ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ลภ, -ลภ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ กุศล | (n, adj, adv) การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา |
|
| ธนกาม | (n) น. ผู้ใคร่เงิน, ผู้ตระหนี่, ผู้มีโลภ. | พัลลภัช | (n) ที่เกิดแห่งความรัก |
| โลภ | (n) greed, See also: avarice, cupidity, Syn. โลภโมโทสัน, ความต้องการ, ความอยาก | พัลลภ | (n) confidant, See also: preferred person, preferred friend, personal attendant, henchmen, Syn. คนสนิท, คนโปรด, Thai Definition: บุคคลที่อยู่ใกล้ชิดเป็นที่ชอบพอ | จุลภาค | (n) comma, Syn. จุดลูกน้ำ, Thai Definition: เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ , | จุลภาค | (n) comma, See also: the mark (,), Syn. จุดลูกน้ำ, Thai Definition: เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ , | ดุลภาค | (n) equity, See also: equality, state of balance, equilibrium, Syn. ความเท่าเทียม, ความเสมอกัน, ความสมดุล, ความเสมอภาค | มลภาวะ | (n) contamination, See also: pollution, Syn. มลพิษ, Example: การคมนาคมขนส่งทำให้เกิดมลภาวะขึ้น แม้จะมีการใช้อุปกรณ์ในการกรองฝุ่นและไอเสียก็ตาม, Thai Definition: ภาวะอันเกิดจากความมัวหมองหรือความสกปรก, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | โลภมาก | (adj) greedy, See also: avaricious, covetous, Example: สำหรับคนที่โลภมาก เงินเท่านี้ถือว่านิดหน่อยเท่านั้น, Thai Definition: ที่อยากได้ไม่รู้จักพอ | โลภมาก | (v) be greedy, See also: covet, be insatiable, be avaricious, Syn. โลภโมโทสัน, Example: เขายังอดโลภมากไม่ได้ ทั้งๆ ที่รวยล้นฟ้า, Thai Definition: อยากได้ไม่รู้จักพอ | ความโลภ | (n) greed, See also: eagerness, avarice, cupidity, Syn. ความละโมบ, ความอยากได้, ความมักมาก, Ant. ความมักน้อย, Example: ความโลภจะว่าเป็นความชั่วของมนุษย์ก็ไม่ถนัดนัก ด้วยว่ามันแฝงอยู่ในมนุษย์ทุกรูป | ทุพพลภาพ | (adj) disabled, See also: crippled, deformed, maimed, Syn. พิการ, เป็นอัมพาต, เป็นง่อย, Thai Definition: หย่อนกำลังความสามารถที่จะประกอบการงานตามปกติได้, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ทะเลภายใน | (n) inland sea, See also: lake, Syn. ทะเลใน, ทะเลหน้าใน, Example: แผนภูมินี้แสดงรายละเอียดของทะเลภายใน, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: ทะเลประเภทที่อยู่ห่างจากฝั่งทะเลเข้ามาภายในพื้นแผ่นดิน และเกือบไม่มีทางติดต่อกับทะเลหรือมหาสมุทรภายนอก | ตัวแปลภาษา | (n) compiler, See also: collector, editor, translator, interpreter, Example: ตัวแปลภาษาจะช่วยให้ความสะดวกรวดเร็วในการแปลภาษาได้มากขึ้น | ตัวแปลภาษา | (n) compiler, Example: ตัวแปลภาษาจะช่วยให้ความสะดวกรวดเร็วในการแปลภาษาได้มากขึ้น | ตัวแปลภาษา | (n) compiler, Example: ตัวแปลภาษาจะช่วยให้ความสะดวกรวดเร็วในการแปลภาษาได้มากขึ้น | โลภโมโทสัน | (adj) greedy, See also: avaricious, covetous, Syn. โลภมาก, Example: ผู้ที่มีสันดานเป็นคนโลภโมโทสัน จะหาความสุขในชีวิตไม่ได้เลย | โลภโมโทสัน | (v) be greedy, See also: be avaricious, be covetous, covet, Syn. โลภมาก, Example: เขาอาจจะไม่โลภโมโทสันเท่ากับพี่ชายของเขาก็ได้, Thai Definition: อยากได้มากๆ | บุคคลภายนอก | (n) outsider, See also: stranger, Example: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขเปิดรับสมัครบุคคลภายนอก เพื่อเข้าศึกษาในโครงการร่วมผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท, Count Unit: คน, กลุ่ม, Thai Definition: ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการนั้น | มูลภัณฑ์กันชน | (n) buffer stock, See also: buffer price, Thai Definition: ของที่ซื้อสะสมไว้เมื่อมีราคาต่ำ และนำออกขายเมื่อของนั้นมีราคาสูงเกินควร เพื่อรักษาระดับราคาของนั้นให้มีเสถียรภาพ | เครื่องแปลภาษา | (n) machine translation system | ศาลภาษีอากรกลาง | (n) Central Tax Court, Syn. ศาลภาษีอากร, ศาลภาษีอากรจังหวัด, Count Unit: ศาล, Notes: (กฎหมาย) | เศรษฐศาสตร์จุลภาค | (n) microeconomics, Thai Definition: สาขาเศรษฐศาสตร์ที่ศึกษาถึงรายละเอียดในระบบเศรษฐกิจ | การแปลภาษาด้วยคอมพิวเตอร์ | (n) machine translation, Syn. การแปลภาษาด้วยเครื่อง |
| จุลภาค | น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ , สำหรับคั่นวรรคตอนของข้อความ, จุดลูกนํ้า ก็เรียก | จุลภาค | ภาคเล็ก. | ดลภาค | น. ภาคพื้น, พื้นราบ. | ดุลภาค | (ดุนละ-) น. ภาวะที่เสมอกัน. | ทะเลภายใน | น. ทะเลประเภทที่อยู่เข้ามาภายในพื้นแผ่นดิน และเกือบไม่มีทางติดต่อกับทะเลหรือมหาสมุทรภายนอก, ทะเลใน หรือ ทะเลหน้าใน ก็เรียก. | ทุพพลภาพ | (ทุบพนละพาบ) ว. หย่อนกำลังความสามารถที่จะประกอบการงานตามปรกติได้. | บุคคลภายนอก | น. บุคคลที่มิได้เป็นคู่กรณีหรือคู่สัญญา แต่อาจมีสิทธิเกี่ยวข้อง, บุคคลที่สาม ก็เรียก. | ประคัลภ์ | น. ความกล้า, ความสามารถ, ความคะนอง. | ประคัลภ์ | ว. คล่องแคล่ว, ประเปรียว. | พัลลภ | (พันลบ) น. คนสนิท, คนโปรด. | มูลภัณฑ์กันชน | (มูนละ-) น. ของที่ซื้อสะสมไว้เมื่อมีราคาตํ่า และนำออกขายเมื่อของนั้นมีราคาสูงเกินควร เพื่อรักษาระดับราคาของนั้นให้มีเสถียรภาพ. | โลภ | น. ความอยากได้ไม่รู้จักพอ. | โลภโมโทสัน | ก. อยากได้มาก ๆ เช่น อย่างหนึ่งทุจริตคิดร้ายผัว อีกอย่างมัวโลภโมโทสัน (ขุนช้างขุนแผน). | วัลลภ | (วันลบ) น. คนสนิท, ผู้ชอบพอ, คนโปรด, คนรัก. | ศลภะ | (สะละพะ) น. แมลงมีปีก. | ศาลภาษีอากร | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับภาษีอากร. | กระลูน | น. ความเศร้าโศก. ว. น่ากรุณา, น่าสงสาร, เช่น อ่อนจิตสวามีอันพูนกระลูนนุกูลภรรยายิ่งยอดกว่าอันภิปราย (สรรพสิทธิ์), เขียนเป็น กระลู่น์ ก็มี. | กิเลส, กิเลส- | (-เหฺลด, -เหฺลดสะ-) น. เครื่องทำใจให้เศร้าหมอง ได้แก่ โลภ โกรธ หลง เช่น ยังตัดกิเลสไม่ได้ กิเลสหนา | ค้ำประกัน | น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้คํ้าประกัน ผูกพันตนต่อเจ้าหนี้คนหนึ่ง เพื่อชำระหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้นั้น. | เครื่องหมายวรรคตอน | น. เครื่องหมายต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบในการเขียนข้อความ เช่น จุลภาค (, ) มหัพภาค (.) ปรัศนี (?). | จัก ๒ | คำช่วยกริยาบอกกาลภายหน้า แสดงเจตจำนง เช่น จักกิน จักนอน. | จุดลูกน้ำ | น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ , สำหรับคั่นวรรคตอนของข้อความ, จุลภาค ก็เรียก. | ชะรอย | ว. เห็นจะ, เห็นทีจะ, ท่าจะ, บางที, ในบทกลอนใช้ว่า รอย ก็มี เช่น เจ้าจุ&npsp;ํพลภูมิศร์ รอยไพริศร้ายกำจัดจร (ม. คำหลวง วนประเวศน์). | โดยพยัญชนะ | ว. ตามตัวหนังสือ, ตามศัพท์, เช่น แปลภาษาบาลีโดยพยัญชนะ. | โดยอรรถ | ว. ตามเนื้อความ เช่น แปลภาษาบาลีโดยอรรถ. | ตก ๒ | เอาเงินหรือสิ่งของให้ไปก่อน แล้วคิดเอาเป็นพืชผลภายหลังตามแต่จะตกลงกัน. | ทะเลใน | น. ทะเลภายใน, ทะเลหน้าใน ก็เรียก. | ทะเลหน้าใน | น. ทะเลภายใน, ทะเลใน ก็เรียก. | ทุพภิกขันดร, ทุพภิกขันดรกัป | (ทุบพิกขันดอน, ทุบพิกขันดะระกับ) น. ระยะเวลาที่กำหนดไว้ว่าเป็นตอนที่ขาดแคลนอาหาร เกิดขึ้นเมื่อมนุษย์มีโลภะหนา. (ป.). (ดู อันตรกัป ประกอบ). | บุคคลที่สาม | น. ในทางแพ่งมีความหมายเหมือนกับบุคคลภายนอก. (ดู บุคคลภายนอก) | ประมวล | น. หนังสือที่รวบรวมสิ่งซึ่งเป็นประเภทเดียวกัน เช่น ประมวลกฎหมาย ประมวลภาพ. | เปลื้องเครื่องสุกำศพ | ก. เปลื้องผ้าขาวที่ห่อศพออกแล้วนำผ้าขาวนั้นและสิ่งปฏิกูลภายในโกศ เช่น กระดาษฟางไปเผาพร้อมบุพโพ แล้วเอาผ้าขาวอีกผืนหนึ่งห่อศพให้ใหม่. | แปลเอาความ | ก. แปลภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่งโดยถือความหมายเป็นสำคัญ. | ภาม | น. เดช เช่น แสดงพาหุพิริยพลภาม (สมุทรโฆษ). | มโนทุจริต | (มะโนทุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชั่วทางใจ มี ๓ อย่าง ได้แก่ ความโลภอยากได้ของของผู้อื่น ๑ ความพยาบาท ๑ ความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม ๑. | มโนสุจริต | (มะโนสุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชอบทางใจ มี ๓ อย่าง ได้แก่ ความไม่โลภอยากได้ของของผู้อื่น ๑ ความไม่พยาบาท ๑ ความเห็นถูกตามทำนองคลองธรรม ๑. | มักมาก | ก. โลภมาก, ปรารถนามาก (ใช้เฉพาะในทางกามคุณ). | ร้องสอด | ก. การที่บุคคลภายนอกซึ่งมิใช่คู่ความยื่นคำร้องต่อศาลด้วยความสมัครใจของตนเองขอเข้ามาเป็นคู่ความ หรือบุคคลที่ถูกหมายเรียกให้เข้ามาในคดี. | รอย ๒ | ว. เห็นจะ, ชะรอย, เช่น เจ้าจุํพลภูมิศร์ รอยไพริศร้ายกำจัดจร (ม. คำหลวง วนประเวศน์). | รากเหง้า | น. ต้นเหตุ เช่น โลภ โกรธ หลง เป็นรากเหง้าของความชั่วทั้งปวง | แรง ๒ | น. อิทธิพลภายนอกใด ๆ ที่เปลี่ยนแปลงหรือพยายามทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะอยู่นิ่งหรือสถานะการเคลื่อนที่ของเทหวัตถุด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอในแนวเส้นตรง. | ละโมบ | ก. โลภมาก, มักได้. | ลุทธ์ | ก. โลภ, อยากได้, มักได้. | ลุพธ์ | ก. โลภ, อยากได้, มักได้. | ลูกน้ำ | ชื่อเครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ , สำหรับคั่นวรรคตอนของข้อความ เรียกว่า จุดลูกนํ้า หรือ จุลภาค. | วงเล็บ | น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ ( ) สําหรับใช้กันข้อความที่ขยายหรืออธิบายจากข้อความอื่น และข้อความในระหว่างวงเล็บนั้นจะอ่านหรือเว้นเสียก็ได้ ไม่ทำให้เนื้อความนอกจากนั้นเสียไป เช่น จึงสรุปได้ว่ามนุษย์หรือขันธ์ ๕ นั้น ได้สร้างโลภะ (ความอยากได้) โทสะ (ความโกรธ) และโมหะ (ความหลง) ให้แก่ตัวเองทั้งสิ้น, ใช้กันข้อความซึ่งบอกที่มาของคำหรือข้อความ เช่น สิลา น. หิน, ก้อนหิน. | วีต- | (วีตะ-) ว. ไปแล้ว, หมดแล้ว, ปราศจาก, มักใช้ประกอบหน้าศัพท์อื่น เช่น วีตราคะ ว่า หมดราคะ วีตโลภะ ว่า หมดความโลภ. | เศรษฐกิจพอเพียง | น. ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเป็นแนวทางการดำรงชีวิตและปฏิบัติตนของประชาชนตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ให้ดำเนินไปในทางสายกลาง ไม่ประมาท ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตให้รอดพ้นจากวิกฤติ มีความมั่นคงและยั่งยืนท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ. | เศรษฐศาสตร์ | (เสดถะสาด) น. วิชาว่าด้วยการผลิต การจำหน่ายจ่ายแจก และการบริโภคใช้สอยสิ่งต่าง ๆ ของชุมชน มี ๒ สาขา คือ เศรษฐศาสตร์จุลภาค ได้แก่ เศรษฐศาสตร์ภาคที่ศึกษาปัญหาเศรษฐกิจส่วนเอกชน หรือ ปัญหาการหาตลาดเป็นต้น และ เศรษฐศาสตร์มหัพภาค ได้แก่ เศรษฐศาสตร์ภาคที่ศึกษาปัญหาเศรษฐกิจของประเทศโดยส่วนรวม เช่น ปัญหาเรื่องรายได้ของประชาชาติ การออมทรัพย์ของประชากร ปัญหาการลงทุน. | สัตตาหกรณียะ | (-กะระนียะ, -กอระนียะ) น. กิจที่พึงทำเป็นเหตุให้ภิกษุออกจากวัดไปพักแรมในที่อื่นในระหว่างพรรษาได้ไม่เกิน ๗ วัน เช่นเพื่อไปพยาบาลภิกษุสามเณรหรือบิดามารดาที่ป่วยไข้หรือเพื่อบำรุงศรัทธาของทายก. |
| probability of disability | โอกาสที่จะพิการ, โอกาสที่จะทุพพลภาพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | physical infirmity | ความทุพพลภาพทางร่างกาย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | physical infirmity | กายพิการ, ทุพพลภาพทางร่ายกาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | permanent disability | ความพิการถาวร, ทุพพลภาพถาวร [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | permanent disability | ทุพพลภาพถาวร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | permanent disablement | ทุพพลภาพถาวร [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | party, third | ๑. พรรคที่สาม๒. บุคคลภายนอก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | partial disablement | ทุพพลภาพบางส่วน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | lapilli | มูลภูเขาไฟ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | roentgenographic interpretation | การแปลภาพถ่ายรังสีเอกซ์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | risk of disability | ความเสี่ยงต่อความพิการ, ความเสี่ยงต่อทุพพลภาพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | stock, buffer | มูลภัณฑ์กันชน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | saisie-arrêt (Fr.) | การอายัดทรัพย์ในครอบครองของบุคคลภายนอก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | stranger | บุคคลภายนอก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | stock | หุ้น, สินค้าคงคลัง, มูลภัณฑ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | avidity | ความโลภ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | assemble | แปลภาษาแอสเซมบลี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | assemble | แปลภาษาแอสเซมบลี [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | anomaly | วิกลภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | jus tertii (L.) | สิทธิของบุคคลภายนอก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | buffer stock | มูลภัณฑ์กันชน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | bar of the House | ๑. ที่สำหรับบุคคลภายนอกชี้แจงในสภา๒. เขตที่ประชุมสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | micro census | สำมะโนจุลภาค [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | MAT (machine-aided translation) | เอ็มเอที (การแปลภาษาใช้เครื่องช่วย) [ มีความหมายเหมือนกับ computer-aided translation (CAT) ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | MAT (machine-aided translation) | เอ็มเอที (การแปลภาษาใช้เครื่องช่วย) [ มีความหมายเหมือนกับ CAT (computer-aided translation) ] [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | mental infirmity | ความทุพพลภาพทางจิต [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | machine translation | การแปลภาษาด้วยเครื่อง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | machine-aided translation (MAT) | การแปลภาษาใช้เครื่องช่วย (เอ็มเอที) [ มีความหมายเหมือนกับ computer-aided translation (CAT) ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | machine-aided translation (MAT) | การแปลภาษาใช้เครื่องช่วย (เอ็มเอที) [ มีความหมายเหมือนกับ computer-aided translation (CAT) ] [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | microflora | ๑. พฤกษชาติจุลภาค๒. พรรณจุลินทรีย์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | microlithotype | เนื้อถ่านหินจุลภาค [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] | micro-data | ข้อมูลจุลภาค [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | microsimulation | การจำลองจุลภาค [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | care, critical respiratory | การบริบาลภาวะหายใจวิกฤต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | CAT (computer-aided translation) | ซีเอที (การแปลภาษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) [ มีความหมายเหมือนกับ machine-aided translation (MAT) ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | CAT (computer-aided translation) | ซีเอที (การแปลภาษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) [ มีความหมายเหมือนกับ MAT (machine-aided translation) ] [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | critical respiratory care | การบริบาลภาวะหายใจวิกฤต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | computer-aided translation (CAT) | การแปลภาษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (ซีเอที) [ มีความหมายเหมือนกับ machine-aided translation (MAT) ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | computer-aided translation (CAT) | การแปลภาษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (ซีเอที) [ มีความหมายเหมือนกับ machine-aided translation (MAT) ] [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | disability | ความพิการ, ทุพพลภาพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | disability benefit | ผลประโยชน์ทุพพลภาพ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | disability income | เงินได้ทุพพลภาพ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | disability percentage table | ตารางอัตราทุพพลภาพ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | disability provision | ข้อกำหนดเกี่ยวกับทุพพลภาพ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | disability rate | อัตราความพิการ, อัตราทุพพลภาพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | disability table | ตารางความพิการ, ตารางทุพพลภาพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | disablement benefit | ผลประโยชน์เพื่อทุพพลภาพ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | decrepit | ผู้ชรา, ผู้ทุพพลภาพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | decrepit | ๑. ทุพพลภาพ๒. ชรา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | interested third person | บุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้เสีย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| | บุคคลภายใน | [bukkhon phāinai] (n, exp) EN: insider | บุคคลภายนอก | [bukkhon phāinøk] (n, exp) EN: outsider ; third party ; unauthorized person | บุคคลภายนอกห้ามเข้า | [bukkhon phāinøk hām khao] (xp) EN: no unauthorized entry | ดุลภาค | [dunlaphāk] (n) EN: equilibrium ; balance ; state of balance ; equality | จุลภาค | [junlaphāk] (n) EN: comma FR: virgule [ f ] | การขาดดุลภาพ | [kān khātdun phāp] (n, exp) EN: disequilibrium | การแปลภาษาด้วยคอมพิวเตอร์ | [kān plaē phāsā dūay khømphiūtoē] (n, exp) EN: machine translation | การประมวลผลภาพ | [kān pramūanphon phāp] (n, exp) EN: image processing FR: traitement de l'image [ m ] | ข้อมูลภายใน | [khømūn phāinai] (n, exp) EN: inside information | เครื่องหมายจุลภาค | [khreūangmāi junlaphāk] (n, exp) EN: « , » ; comma FR: « , » ; virgule [ f ] | ความโลภ | [khwām lōp] (n) EN: greed FR: avidité [ f ] | ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก | [khwām rapphit tø bukkhon phāinøk] (n, exp) EN: third party responsibility | โลภ | [lōp] (n) EN: greed ; avarice FR: avidité [ f ] ; cupidité [ f ] | โลภ | [lōp] (v) EN: covet FR: convoiter | โลภ | [lōp] (adj) EN: greedy ; avaricious ; covetous FR: avide ; cupide | โลภมาก | [lōp māk] (v, exp) EN: be greedy ; covet ; be insatiable ; be avaricious FR: être avide de | โลภมาก | [lōp māk] (adj) EN: greedy ; avaricious ; covetous FR: avide ; cupide | มลภาวะ | [monlaphāwa] (n) EN: contamination ; pollution FR: contamination [ f ] ; pollution [ f ] | มลภาวะ | [monphāwa] (n) EN: pollution ; contamination FR: pollution [ f ] ; contamination [ f ] | ภาษาตระกูลภารตะ-ยุโรป | [phāsā trakūn Phānta-Yurōp] (n, exp) FR: langues indo-européennes [ fpl ] | ศาลภาษีอากร | [sān phāsī-akøn] (n, exp) EN: tax court | ศาลภาษีอากรกลาง | [Sān Phāsī-akøn Klāng] (org) EN: Central Tax Court | สภาพแวดล้อมจุลภาค | [saphāpwaētløm junlaphāk] (n, exp) EN: microenvironment ; micro environment | เศรษฐศาสตร์จุลภาค | [sētthasāt junlaphāk] (n, exp) EN: microeconomics | ซอฟต์แวร์ตัวแปลภาษา | [søpwaē tūa plaē phāsā] (n, exp) FR: logiciel de compilation [ m ] | ทหารทุพพลภาพ | [thahān thupphonlaphāp] (n, exp) EN: disabled soldiers | ทะเลภายใน | [thalē phāinai] (n, exp) EN: inland sea ; lake FR: mer inérieure [ f ] | ทุพพลภาพ | [thupphonlaphāp] (adj) EN: disabled ; maimed; crippled FR: infirme ; impotent ; estropié | ตระกูลภาษาไท-กะได | [trakūn phāsā Thai-Kadai] (n, exp) EN: Tai-Kadai Language Family | ตัวแปลภาษา | [tūa plaē phāsā] (n, exp) EN: compiler |
| big data | (n) ข้อมูลขนาดใหญ่, ข้อมูลหลากหลายปริมาณมหาศาลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลดัชนีการค้นคืนของเว็บ ข้อมูลการสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ ข้อมูลในเครือข่ายสังคม ข้อมูลการพยากรณ์อากาศ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | artificial intelligence (AI) | (n) ปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ), สาขาหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเน้นเรื่องที่จะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ใกล้เคียงมนุษย์มากขึ้น แบ่งย่อยออกเป็นสาขาต่าง ๆ เช่น การแปลภาษาด้วยเครื่อง ระบบผู้เชี่ยวชาญ วิทยาการหุ่นยนต์ การรู้จำแบบ การรับรู้เยี่ยงมนุษย์ (human perception) ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
| acquisitive | (adj) โลภ, See also: อยากได้อย่างมาก, ละโมบ, โลภมาก, มักได้, Syn. greedy, grasping | avarice | (n) ความโลภ, See also: ความเห็นแก่ได้, ความละโมบ, Syn. cupidity | avaricious | (adj) โลภ, See also: เห็นแก่ได้, ละโมบ, Syn. greedy, lustful, Ant. generous | cardinal sin | (n) หนึ่งในบาปที่ร้ายแรง 7 ประการในศาสนาคริสต์ (หยิ่งยโส, ราคะ, อิจฉา, โมหะ, โลภ, ตะกละ, เกียจคร้าน) | comma | (n) เครื่องหมายจุลภาค ใช้คั่นประโยคหรือคำ, See also: เครื่องหมายลูกน้ำ | cormorant | (n) คนโลภ | cupidity | (n) ความโลภ, Syn. greed, avidity | disabled | (n) คนพิการ, See also: คนทุพพลภาพ | disabled | (adj) พิการ, See also: ทุพพลภาพ, หย่อนความสามารถ, Syn. paralyzed, cripped, Ant. able-bodied | glutton | (n) คนตะกละ, See also: คนโลภ, Syn. gourmand, epicure | grasping | (adj) โลภ, See also: ซึ่งละโมบ, งก, Syn. avaricious, greedy | graspingly | (adv) โลภ, See also: ละโมบ | greed | (n) ความโลภ, See also: ความละโมบ, Syn. hunger, appetite, Ant. satiety, fulness | hog | (n) คนที่เห็นแก่ตัว, See also: คนที่ละโมบโลภมาก | inland sea | (n) ทะเลภายใน, See also: ทะเลสาบ, Syn. lake | invalid | (adj) ที่ทุพพลภาพ, See also: ที่เจ็บป่วย, ไม่แข็งแรง, Syn. disabled, infirm, sick, Ant. robust, healthy, valid | Iroquoian | (n) ตระกูลภาษาของเผ่าอินเดียนแดงในอเมริกาเหนือ | machine translation | (n) การแปลภาษาด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ | microcosmic | (adj) เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์จุลภาค | microcosmically | (adv) ทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค | microeconomics | (n) เศรษฐศาสตร์จุลภาค | miser | (n) คนตระหนี่, See also: คนขี้เหนียว, คนโลภ, Syn. churl, niggard, Ant. benefactor | money-grubbing | (int) ความละโมบ, See also: ความโลภ, Syn. money-grabbing | Oscar | (n) รางวัลภาพยนตร์ออสการ์ | outsider | (n) บุคคลภายนอก, See also: คนนอก, คนภายนอก, คนที่ไม่ใช่สมาชิก, Syn. newcomer, intruder | pollution | (n) ภาวะมลพิษ, See also: สภาวะมลพิษ, มลภาวะเป็นพิษ, สภาพเป็นพิษ, ความสกปรก | rapacious | (adj) โลภ, See also: ตะกละ, ละโมบ, Syn. avaricious, greedy | rapaciousness | (n) ความโลภ | rapacity | (n) ความโลภ, Syn. avarice, covetousness | translator | (n) โปรแกรมแปลภาษา | voraciousness | (n) ความโลภ, Syn. greediness | voracity | (n) ความโลภ, ความตะกละ, Syn. greediness | Vulgate | (n) คัมภีร์ไบเบิลภาษาละตินในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก |
| aftereffect | (อาฟ' เทอะอิเฟคท'ฺ, แอฟ-') n. ผลหลังจากการกระตุ้น, ผลภายหลัง, Syn. side effect | ansi c | (แอนซี ซี) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี (C language) ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ บริษัทที่ผลิตตัวแปลภาษาซี (C compiler) ก็ พยายามที่จะทำทุกอย่างตามมาตรฐานนี้ แต่ก็ได้เพิ่มคุณสมบัติต่าง ๆ เข้าไป เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไปอีก จนบางครั้งเหมือนกับลืมจุดประสงค์ดั้งเดิมไปเลยดู ANSI ประกอบ | arnica | (อาร์'นิคะ) n. ต้นดอกยานภูเขาทอง, ทิงคเจอร์ผสมดอกยานภู่เขาทอง (ใช้ทาบาดแผลภายนอก) (genus Arnica) | assembler | แอสเซมเบลอร์ตัวแปลภาษาแอสเซมบลีหมายถึง โปรแกรมที่ใช้เพื่อทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์อ่านแล้วเข้าใจ และปฏิบัติตามคำสั่งได้ ดู assembly language | avarice | (แอฟ'วะริส) n. ความโลภ, Syn. greed | avaricious | (แอฟวะริช'เชิส) adj. โลภ. avariciousness n., Syn. parsimonious, miserly, Ant. generous, liberal | cat | 1. (แคท) n. แมว, สัตว์ในตระกูลแมว, หญิงที่มีใจอำมหิต, บุคคล 2. (ซีเอที) ย่อมาจาก computer-aided translation แปลว่า การแปลภาษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วย หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ รวมทั้งบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ (บางตำราว่า CAT ย่อมาจาก computer aided training แปลว่า การอบรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) | computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล | coprocessor | ตัวประมวล (ผล) ร่วมหมายถึง ตัวประมวลผลตัวหนึ่ง ที่แยกออกมาเพื่อเอาไว้ใช้ทำงานในส่วนที่เกินความสามารถของตัวประมวลผลหลัก เพื่อที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วขึ้น เช่น ตัวประมวลภาพจะทำหน้าที่เฉพาะในเรื่องการแสดงภาพ ตัวประมวลผลคณิตก็จะทำหน้าที่เฉพาะด้านการคำนวณ | covet | (คัฟ'เวท) { coveted, coveting, covets } vt. โลภ, ปรารถนา (ทรัพย์สมบัติของบุคคลอื่น) อย่างไม่เหมาะสม, อยากได้มาก vi. ปรารถนา (อย่างไม่เหมาะสม), See also: coveter n. ดูcovet, Syn. desire, lust, Ant. relinquish | cripple | (คริพ'เพิล) { crippled, crippling, cripples } n. คนขาเป๋, คนง่อย, คนพิการ, คนหรือสัตว์ที่ทุพพลภาพ, พื้นที่ลุ่มเป็นหนองน้ำและมีต้นไม้ขึ้นเต็ม vt. ทำให้ง่อย, ทำให้ทุพพลภาพ vi. เดินขาเป๋., See also: crippledom n. ดูcripple cripplehood n. ดูcripple คำที | cupidity | (คิวพิด'ดิที) n. ความอยากได้, ความโลภ, Syn. avarice, Ant. generosity | edacious | adj. ตะกละ, ละโมบ, โลภ, กิน, อยาก | end of file | สิ้นสุดแฟ้มใช้ตัวย่อว่า EOF เป็นสัญลักษณ์พิเศษ ที่จะบอกให้รู้ว่า ถึงจุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูลแล้ว สำหรับแฟ้มข้อมูลภายใต้โปรแกรมระบบดอส การกดแป้น CTRL+Z จะทำให้ได้สัญลักษณ์ที่โปรแกรมจะรู้ว่าเป็น "จุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูล" แล้ว หากไม่มีสัญลักษณ์นี้ โปรแกรมจะไม่ทราบว่าข้อมูลที่ต้องการ สิ้นสุดตรงไหนมีความหมายเหมือน end of job | eof | (อีโอเอฟ) ย่อมาจาก end of file (แปลว่าสิ้นสุดแฟ้ม) เป็นสัญลักษณ์พิเศษที่จะบอกให้รู้ว่า ถึงจุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูลแล้ว สำหรับแฟ้มข้อมูลภายใต้โปรแกรมระบบดอส การกดแป้น CTRL+Z จะทำให้ได้สัญลักษณ์ที่โปรแกรมจะรู้ว่าเป็น "จุดสิ้นสุดของแฟ้มข้อมูล" แล้ว หากไม่มีสัญลักษณ์นี้ โปรแกรมจะไม่ทราบว่าข้อมูลที่ต้องการ สิ้นสุดตรงไหน | error code | รหัสระบุความผิดพลาดหมายถึง รหัสที่มีกำหนดไว้ เพื่อบ่งบอกข้อผิดพลาดต่าง ๆ ว่าเป็นข้อผิดพลาดจากสาเหตุใด เช่น ศัพท์ที่ใช้ในชุดคำสั่งภาษานั้น ๆ ตัวแปลภาษาไม่รู้จัก (bad command) หรือไวยากรณ์ผิด (syntax error) เป็นต้น | glutton | (กลัท'เทิน) n. คนที่กินมากเกินไป, คนตะกละ, คนโลภ, Syn. gourmand | grasping | (กราส'พิง) adj. โลภ, ตะกละ | greed | (กรีด) n. ความตะกละ, ความโลภ, ความอยากได้, Syn. avidity, Ant. generosity | greedy | (กรีด'ดี) adj. ตะกละ, ละโมบ, โลภ, อยากได้., See also: greedily adv. greediness n., Syn. covetous | hebraic | (ฮิเบร'อิค) adj. เกี่ยวกับชาวอิสราเอลภาษาหรือขนบธรรมเนียมของเขา. -Hebraism n. -Hebraist n. ผู้เชี่ยวชาญภาษาอิสราเอล | image processing | การประมวลผลภาพเป็นเทคนิคในการประมวลผลที่มีข้อมูลเป็นภาพ คอมพิวเตอร์จะอ่านภาพที่ถูกส่งเข้าไป แล้วแปลงเป็นตัวเลข เราสามารถดัดแปลง แก้ไข ปรับขยาย หมุน ฯ เพื่อการวิเคราะห์บางอย่างได้ ปัจจุบัน ถือเป็นสาขาหนึ่งของคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาไปไกลมากจนเป็นที่ยอมรับ และมีผู้สนใจมาก การมีภาพประกอบในเอกสารต่าง ๆ หรือในการแสดงผลงาน จะช่วยทำให้งานนั้นน่าสนใจขึ้น | interpreted language | ภาษาที่แปลด้วยตัวแปลภาษาหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่คอมพิวเตอร์จะอ่านคำสั่งทีละคำสั่ง จัดการแปลให้แล้วปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ทันที ก่อนที่จะไปอ่านคำสั่งใหม่ เช่น ภาษา BASIC, LISP, PROLOG และ LOGO เป็นต้น การใช้ภาษาประเภทนี้ ที่ใช้จะรู้สึกทันใจกว่า เพราะรายงานผลได้ทันที ถ้ามีที่ผิด ก็จะได้แก้ไขได้เลย ภาษาเหล่านี้เป็นภาษาที่ใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่า Interpreter เป็นตัวแปล | interpreter | ตัวแปลภาษาเป็นโปรแกรมตัวแปลที่อ่านคำสั่งในโปรแกรมทีละคำสั่ง (ไม่รอจนจบโปรแกรมเหมือนตัวแปลอื่น) แปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้วปฏิบัติตามคำสั่งนั้นเลย เช่น ตัวแปลที่ใช้แปลโปรแกรมภาษาเบสิก (BASIC) การเรียนวิธีเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ตัวแปลประเภทนี้ ผู้เรียนจะรู้สึกว่าง่ายและทันใจ เพราะพอใส่คำสั่งเข้าไป เครื่องก็จะรายงานได้ทันทีว่า คำสั่งนั้นถูกหรือผิด ถ้าสั่งให้ทำอะไร ก็จะทำให้เลย ข้อเสียของตัวแปลประเภทนี้ ก็คือ คอมพิวเตอร์จะไม่เก็บคำแปลไว้ หากจะต้องย้อนกลับไปทำคำสั่งนั้นอีก ก็จะต้องแปลใหม่อีกทุกครั้ง ดู compiler ประกอบ | invalid | (อิน'วะลิด) n. คนเจ็บ, คนป่วย adj. เจ็บป่วย, ทุพพลภาพ, ใช้การไม่ได้, ไม่มีผลบังคับ, โมฆะ, อ่อนแอ, ไร้กำลัง., See also: invalidness n. vt. ทำให้เป็นโรค, ทำให้ทุพพลภาพ, ทำให้ล้มหมอนนอนเสื่อ | job control program | ชุดคำสั่งควบคุมงานหมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมชุดหนึ่ง ที่มีหน้าที่ควบคุมสายงานในการปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์ เริ่มตั้งแต่อ่านข้อมูลเข้าไปเก็บ กำหนดว่าจะต้องใช้อุปกรณ์หรือชุดคำสั่งใดบ้าง (เช่น ตัวแปลภาษาใด) กำหนดการเริ่มกระทำการ (execute) และการส่งผลที่คำนวณแล้วไปยังเครื่องพิมพ์ ฯมีความหมายเหมือน job control language | lisp | ลิสพ์ย่อมาจาก List Programming เป็นชื่อภาษาคอมพิวเตอร์อีกภาษาหนึ่ง ภาษานี้เกิดขึ้นในราว ๆ ต้น ค.ศ.1960 ที่ MIT เพื่องานวิจัยในด้านปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) โปรแกรมที่ใช้ภาษานี้ก็มีประเภทโปรแกรมประมวลผลภาษาธรรมชาติ (natural language) และการเรียนรู้ของคอมพิวเตอร์ในเรื่องของปัญญาประดิษฐ์ | machine language | ภาษาเครื่องหมายถึง ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำให้เครื่องรับรู้และเข้าใจได้ เขียนโดยใช้รหัสเลขฐานสองเป็นหลัก (ฉะนั้น จะมีแต่เลข 0 กับ 1 เท่านั้น) คำสั่งแต่ละคำสั่งจะหมายถึงการทำงานอย่างหนึ่ง แต่ละโปรแกรมจึงจะยาวค่อนข้างมาก ผู้ที่เริ่มต้นเรียนคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ ไม่ควรเรียนการเขียนโปรแกรมด้วยภาษานี้เลย เพราะอาจจะทำให้หมดกำลังใจไปเลย อาจจะพอเปรียบได้ว่า เลขฐานสองนั้นก็เหมือน ๆ กับตัวโน้ต เพลง (ภาษาดนตรีก็เข้าใจยากไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าภาษาเครื่องนี้สักเท่าใดดอก) อย่างไรก็ตาม ก็ต้องทำความเข้าใจไว้เสมอว่า ไม่ว่าเราจะสั่งให้เครื่องทำงานด้วยโปรแกรมภาษาอะไรก็ตาม ตัวแปลโปรแกรม (compiler) ก็จะต้องทำหน้าที่แปลภาษาที่เราใช้ให้เป็นภาษาเครื่องก่อนเสมอ คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจจนสามารถปฏิบัติตามคำสั่ง (execute) นั้น ๆ ได้ | macintosh | (แมค' คินทอช) n. ชื่อคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่ง แมคอินทอชเป็นเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตระกูลสำคัญตระกูลหนึ่ง ออกแบบสร้างขึ้นโดยบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ นำออกสู่ตลาดครั้งแรกในปี ค.ศ.1984 คอมพิวเตอร์ตระกูลนี้ประกอบด้วยตัวประมวลผลแบบจุลภาค (microprocesssor) ขนาด 32 บิต เป็นเครื่องแรก อีกทั้งได้สร้างตัวประสานกับผู้ใช้ (user interface) ทำให้ผู้ใช้เครื่องรู้สึก สะดวกสบายเป็นอย่างยิ่ง เพราะสามารถเรียนรู้เข้าใจได้ง่ายโดยไม่จำเป็นต้องมีพื้นฐานในวิทยาการคอมพิวเตอร์มากนัก เนื่องจากใช้ภาพเป็นสื่อทำให้เข้าใจสิ่งต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น ต่อมาเครื่องพีซีก็สร้างระบบวินโดว์ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกัน อย่างไรก็ตาม เครื่องยี่ห้อนี้มีส่วนแบ่งการตลาดสูงรองจากเครื่องของบริษัทไอบีเอ็มเท่านั้น | macro assembler | ตัวแปลแมโครหมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมหนึ่งที่ใช้งานในการสร้างโปรแกรมแมโครและมีหน้าที่แปลภาษาที่ใช้ในแมโครให้เป็นภาษาแอสเซมบลี (assembly language) แต่ละข้อคำสั่งในโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีนั้นใช้แทนคำสั่งภาษาเครื่อง (machine language) หลายคำสั่งได้ ฉะนั้นถ้าเขียนแมโครเก็บไว้ เมื่อเรียกมาใช้ก็จะทำให้สะดวก ไม่ต้องพิมพ์คำสั่งยาว ๆ ดู macro ประกอบ | mercenary | (เมอ'ซะเนอรี) adj. ทำงานเพื่อเงินและรางวัลเท่านั้น, รบเพื่อเงินหรือสิ่งตอบแทนเท่านั้น, รับจ้าง, โลภ, เห็นแก่เงิน. n. ทหารรับจ้าง, ผู้รับจ้างหาเงิน, ลูกมือ, ลูกจ้าง, See also: mercenarily adv. mercenariliness n. | micro | ไมโครหมายถึง คำที่ใช้นำหน้าคำอื่น มีค่าเท่ากับ 1 /ล้าน เช่น microsecond หรือ ไมโครวินาที ก็เท่ากับ 1 /ล้านวินาที (10 -6) คำ "micro" นั้นแปลแต่เพียงว่า ขนาดเล็กจิ๋ว เช่น microproces sor ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติว่า ตัวประมวลแบบจุลภาค เมื่อนำมาใช้กับคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า microcomputer ก็หมายถึงคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือที่บางทีเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) หรือพีซี | microeconomics | (ไมโครเอ็คคะนอม'มิคซฺ) n. เศรษฐศาสตร์จุลภาค | microprocessor | (ไมโครโพร'เซสเซอร์) n. , ไมโครโปรเซสเซอร์, ตัวประมวลผลจุลภาค, หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยชิป (chip) ที่มักจะเป็นวงจรเบ็ดเสร็จขนาดใหญ่หรือวีแอลเอสไอ (VLSI) มีหน่วยควบคุม หน่วยคำนวณ และตรรกะที่รวมอยู่ในชิป (chip) อันเดียวนำมาใช้ในไมโครคอมพิวเตอร์ | miser | (ไม'เซอะ) n. คนขี้เหนียว, คนโลภ, คนที่ไม่มีความสุข, Syn. screw | moth-eaten | (มอธ'อีทเทิน) adj. ถูกกินโดยผีเสื้อกลางคืน, เน่าเปื่อย, ล้าสมัย, ชรา, ทุพพลภาพ | multipurpose | (มัลทิเพอ'เพิส) adj. เอนกประสงค์ระบบหลายตัวประมวลหมายถึง การใช้ไมโครโปรเซสเซอร์หรือตัวประมวลแบบจุลภาคหลาย ๆ แบบในเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวกัน บางทีใช้ว่า coprocessor ดู central processing unit ประกอบ | natural language processi | การประมวลผลภาษาธรรมชาติหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำการประมวลผลได้โดยใช้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาธรรมชาติ พูดง่าย ๆ ก็คือ สามารถใช้ภาษาธรรมดา ๆ สั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามได้ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์จะใช้ภาษาเฉพาะที่มีกฎเกณฑ์ ไวยากรณ์ และศัพท์ของตนเอง ที่เรียกว่า ภาษาเชิงมนุษย์ (human oriented language) เช่น ภาษา C ภาษา BASIC ภาษา COBOL ฯ ส่วนภาษาธรรมชาตินั้น หมายถึง ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย แม้ว่าในปัจจุบัน จะมีการ พัฒนาด้านนี้กันไปไกลมาแล้ว แต่ก็สรุปได้ว่า ยังใช้การไม่ได้ดีเท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะภาษานั้นมีความสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก ยากที่จะแปลหรือตีความให้ตาย ตัวได้ | poised | (พอยซดฺ) adj. อยู่ในดุลภาพ, มีสติ, ทรงตัวได้, บินร่อนอยู่ในอากาศ | pollute | (พะลูท') vt. ทำให้สกปรก, See also: polluter n. pollution n. มลภาวะ, การทำให้สกปรก, Syn. defile | prospect | (พรอส'เพคทฺ) n. โอกาส, ความหวัง, ความหวังข้างหน้า, กาลภายหน้า, ผู้ที่อาจเป็นลูกค้าได้, ผู้อาจเป็นผู้สมัคร, ทัศนียภาพ. vt., vi. ค้นหา, สำรวจ, มีอนาคต, มีความหวัง., See also: prospector n., Syn. outlook, expectation | rapacious | (ระเพ'เชิส) adj. โลภ, ละโมบ, ตะกละ, ช่วงชิง, แย่งชิง, ปล้นสะดม, See also: rapacity n. | rapacity | (ระแพส'ซิที) n. ความ (โลภ, ละโมบ, ตะกละ, ช่วงชิง, แย่งชิง, ปล้นสะดม) | risc | ริสก์ <คำอ่าน>ย่อมาจาก reduced instruction set computer (แปลว่า คอมพิวเตอร์ลดทอนคำสั่ง) เป็นคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งซึ่งปฏิบัติการได้เร็วมาก ๆ เพราะกำหนดให้ตัวประมวลผลแบบจุลภาค (microprocessor) แต่ละตัวทำงานจำกัดเฉพาะบางอย่าง | sensitive | (เซน'ซิทิฟว) adj. ไวต่อสิ่งกระตุ้น, รับความรู้สึกได้ง่าย, รู้สึกไว, ประสาทไว, รับอิทธิ-พลภายนอกได้ง่าย, ไวต่อแสง, มีเล่ห์นัยยิ่ง, เกี่ยวกับอวัยวะสัมผัส., See also: sensitiveness n., Syn. susceptible, predisposed, receptive, respons | stoical | (สโท'อิเคิล) adj. ปลงตก, ปราศจากตัณหาราคะ, ปราศจากความโลภหลง., Syn. resigned, impassive, patient | third person | n. บุรุษที่สาม, บุคคลภายนอก | title bar | แถบชื่อ (แฟ้มข้อมูล) หมายถึง แถบยาวที่ส่วนบนของวินโดว์ เป็นที่ใช้บอกชื่อแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในวินโดว์นั้นหรือชื่อของงานที่เราสร้างขึ้น ในกรณีที่ไม่ได้กำหนดชื่อให้ไว้ แถบชื่อเรื่องนั้นจะพิมพ์คำว่า Untitled เอาไว้ให้รู้ว่ายังไม่ได้กำหนดชื่อใด ๆ ให้ และจะต้องตั้งชื่อเมื่อต้องการบันทึกลงในแฟ้มข้อมูลภายหลัง | turbo c | เทอร์โบซี <คำอ่าน>เป็นชื่อตัวแปลภาษาซี (ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม) ที่บริษัทบอร์แลนด์เป็นผู้ผลิตดู C ประกอบ | turbo pascal | เทอร์โบ ปาสกาล <คำอ่าน>เป็นชื่อตัวแปลภาษาปาสกาล (ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม) ที่ที่บริษัทบอร์แลนด์เป็นผู้พัฒนาขึ้นในราว ค.ศ.1984 ได้รับความนิยมมากในปัจจุบันดู Pascal ประกอบ |
| acquisitive | (adj) อยากได้, โลภ, ละโมบ | avarice | (n) ความตระหนี่, ความโลภ, ความงก | avaricious | (adj) ตระหนี่, งก, โลภ | avid | (adj) งก, ละโมบ, โลภ, อยากได้, ต้องการ, มักได้, กระหาย, ปรารถนา | avidity | (n) ความละโมบ, ความโลภ, ความอยาก, ความต้องการ, ความมักได้, ความปรารถนา, ความงก | avidly | (adv) อย่างมักได้, ด้วยความโลภ, ด้วยความละโมบ, ด้วยความงก | chronological | (adj) ตามลำดับเหตุการณ์, กาลภาพ | comma | (n) จุลภาค, เครื่องหมายลูกน้ำ | covet | (vt) โลภ, ปรารถนา, อยากได้ | covetous | (adj) โลภ, ละโมบ, อยากได้, ปรารถนามาก | covetousness | (n) ความละโมบ, ความโลภ, ความอยากได้, ความปรารถนา | cripple | (n) คนง่อย, คนพิการ, คนทุพพลภาพ | cripple | (vt) ทำให้พิการ, ทำให้เป็นง่อย, ทำให้ทุพพลภาพ | cupidity | (n) ความโลภ, ความละโมบ, ความตะกละ, ความอยากได้ | deformity | (n) ความพิการ, ความทุพพลภาพ, รูปร่างไม่สมประกอบ, ความเสียโฉม | futurity | (n) กาลภายหน้า, ภายภาคหน้า, อนาคต, ชนรุ่นหลัง | glutton | (n) คนตะกละ, คนโลภ, คนตะกรุมตะกราม, คนมูมมาม | gluttonous | (adj) ตะกละ, โลภ, ตะกรุมตะกราม, มูมมาม | greed | (n) ความตะกละ, ความละโมบ, ความโลภ, ความอยากได้ | greedily | (adv) อย่างตะกละ, อย่างละโมบ, อย่างโลภโมโทสัน | greediness | (n) ความตะกละ, ความละโมบ, ความโลภ, ความอยากได้ | greedy | (adj) ตะกละ, ละโมบ, โลภ, อยากได้ | harpy | (n) คนโหดร้าย, คนโลภ, คนตะกละ, คนสูบเลือดสูบเนื้อ | hunger | (n) ความหิว, ความอยาก, ความกระหาย, ความตะกละ, ความโลภ | hungrily | (adv) อย่างหิว, อย่างโลภ, อย่างกระหาย, อย่างตะกละ | hungry | (adj) หิว, กระหาย, ตะกละ, โลภ, อยาก, ปรารถนา | incapacitate | (vt) ทำให้ไม่สามารถ, ทำให้ทุพพลภาพ, ทำให้เสียหาย | incapacity | (n) ความไม่สามารถ, ความทุพพลภาพ, ความเสียหาย, การขาดคุณสมบัติ | infirm | (adj) อ่อนแอ, ไม่แข็งแรง, ทุพพลภาพ, ไม่มั่นคง, บกพร่อง | infirmity | (n) ความอ่อนแอ, ความบกพร่อง, ความทุพพลภาพ, ความเจ็บป่วย | invalid | (adj) เจ็บไข้, ไม่สมบูรณ์, ทุพพลภาพ, ไร้กำลัง, อ่อนแอ, ไม่มีค่า | itch | (n) ความคัน, ความกระหาย, โรดหิด, ความโลภ, ความปรารถนา | kite | (n) ว่าว, คนโกง, คนโลภ, คนเจ้าเล่ห์, นักต้มตุ๋น | lickerish | (adj) ตะกละ, อยากได้, ละโมบ, โลภ | mercenary | (adj) เห็นแก่เงิน, โลภ, งก | miser | (n) คนขี้เหนียว, คนงก, คนโลภ, คนตระหนี่ | miserly | (adj) ขี้เหนียว, ขี้ตืด, โลภ, ตระหนี่ | rapacious | (adj) งก, ตะกละ, ละโมบ, โลภ | rapacity | (n) ความงก, ความตะกละ, ความละโมบ, ความโลภ | ravenous | (adj) โลภ, ตะกละ, หิวมาก, อยากมาก | voracious | (adj) กินจุ, ตะกละ, ละโมบ, โลภ, ไม่รู้จักพอ |
| Backdoor account | (n) บัญชีลับหรือประตูหลัง ในภาษาทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง รูรั่วของระบบหรือซอฟแวร์ นักพัฒนาระบบจงใจสร้างทิ้งไว้ เพื่อให้ซอฟแวร์คอยส่งข้อมูลจากอุปกรณ์ที่มันติดตั้งอยู่ กลับไปหาโปรแกรมเมอร์ผู้พัฒนา หรือเป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลภายในได้ | MEMs | (n, uniq) เครื่องกลไฟฟ้าจุลภาค | nlp | (n, modal, verb, adv, slang) การประมวลผลภาษาธรรมชาติ | stock | มูลภัณฑ์ | กุศล | (n, adj) กุศล ควรจะหมายถึง การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจ | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจากมีความแตกต่างด้านสมบัติวัสดุทั้งสองชนิดทำให้เกิดจุดบกพร่องต่างๆทำให้การเชื่อมรอยต่อโลหะทั้งสองได้ค่อนข้างยาก งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัจจัยการเชื่อมที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลความต้านแรงดึงและค่าความแข็งด้วยโปรแกรม ทางสถิติ โดยใช้กระบวนการเชื่อม มิกส์ ลวดเชื่อมสเตนเลสSpeedarc308 Lsi*1.2mm การทดสอบประกอบด้วยโครงสร้างจุลภาค ความแข็ง ความแข็งแรงดึง การดัดโค้ง และการใช้โปรแกรมทางสถิติ กระแสไฟเชื่อม 112A ความเร็วเชื่อ 2 m/s แก๊สปกคลุมแนวเชื่อม Ar 80% + CO2 20 % การทดสอบตามมาตรฐาน ASME BPVC IX ผลการทดสอบค่าความแข็งเฉลี่ย 166.23 HV ความแข็งแรงดึงเฉลี่ย 262.25 MPa การดัดโค้งพบว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นแตกหัก (Broken) ทั้งหมด จึงสรุปได้ว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นไม่สามารถรับแรงดัดโค้งได้ การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางสถิติ เมื่อกำหนดค่า α มีค่าเท่ากับ 0.05 พิจารณาอันตรกิริยาจากค่า P-Value Strength เท่ากับ 0.884 และค่าความแข็ง Hardness เท่ากับ 0.227 การทดลองทั้งหมดมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 95% ทำให้การทดลองครั้งนี้ไม่มีอิทธิพลต่อผลการทดลองอย่างนี้นัยสำคัญ คำสำคัญ: เหล็กคาร์บอน SS400 , เหล็กกล้าไร้สนิม SUS304 , การเชื่อมมิก , โปรแกรมทางสถิติ |
| 音響汚染 | [おんきょうおせい, onkyouosei] (n) มลภาวะทางเสียง |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |