ์ หรือกรอบกฎหมายบางประการ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ " [การทูต] | Immunity from Jurisdiction of Diplomatic Agents | ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 31 ว่า?1. ให้ตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางอาญาของรัฐผู้รับ ตัวแทนทางการทูตยังจะได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่ง และทางการปกครองของรัฐผู้รับด้วย เว้นแต่ในกรณีของก) การดำเนินคดีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับนอกจากตัวแทนทางการทูตครอบครองไว้ในนามของ รัฐผู้ส่งเพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนข) การดำเนินคดีเกี่ยวกับการสืบมรดกซึ่งเกี่ยวพันถึงตัวแทนทางการทูตในฐานะผู้ จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ผู้จัดการมรดกโดยศาลตั้งทายาท หรือผู้รับมรดกในฐานะเอกชน และมิใช่ในนามของรัฐผู้ส่งค) การดำเนินคดีเกี่ยวกับกิจกรรมใดในทางวิชาชีพ หรือพาณิชย์ ซึ่งตัวแทนทางการทูตได้กระทำในรัฐผู้รับ นอกเหนือจากการหน้าที่ทางการของตน 2. ตัวแทนทางการทูตไม่จำเป็นต้องให้การในฐานะพยาน 3. มาตรการบังคับคดี ไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยมีเงื่อนไขว่ามาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้โดยปราศจากการละเมิด ความละเมิดมิได้ในตัวบุคคลของตัวผู้แทนทางการทูต หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต 4. ความคุ้มกันของตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ ไม่ยกเว้นตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้ส่ง?เกี่ยวกับความคุ้มกันตัว แทนทางการทูตจากขอบเขตของอำนาจศาลทางแพ่ง อาจกล่าวได้อย่างกว้างๆ ว่า ตัวแทนทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทน ทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทนทางการ ทูตจะถูกฟ้องมิได้ และถูกจับกุมมิได้เกี่ยวกับหนี้สิน รวมทั้งทรัพย์สินของเขา เช่น เครื่องเรือน รถยนต์ ม้า และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้นก็จะถูกยืดเพื่อใช้หนี้มิได้ ตัวแทนทางการทูตจะถูกกีดกันมิให้ออกไปจากรัฐผู้รับในฐานะที่ยังมิได้ชดใช้ หนี้สินของเขานั้นก็มิได้เช่นกัน อนึ่ง นักกฎมายบางกลุ่มเห็นว่า ตัวแทนทางการทูตจะถูกหมายศาลเรียกตัว (Subpoenaed) ไม่ได้ หรือแม้แต่ถูกขอร้องให้ไปปรากฎตัวเป็นพยานในศาลแพ่งหรือศาลอาญาก็ไม่ได้ อย่างไรก็ดี ถ้าหากตัวแทนทางการทูตสมัครใจที่จะไปปรากฏตัวเป็นพยานในศาล ก็ย่อมจะทำได้ แต่จะต้องขออนุมัติจากรัฐบาลในประเทศของเขาก่อน [การทูต] | infringement | การละเมิด [การทูต] | International Trade Organization | องค์การการค้าระหว่างประเทศ มีหน้าที่ดำเนินงานเกี่ยวกับความตกลงทั้วไปว่าด้วยภาษี ศุลกากรและการค้าระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ ต้องการขยายการค้าของโลกให้กว้างขวางขึ้น ซึ่งเป็นการช่วยให้มีมาตรฐานการครองชีพสูงขึ้น ขจัดการกีดกันการค้า หรือพยายามลดให้เหลือน้อยที่สุด เช่น การตั้งข้อจำกัดโควต้า เป็นต้น ตัดทอนภาษีศุลกากรทั่วโลกให้ต่ำลง ดูแลตลาดวัตถุดิบให้เป็นไปอย่างยุติธรรม และพยายามควบคุมด้านการค้าของการร่วมมือกันทางธุรกิจ (Cartels) จุดมุ่งหมายสำคัญที่สุดคือ ป้องกันมิให้กลับไปสู่การดำเนินการทางการค้าที่ตัดราคากันอย่างหั่นแหลก เหมือนเมื่อระยะปี ค.ศ. 1930 ถึง 1939 นั่นเองอย่างไรก็ดี ตั้งแต่มีการปฏิบัติใช้ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้ามาจนบัด นี้ ก็ได้รับผลสำเร็จตามแนววัตถุประสงค์อย่างมากมาย เช่น มีประเทศสมาชิกหลายสิบประเทศลดภาษีศุลกากรและรักษาระดับภาษีอย่างมีเสรีภาพ แต่ละปี ประเทศสมาชิกจะได้ยินได้ฟังเสียงร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการค้า ละเมิดกฎเกณฑ์ของความตกลงทั่วไป แล้วเสียงร้องเรียนดังกล่าวก็ได้รับการแก้ไขจนเป็นที่พึงพอใจของทุกฝ่าย เป็นต้น นอกจากนี้ ได้มีการปรับปรุงและดัดแปลงข้อกำหนดของความตกลงทั่วไป ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา [การทูต] | inviolability | ความละเมิดมิได้ [การทูต] | Inviolability | หมายถึง ความละเมิดมิได้ ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ตัวแทนทางการทูตต้องได้รับการคุ้มครองมากยิ่งกว่าบุคคล ธรรมดา มีการกล่าวกันว่า ตัวเอกอัครราชทูตนั้นจะได้รับการเคารพยกย่องพอ ๆ กับตัวประมุขของรัฐทีเดียว การให้ความคุ้มครองเช่นนี้จะขยายไปถึงสิ่งของทุกชิ้นที่เป็นของเอกอัคร ราชทูตบุคคลในครอบครัว บริวาร คนใช้ เครื่องเรือน เอกสาร และจดหมายโต้ตอบของเอกอัครราชทูต เป็นต้น [การทูต] | Inviolability of Residence and Property of Diplomatic Agents | หมายถึง ความละเมิดมิได้ของทำเนียบและทรัพย์สินของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 30 ว่า ?1. ให้ที่อยู่ส่วนตัวของตัวแทนทางการทูต ได้อุปโภคความละเมิดมิได้และความคุ้มครอง เช่นเดียวกับสถานที่ของคณะผู้แทน 2. ให้กระดาษเอกสาร หนังสือโต้ตอบ และยกเว้นที่ได้บัญญัติไว้ในวรรค 3 ของข้อ 31 ทรัพย์สินของตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคและละเมิดมิได้เช่นกัน?วรรค 3 ของข้อ 31 ในอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า มาตรการบังคับคดีไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต (เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยเงื่อนไขว่า มาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้ โดยปราศจาการละเมิด) หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต [การทูต] | Inviolability of the Mission Premises | คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ? [การทูต] | jus cogens | กฎเกณฑ์ทั่วไปแห่งกฎหมายระหว่างประเทศที่มีลักษณะ เป็นกฎหมายเด็ดขาดซึ่งจะละเมิดมิได้ [การทูต] | peace enforcement | การบังคับให้เกิดสันติภาพ " เป็นมาตรการใช้กำลังบังคับผู้ที่กำลังดำเนินการที่เป็นการละเมิด สันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศให้ยุติการกระทำดังกล่าว " [การทูต] | Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] | Personal Inviolability of Diplomatic Agents | หมายถึง ตัวบุคคลของตัวแทนทางทูตจะถูกละเมิดมิได้ กล่าวคือ มาตรา 29 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในเรื่องนี้ไว้ว่า ?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทุตจะไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด ๆ ให้รัฐผู้รับปฏิบัติต่อตัวแทนทางการทูตด้วยความเคารพตามสมควร และดำเนินการที่เหมาะสมทั้งมวลที่จะป้องกันการประทุษร้ายใด ๆ ต่อตัวบุคคล เสรีภาพ หรือเกียรติของตัวแทนทางการทูต?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ นั้น ได้ถือเป็นปัจจัยหลักในการที่ให้ผู้แทนทางการทูตได้รับสิทธิและความคุ้มกัน ทั้งมวล ถึงกับมีการพูดกันว่า ผู้ใดประทุษร้ายต่อตัวเอกอัครราชทูต จักถือว่าเป็นการทำร้ายต่อประมุขของประเทศซึ่งผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเป็น ตัวแทนอยู่ ทั้งยังถือว่าเป็นการยังผลร้ายต่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพของประชาชาติทั้ง มวลด้วยตัวอย่างเช่น เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1964 ชายหนุ่มญี่ปุ่นคนหนึ่งซึ่งมีจิตวิปลาส ได้ใช้มีดแทง นายเอ็ดวิน โอไรส์ชาวเออร์ เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศญี่ปุ่น ในเขตนอกสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ในกรุงโตเกียว รัฐมนตรีว่าการกระทวงมหาดไทยญี่ปุ่นได้ลาออกจากตำแหน่งทันทีและรุ่งขึ้นใน วันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1964 นายอิเคดะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นในสมัยนั้น ได้ทำการขอโทษต่อประชาชนชาวอเมริกันทางวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่ได้มีการดำเนินการในทำนองนี้ และการที่นายกรัฐมนตรีอิเคดะได้ปฏิบัติดังกล่าวได้แสดงให้เห็นว่า การที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้นั้น มีความสำคัญมากเพียงใดตัวแทนทางการทูตจะถูกจับ ถูกฟ้องศาล หรือถูกลงโทษฐานประกอบอาชญากรรมนั้นไม่ได้ เพราะถือว่าผู้แทนทางการทูตมิได้อยู่ในอำนาจศาลของรัฐผู้รับ อย่างไรก็ดี หากผู้แทนทางการทูตกระทำความผิดอย่างโจ่งแจ้ง รัฐผู้รับอาจขอให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับไปยังประเทศของเขาได้ในทันที [การทูต] | sanction | การคว่ำบาตร (ในกรอบสหประชาชาติ) " หมายถึง มาตรการลงโทษที่คณะมนตรีความมั่นคง ใช้ต่อประเทศสมาชิกที่มีการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ รวมทั้งเป็นภัยต่อสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศโดยการจำกัด หรือห้ามประเทศสมาชิกอื่น ๆ ติดต่อในด้านต่าง ๆ (เช่น ด้านการค้า การคมนาคมขนส่ง) อย่างเป็นทางการกับประเทศนั้น ๆ เพื่อบีบบังคับให้มีการปฏิบัติตามข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคง มาตรการห้ามการ ติดต่อเหล่านี้ บางครั้งเรียกว่า ปิดล้อม (embargo) เช่น ปิดล้อมด้านอาวุธ ปิดล้อมด้านการค้า เป็นต้น " [การทูต] | Sanctions | การบังคับตามกฎระหว่างประเทศ หมายถึงการที่หลาย ๆ ชาติได้ลงมติใช้มาตรการบังคับหรือจูงใจพร้อม ๆกันเพื่อบังคับให้ชาติหนึ่งที่ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ทำการยับยั้ง (Desist) หรือยินยอมให้มีการชี้ขาดตัดสิน (Adjudication) หรือกล่าวอย่างสั้น ๆ แซ็งชั่นก็คือ หนทางที่บังคับพันธกรณีทางกฎหมายให้เป็นไปตามกฎหมายเรื่องแซ็งชั่นนี้ กฎบัตรสหประชาชาติได้กล่าวไว้ในบทที่ 7 ข้อ 41 และ 42 มีข้อความดังนี้ ?ข้อ 41 คณะมนตรีความมั่นคงอาจวินิจฉัยว่า จะต้องใช้มาตรการอันใดอันไม่มีการใช้กำลังอาวุธ เพื่อยังผลให้เกิดแก่คำวินิจฉัยของคณะมนตรี และอาจเรียกร้องให้สมาชิกแห่งสหประชาชาติใช้มาตรการเช่นว่านั้น มาตรการเหล่านี้อาจรวมถึงการตัดสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และการคมนาคมทางรถไฟ ทางทะเล ทางอากาศ ทางไปรษณีย์โทรเลข ทางวิทยุ และวิถีทางคมนาคมอย่างอื่นโดยสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน และการตัดความสัมพันธ์ทางการทูต ข้อ 42 หากคณะมนตรีความมั่นคงพิจารณาเห็นว่ามาตรการที่บัญญัติไว้ในข้อ 41 น่าจะไม่เพียงพอ หรือได้พิสูจน์แล้วว่าไม่เพียงพอ คณะมนตรีก็อาจดำเนินการใช้กำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้ หรือสถาปนากลับคืนมาซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การดำเนินการเช่นว่านี้ อาจรวมถึงการแสดงแสนยานุภาพ การปิดล้อม และการปฏิบัติอย่างอื่นโดยกำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินของบรรดาสมาชิกแห่งสหประชาชาติ [การทูต] | Termination of Mission of Diplomatic Agent | ภารกิจของผู้แทนทางการทูตหรือหัวหน้าคณะทูตจะสิ้น สุดลง 1. ระยะเวลาที่ผู้แทนทางการทูตได้รับแต่งตั้งให้ประจำอยู่ในประเทศผู้รับได้ครบ กำหนดตามวาระ2. เมื่อวัตถุประสงค์ของภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติได้สัมฤทธิผลเรียบ ร้อยแล้ว3. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากต้องโยกย้ายไปที่อื่น หรือลาออก หรือเนื่องจากครบเกษียณอายุ4. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากไม่เป็นที่พอใจของรัฐบาลของตน หรือกระทำตามคำขอร้องของรัฐบาลของประเทศผู้รับ ซึ่งเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่5. เนื่องจากการเสด็จสวรรคตของพระมหากษัตริย์ของประเทศตน หรือประเทศที่ตนได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงาน6. หากตัวเขาเองได้กระทำการอันเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศบางอย่าง หรือเนื่องจากเกิดเหตุการณ์บางอย่างที่คาดไม่ถึง และมีลักษณะร้ายแรงจริง ๆ ตัวเขาเองจะต้องรับผิดชอบในการตัดความสัมพันธ์7. เมื่อรัฐบาลผู้รับ ซึ่งตัวเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่นั้น แล้วจะด้วยเหตุผลอย่างใดก็ตาม ได้แจ้งให้เขาเดินทางออกไปจากประเทศในทันที โดยไม่ต้องระให้รัฐบาลของตนเรียกตัวกลับ8. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในตำแหน่งของผู้แทนทางการทูต ดังเช่น ได้รับเลื่อนตำแหน่งจากอัครราชทูตขึ้นเป็นเอกอัครราชทูต9. เนื่องจากเกิดสงครามขึ้นระหว่างรัฐทั้งสอง10. เนื่องจากถูกถอดจากตำแหน่ง หรือสละราชบัลลังก์ของประมุขของประเทศใดประเทศหนึ่ง 11. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในประเทศใดประเทศหนึ่ง จากระบบพระมหากษัตริย์เป็นระบบสาธารณรัฐ หรือเป็นระบบสาธารณรัฐอันมีประมหากษัตริย์ทรงอยู่ใต้กฎหมาย12. เนื่องจากรัฐใดรัฐหนึ่งของทั้งสองรัฐต้องสูญสภาวะในการเป็นรัฐเหตุผลข้างต้น ทั้งหมดนี้ เป็นทรรศนะของเซอร์เออร์เนสท์ ซาทาว ซึ่งได้ให้ไว้ในหนังสือของท่าน ชื่อว่า ?A Guide to Diplomatic Practice? ฉบับเรียบเรียงใหม่ครั้งที่ 4 โดยเซอร์เนวิลล์ แบลนด์ [การทูต] | United Nations Emergency Force | กองกำลังฉุกเฉินของสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 สมัชชาแห่งสหประชาชาติได้ขอรัองให้เลขาธิการสหประชาชาติเสนอแผนการภายใน 48 ชั่วโมง เพื่อจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติของสหประชาชาติ โดยได้รับอนุมัติจากชาติที่เกี่ยวข้อง ให้ทำหน้าที่ยุติและควบคุมดูแลการหยุดรบในประเทศอียิปต์ วันรุ่งขึ้น คือ วันที่ 5 พฤศจิกายน สมัชชาก็ได้ลงมติให้จัดตั้งกองบัญชาการแห่งสหประชาชาติขึ้นปรากฏว่า ผู้แทนของสหภาพโซเวียตได้กล่าวอ้างว่า การจัดตั้งกองกำลังดังกล่าวเป็นการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ โดยยกบทที่ 7 ของกฎบัตรขึ้นมาอ้างว่า คณะมนตรีความมั่นคงองค์กรเดียวเท่านั้น ที่กฎบัตรให้อำนาจจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติได้ ด้วยเหตุนี้ สหภาพโซเวียตและอีกบางประเทศจึงแถลงว่า จะไม่ยอมมีส่วนร่วมในการออกเงินค่าใช้จ่ายสำหรับกองกำลังดังกล่าวโดยเด็ดขาด พึงสังเกตว่า การที่สหภาพโซเวียตอ้างยืนยันว่า คณะมนตรีความมั่นคงเท่านั้นที่กฎบัตรสหประชาชาติให้อำนาจตั้งกองกำลังสห ประชาชาติได้ ก็เพราะหากยินยอมตามข้ออ้างของสหภาพโซเวียตดังกล่าว จะไม่มีทางจัดตั้งกองกำลังขึ้นได้เลย เพราะสหภาพโซเวียตจะใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคงอย่างไม่ต้องสงสัย [การทูต] | War Crimes | อาชญากรรมสงคราม ตามกฎบัตรต่อท้ายความตกลงว่าด้วยการพิจารณาลงโทษ อาชญากรสางคามที่สำคัญ ๆ ของฝ่ายอักษะยุโรป (European Axis) การกระทำต่อไปนี้ถือว่าเป็นอาชญากรรมสงครามคือ การละเมิดกฎหมายหรือประเพณีของการสงคราม เช่น การฆ่า การปฏิบัติอันโหดร้าย หรือการขับคนไปทำงานเยี่ยงทาส หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใด ซึ่งกระทำต่อราษฎรพลเรือนของดินแดนที่ถูกยึดครอง การฆ่าหรือปฏิบัติอย่างโหดร้ายต่อเชลยศึกหรือบุคคลในท้องทะเล การฆ่าตัวประกัน การปล้นสะดมทรัพย์สินสาธารณะหรือส่วนบุคคล การทำลายล้างตัวเมืองหรือหมู่บ้าน ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่จำเป็นในแง่การทหาร [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
| All of the defendants claim... that they were subjected to physical and mental abuse while in police custody. | ว่าพวกเขาโดยนำมาทางกายภาพและ การล่วงละเมิดทางจิตใน? In the Name of the Father (1993) | - I got a threshold, Jules, for the abuse that I will take. | - ฉันได้เกณฑ์จูลส์สำหรับการละเมิดที่ฉันจะใช้เวลา Pulp Fiction (1994) | Parole violation. | การละเมิดทัณฑ์บน The Shawshank Redemption (1994) | Once more unto the breach, dear Meanies! | อีกครั้งแก่การละเมิด, มีนีส ที่รัก! Yellow Submarine (1968) | Ambiguously accepting social standards while transgressing them | social standards ที่ยอมรับคลุมเครือ ขณะที่ที่ละเมิดที่มัน Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | We have a curfew violation. | เรามีการละเมิดเคอร์ฟิว Mad Max (1979) | We didn't want to create an injustice simply because Mr. Gandhi was abusing our existing legislation. | เราไม่ต้องการสร้างความไม่ยุติธรรม เพียงเพราะคานธี ละเมิดกฎหมายของเรา Gandhi (1982) | I promise you, Sir Evelyn Blount, that I will do all in my power... to protect him from this abuse. | ฉันสัญญาว่าคุณเซอร์ เอฟลึน เบลอท ที่ฉันจะทำทั้งหมดในอำนาจของฉัน ... เพื่อปกป้องเขาจากการละเมิดนี้ Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | "A law of Jumanji having been broken... you will slip back even more than your token." | "กติกาของจูแมนจี้ ถูกละเมิดแล้ว... ...คุณต้องถอยอีกตัว กลับไปก่อน" Jumanji (1995) | The humans who violated the forest threw her in my path as they ran from me. | คนที่ละเมิดป่าโยนของเธอในเส้นทางของฉันที่พวกเขาวิ่งออกไปจากฉัน Princess Mononoke (1997) | King's commitment to noble families must not be compromised. | ความมุ่งมั่นของพระราชา ต่อครอบครัวชั้นสูงจะต้องไม่ถูกล่วงละเมิด Anna and the King (1999) | A violation of the rules causes a penalty | การละเมิดกฎ ก็ต้องรับการลงโทษ GTO (1999) | As long as I live if she abuses power on the students | ตราบเท่าที่ผมยังมีชีวิตอยู่ ถ้าเธอใช้อำนาจละเมิดสิทธิมนุษยชนของนักเรียน GTO (1999) | Okay, I mean sexual harassment suit. | โอเค จริงๆ แล้วหมายถึงชนะคดีละเมิดทางเพศ Death Has a Shadow (1999) | Because then the client would have committed... a regulatory infraction as opposed to a dangerous crime. | เพราะลูกความอาจกระทำผิด เพียงแค่ละเมิดสัญญาหรือไม่ได้ก่อคดีที่เป็นอันตรายนัก Legally Blonde (2001) | Headmaster these boys have flouted the Decree for the Restriction of Underage Wizardry. | อาจารย์ใหญ่ เด็กพวกนี้ได้ละเมิดกฎข้อห้ามใช้ เวทย์มนตร์ของพ่อมดไม่บรรลุนิติภาวะ Harry Potter and the Chamber of Secrets (2002) | You both realize, of course that in the past few hours, you have broken perhaps a dozen school rules. | เธอคงสำนึก แน่ล่ะ ว่าสองสามชั่วโมงที่ผ่านมา เธอละเมิดกฎของโรงเรียนเป็นโหล Harry Potter and the Chamber of Secrets (2002) | - Bogey two at the breach point! | - ศัตรู 2 ที่จุดละเมิด The Matrix Revolutions (2003) | Chevron was guilty of environmental violations and paid $6.5 million in fines. | เชฟรอนมีความผิดฐานละเมิดกฎหมายสิ่งแวดล้อม และต้องจ่ายค่าปรับ 6.5 ล้านเหรียญ The Corporation (2003) | Mitsubishi was guilty of anti-trust violations and paid $1.8 million in fines. | มิตซูบิชิมีความผิดฐานละเมิดกฎหมายป้องกันการผูกขาด และต้องจ่ายค่าปรับ 1.8 ล้านเหรียญ The Corporation (2003) | Eastman Kodak was guilty of environmental violations. | อีสต์แมนโกดักมีความผิดฐานละเมิดกฎหมายสิ่งแวดล้อม... The Corporation (2003) | Pfizer the drug manufacturer was guilty of antitrust violations. | ไฟเซอร์ ผู้ผลิตยา มีความผิด ฐานละเมิดกฎหมายป้องกันการผูกขาด... The Corporation (2003) | Odwalla was guilty of food and drug regulatory violations. | ออดวัลลามีความผิดฐานละเมิดข้อบังคับของ อย. ... . The Corporation (2003) | Jane sued Fox under Florida's whistleblower statute which protects those who try to prevent others from breaking the law. | ซึ่งคุ้มครองคนที่พยายามขัดขวาง ไม่ให้คนอื่นละเมิดกฎหมาย แต่ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์กลับเห็นว่า The Corporation (2003) | From its complicity in unspeakable human rights violations overseas against women, gays, labourers and indigenous peoples to its efforts to subvert U.S. foreign policy and deceive the courts the public and its own stockholders | บรรษัทนี้ทำความผิดตั้งแต่มีส่วนสมรู้ร่วมคิด ในการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงในต่างประเทศ ทั้งต่อผู้หญิง, คนรักร่วมเพศ, กรรมกรและชาวพื้นเมือง The Corporation (2003) | We stopped the third world being viewed as the pirate and we showed the corporations were the pirate. | เราหยุดยั้งการทำให้โลกที่สามถูกมองว่าเป็นผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ และเปิดโปงให้เห็นว่า บรรษัทต่างหากที่เป็นโจร The Corporation (2003) | Taking classified programmers out of the country compromises national security. | การนำพาโปรแกรมเมอร์ออกนอกประเทศ เป็นการละเมิดสัญญาว่าด้วยความปลอดภัยของชาติ Ghost in the Shell (1995) | We've got a security breach here. | ใช่ฉันได้ยิน เราได้มีการละเมิดความ ปลอดภัยที่นี่ Contact (1997) | Security breach! | พาเขา! ละเมิดความปลอดภัย! Contact (1997) | She alleges that you're not sending your grandson to school, in violation of state and federal codes, and that you have involved him in illegal activities. | เธออ้างว่า คุณไม่ยอมส่งหลาน ไปโรงเรียน เป็นการละเมิดกฎของรัฐ และนอกจากนี้... ...คุณยังให้เขาเข้าไปเกี่ยวข้อง กับเรื่องผิดกฎหมาย The Education of Little Tree (1997) | What I need is a husband who will not just stand there while I am being molested! | ฉันต้องการสามีที่่ ไม่แค่ยืนเฉยระหว่างที่ฉันถูกล่วงละเมิด! Crash (2004) | You be sure to let me know next time you wanna finger-fuck my wife. | อย่าลืมบอกผมว่าเมื่อคุณ อยากจะล่วงละเมิดเมียผมอีก Crash (2004) | First, licentiousness between us is not permitted. | ข้อแรกไม่อนุญาต ให้ล่วงละเมิดสิทธิ์ส่วนบุคคลซึ่งกันและกัน Full House (2004) | Well, I feel weird being here... like I'm trespassing. | อ้อ ฉันรู้สึกแปลกที่ต้องอยู่ที่นี่... เหมือนกับฉันถูกล่วงละเมิด Mr. Monk and the Girl Who Cried Wolf (2004) | Well, you know, Adrian, I, I can see that, that your space has been violated, and I think you're handling it very well. | เอาล่ะ คุณก็รู้ เอเดรียน ผม ผมเห็นอยู่ ว่าคุณไม่ยอมละเมิดคำสั่ง Mr. Monk and the Panic Room (2004) | In my world rules are meant to be broken. | สำหรับผม กฎมีไว้ละเมิด. Transporter 2 (2005) | Without question, Crewe's five-year federal probation for point-shaving has been severely violated tonight. | ไม่ต้องสงสัย ครูว์ ได้ละเมิดทัณฑ์บนห้าปี... จากข้อหาล้มบอลแล้วในคืนนี้ The Longest Yard (2005) | That is the biggest taboo in alchemy. | แกกำลังละเมิดข้อห้ามสูงสุดของวิชาเล่นแร่แปรธาตุอยู่นะ Fullmetal Alchemist the Movie: Conqueror of Shamballa (2005) | I have been in direct communication with HQ in Paris over your little escapade. | ฉันติดต่อศูนย์บัญชาการในปารีส เรื่องการละเมิดคำสั่ง Flyboys (2006) | This will violate human rights. | นี่มันเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลนะ Death Note: The Last Name (2006) | How you gonna explain to your son what happened to you when you didn't honor your agreement? | เธอจะอธิบายที่เกิดขึ้นกับเธอให้ลูกฟังว่ายังไง ตอนที่เธอละเมิดข้อตกลง Chapter Four 'Collision' (2006) | Evolution is an imperfect and often violent process. | บ่อยครั้งวิวัฒนาการที่ไม่สมบุรณ์ ก็ทำให้เกิดการล่วงละเมิดอย่างรุนแรง Chapter Six 'Better Halves' (2006) | You invaded my privacy, Mohinder. This was not for you to read. | ลูกละเมิดความเป็นส่วนตัวของพ่อ โมฮินเดอร์ นี่ไม่ใช่สำหรับลูกที่จะอ่าน Chapter Nine 'Homecoming' (2006) | A man can claim almost anything violates his constitutional rights. | มนุษย์สามารถเรียกร้องอะไรเกือบละเมิดสิทธิรัฐธรรมนูญของเขา. English, Fitz or Percy (2005) | Did they violate you? | ถ้าพวกนั้นล่วงละเมิดเธอล่ะก็ Go Go G-Boys (2006) | Two days, one night. It wasn't... | พวกเราบอกว่าจะไม่ละเมิดศีลธรรมเขาไม่ใช่เหรอ? Shimokita Glory Days (2006) | If this gets out, it's the violation of publicity. | นี่ถือเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลนะ 200 Pounds Beauty (2006) | I'll be in touch regarding your various infractions. | ฉันจะไปหาเพราะการละเมิดหลายครั้งของพวกคุณ Art Isn't Easy (2007) | And Accused Him Of Sexual Assault. | แล้วกล่าวหาเขา ว่าล่วงละเมิดทางเพศ Something's Coming (2007) | Call me an office crazy, but your humbling interest in my personal life could be misinterpreted as harassment in some circles. | จะว่าผมบ้าก็ไม่ว่านะ แต่ที่คุณมายุ่มย่ามชีวิตส่วนตัวผม อาจเป็นคดีล่วงละเมิดได้ทางใดก็ทางนึงนะ It's Alive! (2007) |
| การกระทำที่ละเมิดต่อกฎหมาย | [kān kratham thī lamoēt tø kotmāi] (n, exp) EN: violation of the law | การละเมิด | [kān lamoēt] (n, exp) EN: disobedience ; tort ; infraction | การละเมิดประเพณี | [kān lamoēt praphēnī] (n, exp) EN: impoliteness | การละเมิดลิขสิทธิ์ | [kān lamoēt likkhasit] (n, exp) EN: infringement of copyright | การละเมิดสัญญา | [kān lamoēt sanyā] (n, exp) EN: breach of contract | การละเมิดสิทธิ์ | [kān lamoēt sit] (n, exp) EN: piracy | การละเมิดสิทธิ | [kān lamoēt sitthi] (n, exp) EN: legal injury ; infringement | การละเมิดสิทธิบัตร | [kān lamoēt sitthibat] (n, exp) EN: infrigement of patent | การล่วงละเมิด | [kān lūanglamoēt] (n) EN: harassment FR: harcèlement [ m ] | การทำละเมิด | [kān tham lamoēt] (n, exp) EN: civil wrong | ละเมิด | [lamoēt] (v) EN: infringe ; break ; violate ; exceed ; transgress ; breach FR: enfreindre ; violer ; transgresser | ละเมิดกฎหมาย | [lamoēt kotmāi] (v, exp) EN: break the law ; violate the law ; be illegal ; be unlawful ; be illicit FR: violer la loi ; être illégal ; être illicite | ล่วงละเมิด | [lūanglamoēt] (v) EN: violate ; infringe ; encroach |
| break | (vt) ละเมิด, See also: ฝ่า, ฝ่าฝืน, ขัดขืน, ล่วงละเมิด, Syn. disobey | encroach | (vt) ละเมิดสิทธิ, See also: บุกรุก, ล่วงล้ำ, Syn. intrude, invade, trespass | encroachment | (n) การบุกรุก, See also: การละลาบละล้วง, การละเมิดสิทธิ, การรุกล้ำ, Syn. intrusion, trespass, violation | infringe on | (phrv) ฝ่าฝืน, See also: ล่วงละเมิด, ละเมิด, Syn. encroach on, impinge on, trench on | infringe upon | (phrv) ฝ่าฝืน, See also: ล่วงละเมิด, ละเมิด, Syn. encroach on, impinge on, trench on | infract | (vt) กระทำผิดกฎหมาย, See also: ละเมิด, ฝ่าฝืน | infringe | (vt) ฝ่าฝืน, See also: ละเมิด, Syn. disobey, transgress, violate, trespass | infringement | (n) การฝ่าฝืน, See also: การละเมิด, Syn. disobedience, encroachment, violation | interlope | (vi) บุกรุก, See also: ล่วงละเมิด, ล่วงล้ำ, รุกล้ำ, เข้าไปโดยไม่ได้รับอนุญาต, Syn. intrude | inviolable | (adj) ซึ่งไม่อาจรุกล้ำได้ (เขตแดน), See also: ซึ่งไม่สามารถล่วงละเมิดได้ | offend against | (phrv) ละเมิด (กฎหมาย, ประเพณี ฯลฯ) | pass | (n) การล่วงเกิน (ทางเพศ), See also: การฉวยโอกาส, การล่วงละเมิด | piracy | (n) การละเมิดลิขสิทธิ์, Syn. cheating, copying | pirate | (vt) ละเมิดลิขสิทธิ์ | pirate | (n) ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์, See also: ผู้ลอกเลียนผลงานของผู้อื่น | poach | (vi) ล่วงล้ำ, See also: ิละเมิด | renege | (vi) ผิดสัญญา, See also: ละเมิดสัญญา, Syn. default, break a promise | tort | (n) การละเมิด, See also: การล่วงละเมิดสิทธิของคนอื่น | tort-feasor | (n) ผู้ล่วงละเมิด, See also: ผู้ละเมิด | tortious | (adj) เกี่ยวกับการล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น, See also: เกี่ยวกับการละเมิด | trespass | (vi) ละเมิดกฎหมาย, See also: ทำผิดกฎหมาย, บุกรุก | tear up | (phrv) ละเมิดสัญญา, Syn. rip up | violability | (n) การฝ่าฝืน, See also: การละเมิด | violable | (adj) ฝ่าฝืนได้, See also: ละเมิดได้ | violableness | (n) การฝ่าฝืน, See also: การละเมิด | violably | (adv) อย่างฝ่าฝืน, See also: อย่างละเมิด | violate | (vt) ฝ่าฝืน, See also: ขัดขืน, ละเมิด, ไม่ทำตามกฎ, Syn. outrage, infringe, break, Ant. obey, legitimate | violation | (n) การฝ่าฝืน, See also: การละเมิด, Syn. infringement, infraction, Ant. legitimation | violative | (adj) ซึ่งฝ่าฝืน, See also: ซึ่งละเมิด, ซึ่งกระทำล่วงละเมิด | violator | (n) ผู้ฝ่าฝืน, See also: ผู้ละเมิดกฎ, Syn. attacker, lawbreaker | violently | (adv) อย่างรุนแรง, See also: อย่างฝ่าฝืน, อย่างล่วงละเมิด, Syn. forcibly, forcefully, combatively | wrongdoer | (n) ผู้กระทำผิดศีลธรรม, See also: ผู้ละเมิดกฎหมาย, Syn. evildoer, malefactor, sinner |
| aggression | (อะเกรส' เชิน) n. การรุกราน, การบุกรุก, การล่วงละเมิด, Syn. attack | cow | (คาว) n. วัวตัวเมีย, แม่วัว, สัตว์ตัวเมียจำพวก Bos, สัตว์ตัวเมียขนาดใหญ่ (เช่นช้าง ปลาวาฬ แรด แม่น้ำ) , หญิงอ้วนพุงพลุ้ย -Phr. (a sacred cow วัวในอินเดีย (ถือเป็นสัตว์ที่ศักดิ์สิทธิ์) , บุคคลที่ศักดิ์สิทธิ์ที่หาอาจล่วงละเมิดได้.) -Phr. (till the cows come home นาน | encroach | (เอนโครช') vt. ล่วงล้ำ, บุกรุก, ล่วงละเมิด, กัดกร่อน, See also: encroachment n. ดูencroach encroachr n. ดูencroach, Syn. intrude | exceed | (เอคซฺซีด') v. เกินกว่า, มากกว่า, เหนือกว่า, ดีกว่า, ละเมิด, ออกนอกลู่นอกทาง, See also: exceedable adj. ดูexceed exceeder n. ดูexceed, Syn. outdo | infraction | (อินแฟรค'เชิน) n. การทำให้แตก, การละเมิด, การฝ่าฝืน, Syn. violation | infringe | (อินฟรินจฺ') vt. ละเมิด, ฝ่าฝืน, ล่วงล้ำ vi. ล่วงล้ำ., See also: infringer n., Syn. violate | infringement | (อินฟริน'จะเมินทฺ) n. การฝ่าฝืน, การละเมิด, การล่วงล้ำ (breach, violation) | injury | (อิน'จะรี) n. อันตราย, ภัย, ความเสียหาย, ความอยุติธรรมที่ได้รับ, การล่วงละเมิด, การก้าวร้าว, Syn. harm, hurt | injustice | (อินจัส'ทิส) n. ความอยุติธรรม, ความไม่เป็นธรรม, การล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น, การกระทำที่ไม่ยุติธรรม, ความผิด, Syn. grievance | inviolable | (อินไว'อะละเบิล) adj. ล่วงละเมิดไม่ได้, ฝ่าฝืนไม่ได้, ขัดขืนไม่ได้, ทำลายไม่ได้, ทำให้เสียหายไม่ได้., See also: inviolableness n. inviolably adv., Syn. intact, unbroken | inviolate | (อินไว'อะลิท, -ทิด) adj. ไม่ถูกล่วงละเมิด, ไม่เสียหาย, ไม่ถูกทำลาย, ไม่เสื่อม., See also: inviolacy, inviolateness n. | inviolated | (อินไว'อะลิท, -ทิด) adj. ไม่ถูกล่วงละเมิด, ไม่เสียหาย, ไม่ถูกทำลาย, ไม่เสื่อม., See also: inviolacy, inviolateness n. | offence | (อะเฟนซฺ') n. การกระทำผิด, การกระทำผิดกฎหมาย, การรุก, การโจมตี, การทำให้ขุ่นเคือง, การก้าวร้าว, สิ่งที่ทำให้ขุ่นเคือง, สิ่งที่ละเมิด, ความรู้สึกขุ่นเคือง, ฝ่ายรุก, ฝ่ายโจมตี | offend | (อะเฟนดฺ') n. กระทำผิด, ละเมิด, รุกราน, ทำให้ขุ่นเคือง, ทำให้ไม่พอใจ., See also: offendable adj. offendible adj. offender n., Syn. fault, vice, attack | offense | (อะเฟนซฺ') n. การกระทำผิด, การกระทำผิดกฎหมาย, การรุก, การโจมตี, การทำให้ขุ่นเคือง, การก้าวร้าว, สิ่งที่ทำให้ขุ่นเคือง, สิ่งที่ละเมิด, ความรู้สึกขุ่นเคือง, ฝ่ายรุก, ฝ่ายโจมตี | offensive | (อะเฟน'ซิฟว) adj. ซึ่งทำให้ไม่พอใจ, ซึ่งทำให้ขุ่นเคือง, ก้าวร้าว, ไม่พอใจ, ล่วงละเมิด, น่ารังเกียจ, เกี่ยวกับการละเมิด, เกี่ยวกับการละเมิด, เกี่ยวกับการกระทำผิด., See also: offensiveness n. | piracy | (ไพ'ระซี) n. การกระทำที่เป็นโจรสลัด, การปล้นความคิด, การละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรของคนอื่น | pirate | (ไพ'เรท) n. โจรสลัด, เรือโจรสลัด, ผู้ปล้นสะดม, ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรของผู้อื่น. -vt., vi. ปล้นสะดม, กระทำพฤติกรรมที่เป็นโจรสลัด, ยักยอก, ละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรของผู้อื่น, พิมพ์บทประพันธ์ของคนอื่น, See also: piratical, piratic adj. pirati | prejudice | (เพรจ'จะดิส) n. อคติ, ความรู้สึกไม่ดีที่มีอยู่ก่อน, ความรู้สึกที่ไม่มีเหตุผล, ความเสียหาย, ข้อเสียเปรียบ. vt. ทำให้มีอคติ, ทำให้เสียหาย, ละเมิด, เป็นผลร้าย., See also: prejudicedly adv., Syn. bias, partiality | sacred | (เซ'คริด) adj. ศักดิ์สิทธิ์, เกี่ยวกับการบูชาในทางศาสนา, เกี่ยวกับศาสนา, เป็นที่สักการบูชา, ล่วงละเมิดไม่ได้, ล่วงเกินไม่ได้, See also: sacredness n., Syn. hallow | sacrosanct | (แซค'โรแซงทฺ) adj. ศักดิ์สิทธิ์, ล่วงเกินไม่ได้, ล่วงละเมิดไม่ได้., See also: sacrosanctity n. sacrosanctness n. | sin | (ซิน) n. บาป, อกุศล, ความชั่ว, ความชั่วร้าย vi. กระทำบาป, กระทำความชั่ว, ละเมิดต่อหลักการ. vt. กระทำผิด., See also: sinningly adv., Syn. trespass, wrongdoing, wickedness, err | tort | (ทอร์ท) n. การละเมิด, การละเมิดสิทธิของคนอื่น } | touch | (ทัชฺ) vt., vi., n. (การ) สัมผัส, แตะ, ต้อง, แตะต้อง, จับ, ถูก, ถู, ใช้, บริโภค, เกี่ยวข้อง, จัดการ, มีผล, บรรลุ, ถึง, ประทับใจ, ละเมิด, ล่วงเกิน, ทำให้เกิดเสียงเบา ๆ , ขอ, ขอยืม, -Phr. (touch down (เครื่องบิน) ลงแตะพื้นดิน) -Phr. (touch off ทำให้ติดไฟ, ทำให้ระเบิด) | transgress | (เทรนซฺเกรส') vi., vt. ละเมิด, ฝ่าฝืน, กระทำผิด, รุกล้ำ, See also: transgression n. transgressive adj. transgressor n., Syn. sin, err | trespass | (เทรส'เพิส) vi., n. (การ) บุกรุก, รุกล้ำ, ล่วงล่ำ, ละเมิด, ล่วงเกิน, See also: trespasser n., Syn. encroach, misbehave, obtrude | violable | (ไว'อะละเบิล) adj. ฝ่าฝืนได้, ละเมิดได้, See also: violability n. violably adv. | violate | (ไว'อะเลท) vt. ฝ่าฝืน, ละเมิด, รบกวน, ทำลาย, ประทุษร้าย, ข่มขืน (โดยเฉพาะกระทำชำเรา) , ทำให้เสื่อมเสีย., See also: violator n. violater n., Syn. shirk, break, profane, intefere | violation | (ไวอะเล'เชิน) n. การฝ่าฝืน, การละเมิด, การรบกวน, การทำลาย, การประทุษร้าย, การข่มขืน, การกระทำชำเรา, การทำให้เสื่อมเสีย., See also: violative adj. -S .infringement | violence | (ไว'อะเลินซฺ) n. ความรุนแรง, ความดุเดือด, การใช้กำลัง, ความพลการ, การทำลาย, การล่วงละเมิด, การสบประมาท, การทำให้บาดเจ็บ | violent | (ไว'อะเลินทฺ) adj. รุนแรง, ดุเดือด, ใช้กำลัง, พลการ, ทำลาย, ล่วงละเมิด, สบประมาท, ซึ่งทำให้บาดเจ็บ., See also: violently adv. | wrong | (รอง) adj., adv., n. (สิ่งที่) ผิด, ผิดพลาด, ไม่ถูกต้อง, ไม่เป็นความจริง, ไม่เหมาะสม, ไม่ปกติ, ประหลาด, ชอบกล, พิกล, ไม่สมควร, อยุติธรรม, ผิดศีลธรรม, เสีย, ไม่ยุติธรรม vt. กระทำผิด ใส่ร้าย ประทุษร้าย ละเมิด, See also: wronger n. wrongly adv. wrongness n. | wrongdoer | (รอง'ดูเออะ) n. ผู้กระทำผิด, ผู้ละเมิดกฎหมาย, Syn. sinner, miscreant |
| aggression | (n) การรุกราน, การบุกรุก, การก้าวร้าว, การล่วงละเมิด | aggressive | (adj) รุกราน, ล่วงละเมิด, ก้าวร้าว, แข็งขัน | contravention | (n) การละเมิด, การฝ่าฝืน, การต่อต้าน | exceed | (vt) มากกว่า, ทำเกิน, เกินกว่า, เหนือกว่า, ดีกว่า, ละเมิด | infraction | (n) การละเมิด, การฝ่าฝืน | infrangible | (adj) ไม่แตก้, ฝ่าฝืนไม่ได้, ละเมิดไม่ได้ | infringe | (vt) ฝ่าฝืน, ทำผิด, ละเมิด, ล่วงล้ำ | infringement | (n) การฝ่าฝืน, การละเมิดการ, ล่วงล้ำ, การทำผิด | injustice | (n) ความไม่เป็นธรรม, ความผิด, การล่วงละเมิด | lapse | (n) การหมดอายุ, การพลั้งพลาด, การถลำตัว, การละเมิด | offence | (n) การรุกราน, การละเมิด, การกระทำผิด | offend | (vt) ทำให้ขุ่นเคือง, ทำให้ไม่พอใจ, รุกราน, ละเมิด, ทำผิด | offender | (n) ผู้ละเมิด, ผู้รุกราน, ผู้กระทำผิด | offensive | (n) การรุกราน, การบุกรุก, การล่วงละเมิด | piracy | (n) การปล้นสะดมทางทะเล, การโจรกรรม, การละเมิดลิขสิทธิ์ | pirate | (n) โจรสลัด, ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ | piratical | (adj) ที่ลักลอบ, เถื่อนเป็นโจรสลัด, ที่ล่วงละเมิด | sin | (vi) ประพฤติชั่ว, ทำบาป, ประทุษร้าย, นอกใจ, ละเมิด | transgress | (vt) ละเมิด, ฝ่าฝืน, ล่วงล้ำ, กระทำผิด, รุกล้ำ | transgression | (n) การละเมิด, การฝ่าฝืน, การล่วงล้ำ | transgressor | (n) ผู้ละเมิด, ผู้รุกล้ำ, ผู้ฝ่าฝืน | violate | (vt) หักล้าง, ละเมิด, ประทุษร้าย, ข่มขืน | violation | (n) การใช้อำนาจ, การประทุษร้าย, การล่วงละเมิด | violence | (n) ความรุนแรง, การล่วงละเมิด, การหักโหม | violent | (adj) รุนแรง, หักโหม, ใช้กำลัง, ล่วงละเมิด | wrong | (vt) กระทำผิดต่อ, ทำผิดพลาด, ละเมิด, ใส่ร้าย, ประทุษร้าย |
| | 破る | [やぶる, yaburu] (n) การละเมิด(สัญญา) |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |