ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: รุกราน, -รุกราน- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ รุกราน | (v) invade, See also: attack, assault, encroach, raid, infringe, Example: การที่อิรักรุกรานคูเวตทำให้แผนการของตะวันตกในตะวันออกกลางล้มลง, Thai Definition: ล่วงล้ำเข้าไปก้าวร้าวระราน | รุกราน | (v) attack, See also: burst into, intrude, assault, Syn. บุกลุก, ล่วงล้ำ, Example: อังกฤษต้องปกป้องจุดนี้ด้วยชีวิต มิเช่นนั้นมหาอำนาจของยุโรปอื่นๆ จะสามารถรุกรานอินเดียอย่างสะดวก, Thai Definition: ล่วงล้ำเข้าไปก้าวร้าวระราน | ผู้รุกราน | (n) invader, See also: attacker, raider, aggressor, Syn. ผู้บุกรุก, Example: มนุษย์เป็นผู้รุกรานที่อยู่ของสัตว์ป่า, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ล่วงล้ำเข้าไปก้าวร้าวระราน | ฝ่ายรุกราน | (n) aggressor, Syn. ฝ่ายบุก, ฝ่ายรุก, Ant. ฝ่ายรับ, Example: ฝ่ายรุกรานไม่ทันตั้งตัวจึงตกเป็นฝ่ายรับอย่างตั้งตัวไม่ติด, Count Unit: ฝ่าย, Thai Definition: ฝ่ายที่เข้าไประรานผู้อื่น |
|
| รุกราน | ก. ล่วงลํ้าเข้าไปก้าวร้าวระราน เช่น ถูกข้าศึกรุกราน. | ปราการ | (ปฺรา-) น. กำแพงสำหรับป้องกันการรุกราน. |
| | Aggression (International law) | การรุกราน (กฎหมายระหว่างประเทศ) [TU Subject Heading] | Biological invasions | การรุกรานทางชีวภาพ [TU Subject Heading] | Eisenhower Doctrine | ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | Organization of American States | คือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต] | Pacific Charter | คือกฎบัตรแปซิฟิค ซึ่งประกาศ ณ กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ในโอกาสที่มีการตกลงกันทำสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia Defense Treaty-SEATO ) ประเทศที่ลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญา คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาสาระสำคัญในสนธิสัญญาดังกล่าว หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า SEATO (ซีโต้) นั้นคือ ทุกประเทศภาคีจะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้พลเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมาตรฐานการครอง ชีพสูงขึ้น มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมีสวัสดิภาพสังคมที่ดี แต่จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคามสนธิสัญญาคือ บรรดาประเทศภาคีตกลงที่จะป้องกันหรือตอบโต้ความพยายามใด ๆ ที่จะล้มล้างเสรีภาพที่มีอยู่ในเขตสนธิสัญญา หรือทำลายอธิปไตยหรือบูรณภาพแห่งเขตแดนของประเทศภาคี พูดอย่างสั้น ๆ ก็คือฝ่ายโลกเสรีอันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ต้องการกีดกันมิให้ประเทศฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไปมีอำนาจครอบงำดินแดนเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างสงครามเย็น (Cold War ) โดยวิธีรุกรานหรือวิธีอื่นใดก็ตาม [การทูต] | Southeast Asia Collective Defense Treaty (Mahila Pact) | สนธิสัญญาซีโต้ สนธิสัญญานี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ประเทศที่ลงนามในสนธิสัญญามีประเทศออสเตรเลีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ประเทศไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาได้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1955ในภาคอารัมภบทของสัญญานี้ บรรดาประเทศสมาชิกต่างแสดงความปรารถนาที่จะประสานความพยายามของตนที่จะ ป้องกันร่วมกัน เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคง โดยเฉพาะข้อ 4 ของสนธิสัญญาเป็นข้อสำคัญที่สุด คือ แต่ละประเทศภาคีคู่สัญญาตกลงเห็นพ้องกันว่า หากดินแดนของประเทศใดถูกรุกรานจาการโจมตีด้วยกำลังอาวุธ ประเทศภาคีทั้งหมดที่เหลือจะถือว่าเป็นอันตรายร่วมกัน และจะปฏิบัติการเพื่อเผชิญหน้ากับอันตรายร่วมกัน หรือถ้าหากพื้นที่ภายในเขตครอบคลุมของสนธิสัญญาถูกคุกคามด้วยประการใด ๆ ประเทศภาคีทั้งหมดจะปรึกษากันในทันที เพื่อตกลงในมาตรการเพื่อการป้องกันร่วมกันสำนักงานใหญ่ขององค์การซีโต้ตั้ง อยู่ในกรุงเทพมหานคร โดยที่สถานการณ์ทางการเมืองของโลกได้เปลี่ยนไปมากทำให้องค์การซีโต้หมดความ จำเป็น และได้ยุบเลิกไปนานแล้ว [การทูต] | Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] | Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] | Cancer, True Preinvasive | มะเร็งชนิดเริ่มรุกรานจริง [การแพทย์] | Invasion | แทรกซึม, การแทรกลง, การรุกราน, ลุกลาม [การแพทย์] |
| - I don't want to offend you. | - ฉันไม่ต้องการที่จะรุกรานคุณ Pulp Fiction (1994) | But now he has the incident he requires to go on a rampage of conquest. | เเต่ตอนนี้ เขามีข้ออ้างที่จะยกทัพไปรุกรานชาวบ้าน Beneath the Planet of the Apes (1970) | An Egyptian Pharaoh, Shishak, invaded Jerusalem about 980 BC, and may have taken the Ark to the city of Tanis and hidden it in a secret chamber called the Well of Souls. | ฟาโรห์แห่งอียิปต์, ซิซา, รุกรานเยซูซาเล็ม ประมาณปี 980 ก่อนคริสต์ศักราช, และอาจจะนำเอาหีบ ไปที่เมืองทานิส และซ่อนมันเอาไว้ในแชมเบอร์ลึกลับ เรียกว่า กำแพงแห่งวิญญาณ Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | Survivor of countless incursions behind enemy lines. | รอดชีวิตจากการรุกรานที่นับไม่ถ้วนของศัตรู First Blood (1982) | I wouldn't want to offend you. | ฉันไม่อยากรุกรานคุณ Idemo dalje (1982) | What grudge do the two of you have with Quan Zhen Sect to involve with so many men? | เจ้ามีเรื่องบาดหมางอะไรกับสำนักช้วนจิน ถึงได้พาคนมารุกรานที่นี่? Return of the Condor Heroes (1983) | history demonstrates conclusively that naive wishing for peace is the surest possible way to encourage an aggressor. | ประวัติศาสตร์ชี้ชัดว่า พวกโลกสวยที่เรียกร้องสันติภาพ มีทางเดียวที่เป็นไปได้ นั่นคือ ยอมสยบแก่ผู้รุกราน Spies Like Us (1985) | But over two million civilians, mostly peasants farmers and their families, have been systematically slaughtered by invading Russian armies. | ประชากรมากกว่า 2 ล้านคน ส่วนใหญ่ก็เป็นเกษตรกร ชาวไร่Nชาวนากับครอบครัวพวกเขา กำลังถูกกองทัพรัสเซียรุกราน เข่นฆ่า Rambo III (1988) | They'd rather die than be slaves to an invading army. | พวกเขายอมตายดีกว่าอยู่เป็นทาสของพวกรุกราน Rambo III (1988) | If I fall asleep, ... ..I'm done for. | เธอรุกรานกลุ่มผู้สนับสนุนผม และเธอก็รุกรานบ้านผม เฮ้ย เฮ้ย, นั่งก่อน Fight Club (1999) | By the blood of our people are your lands kept safe. | ...สกัดการรุกรานของพวกมอร์ดอร์ พี่น้องเราหลั่งเลือด... ...เพื่อปกป้องดินเเดนของพวกท่าน The Lord of the Rings: The Fellowship of the Ring (2001) | Some kind of dormant defense mechanism. | มีบางอย่างนิดหน่อย กลไกป้องกันการรุกราน Resident Evil (2002) | they're hostile. | ข้อสอง คือมารุกราน Signs (2002) | Uh... in this book of yours... did they happen to detail what would happen if they were hostile? | ในหนังสือของลูกน่ะ พวกมันทำอะไรที่คล้ายกับ... การรุกรานบ้างมั้ย มีรายละเอียดอะไร Signs (2002) | It said they would probably invade. | หนังสือบอกว่าถ้ามันมารุกราน Signs (2002) | They would use ground tactics... hand-to-hand combat. | มาจะรุกรานทางพื้นดิน ต่อสู้ด้วยมือ Signs (2002) | I was wrong. They're hostile. It's like "War of the Worlds." | ผมคิดผิด พวกมันมารุกราน เหมือนเรื่อง "War of the Worlds" เลย Signs (2002) | Those of you that do know we are nearing the end of our struggle. | ต่างก็คงรู้ดีว่าอีกไม่นานการรุกรานก็จะสิ้นสุดลง The Matrix Reloaded (2003) | This is the single greatest threat we have ever faced and if we do not act accordingly, we will not survive. | นี่คือการรุกรานที่ใหญ่มากเท่าที่เคยเจอมา และถ้าเราทำไม่ได้ เราก็ไม่รอด The Matrix Reloaded (2003) | Were it not for the threat of invasion... | ถ้าหากว่าดาวดวงนี้ไม่โดนรุกราน The Chronicles of Riddick (2004) | Instead, we will forge a union so strong, the Mongol hordes won't dare attack. | ข้าจะเข้าแทรกแซง, โดยปล่อยข่าวว่ามีทัพหนุนเข้ามาเสริมกองกำลังของเรา เหล่าทหารของมองโกลจะไม่กล้ารุกรานเรา Mulan 2: The Final War (2004) | Ilman sitä häpeää, tuo vihollinen ei eläisi. | ต่อต้านผู้รุกรานที่บุกเข้ามา. Kingdom of Heaven (2005) | Tuhoatte armeijanne tänne, ettekä pysty koskaan rakentamaan samanlaista. | ท่านจะทำให้กองทัพถูกทำลายที่นี่ และจะรุกรานใครไม่ได้อีก. Kingdom of Heaven (2005) | The four of them rode out against impossible odds to defend this island with their lives. | พวกเขาทั้งสี่ออกเรือไปเผชิญกับ การรุกรานที่ชั่วร้าย ที่จะป้องกันเกาะนี้ด้วยชีวิต The Fog (2005) | It seems as though the German aggressors cannot be stopped as the Allied nations valiantly fight to survive. | ดูเหมือนว่าจะไม่มีทาง ยับยั้งเยอรมันผู้รุกรานได้ ในขณะที่สัมพันธมิตรหาญกล้า ต่อสู้เพื่อความอยู่รอด Flyboys (2006) | Our country has been at war since we were first attacked three years ago, and we have lost more than a million of our young men. | ประเทศของเราตกอยู่ในภาวะสงคราม นับแต่ถูกรุกรานเมื่อสามปีก่อน เราสูญเสียคนหนุ่มไปกว่าล้านคน Flyboys (2006) | Our lands were ravaged! | เขตของเราถูกรุกราน! Apocalypto (2006) | Your lands were ravaged? | เขตของเจ้าถูกรุกรานหรือ? Apocalypto (2006) | I will try to make strong swords and protect BuYeo from any threats. | ข้าจะพยายามผลิตดายที่แข็งแกร่ง และปกป้องพูยอจากการรุกรานทั้งปวง Episode #1.41 (2006) | THE BUGS THAT INVADED HIS CO-OP. | แมลงสาบ ที่รุกรานชีวิตเพื่อนเขา If There's Anything I Can't Stand (2007) | With a replication rate this aggressive, you would have been dead by morning. | จากอัตราที่มันรุกรานในแบบจำลองแล้ว, ถึงตอนเช้าคุณคงจะต้องตายไปแล้ว Chapter Two 'Lizards' (2007) | 600 years before Columbus North America was invaded by ruthless marauders intent on settling its shores. | 600 ปี ก่อนโคลัมบัส... อเมริกาเหนือถูกรุกรานจากพวกไร้ปราณี ที่ต้องการตั้งรกรากบนฝั่ง Pathfinder (2007) | Well, yeah, it's an ongoing offensive against neighborhood evil. | ใช่, มันเป็นรุกรานที่ต่อเนื่อง ระหว่างเพื่อนบ้านอันชั่วร้าย Disturbia (2007) | The right for our sons and daughters to go to school without fear of molestation by a bloodthirsty predator in the playground or in the classroom. | สิทธิของลูกหลานของเรา ที่จะไปโรงเรียนโดยไม่ถูกรุกราน จากพวกนักล่ากระหายเลือดตามสนามหญ้า The Fourth Man in the Fire (2008) | You want to see the invasion plans for Iran? | คุณต้องการดูแผนที่จะรุกรานอิหร่านเหรอ? \ Transporter 3 (2008) | a method which rejects revenge, aggression, and retaliation." | วิธีการที่ปฏิเสธการแก้แค้น การรุกราน และการตอบโต้ Masterpiece (2008) | These clones, manning of a whole network of tracking stations, are all that stands between the Republic and invasion. | โคลนเหล่านี้ ต้องดูแลเครือข่ายทั้งหมดของสถานีตรวจการณ์ ซึ่งเป็นแนวป้องกันด่านแรก ของสาธารณรัฐ จากการรุกราน Rookies (2008) | He attacked me! He threatened me! | เขารุกรานข้า คุกคามข้า To Kill the King (2008) | You invaded Narnia. | เจ้า.. รุกรานนาเนีย. The Chronicles of Narnia: Prince Caspian (2008) | Seven mysticuszen fought together intruders. | เจ็ดผู้เยี่ยมยุทธผนึกกำลังกัน เพื่อต่อสู้ผู้รุกราน Dragonball: Evolution (2009) | All of the mercy west residents just 'cause you feel threatened. | Mercy west ทุกคนได้ เพราะว่าเราถูกรุกราน Invasion (2009) | Oh, we don't feel threatened. | โอ้, พวกเราไม่ได้รู้สึกว่าถูกรุกราน Invasion (2009) | Yeah, we feel pretty threatened. | ใช่, เรารู้สึกว่าถูกรุกรานมาก Invasion (2009) | We had tidings from the North that the House of Tregor had fallen to invaders. | พวกเราได้ข่าวจาำกทางเหนือว่า สภาทรีเกอร์ ได้ตกเป็นของพวกรุกรานแล้ว Beauty and the Beast (2009) | "Invasion by sea monsters. " | "การรุกรานจากปีศาจทองทะเล" Planet 51 (2009) | "Invasion by 50 foot women! ? " | "การรุกรานจากผูหญิงสูงหาสิบฟุต" Planet 51 (2009) | "So you've been invaded by aliens. " | "คุณวาเปนการรุกรานของเอเลียน." Planet 51 (2009) | The trace of the human genius it makes shores and depths dirty. | ร่องรอยการรุกรานของมนุษย์ สร้างความแปดเปื้อน แก่ชายฝั่งและผืนน้ำ Oceans (2009) | So it's a contamination-type Angel... That's bad. | การรุกรานแบบนี้เป็นปัญหาแน่ Evangelion: 2.0 You Can (Not) Advance (2009) | You mean to occupy our home. | ท่านหมายความว่าจะรุกรานบ้านของพวกเรา Duchess of Mandalore (2010) |
| การรุกราน | [kān rukrān] (n) EN: aggression ; invasion ; attack FR: agression [ f ] ; invasion [ f ] | ผู้รุกราน | [phūrukrān] (n) EN: invader ; attacker ; raider ; aggressor FR: envahisseur [ m ] ; agresseur [ m ] | รุกราน | [rukrān] (v) EN: invade ; attack ; assault ; encroach ; raid ; infringe ; intrude ; burst into FR: envahir ; attaquer ; assaillir ; agresser | ซึ่งรุกราน | [seung rukrān] (adj) FR: agressif |
| aggression | (n) การบุกรุก, See also: การรุกราน | aggressive | (adj) เริ่มต่อสู้, See also: เริ่มทะเลาะ, เริ่มรุกราน | aggressor | (n) ฝ่ายรุกราน, See also: ผู้รุกราน, Syn. assailant, invader, offender, attacker | assail | (vt) โจมตี, See also: รุกราน, ถล่ม, Syn. attack, assault | attack | (vi) บุก, See also: โจมตี, รุกราน, รุก, ตี | attack | (vt) บุก, See also: โจมตี, รุกราน, รุก, ตี, Syn. assault, strike | advance on | (phrv) บุก, See also: โจมตี, รุกราน, เข้าตี, Syn. advance upon | advance upon | (phrv) บุก, See also: โจมตี, รุกราน, เข้าตี, Syn. advance on | assail with | (phrv) จู่โจมด้วย (มักใช้รูป passive voice), See also: โจมตีด้วย, รุกรานด้วย | drive off | (phrv) ขับผู้รุกรานออกไป, Syn. fight off | inoffensive | (adj) ไม่เป็นภัย, See also: ไม่ทำอันตราย, ไม่รุกราน, ไม่ทำร้ายคนอื่น, ไม่น่ารังเกียจ, Syn. friendly, harmless, innocuous, Ant. offensive | invade | (vt) บุกรุก, See also: บุก, รุกราน, Syn. attack, assult, raid, Ant. defend | invader | (n) ผู้รุกราน, See also: ผู้บุกรุก, Syn. attacker, raider, trespasser, Ant. defender | invasion | (n) การรุกราน, See also: การโจมตี, Syn. attack, assult, inroad, Ant. defense, protection | invasive | (adj) ที่เป็นการรุกราน, Syn. offensive | miff | (vi) รุกราน, See also: ระราน, ทำให้เคือง, Syn. provoke, offend | miff | (vt) รุกราน, See also: ระราน, ทำให้เคือง, Syn. provoke, offend | molestation | (n) การรบกวน, See also: การรุกราน, Syn. abuse | molester | (n) ผู้รุกราน, See also: ผู้รบกวน, Syn. attacker | occupy | (vt) ยึดครอง, See also: รุกราน, ครอบครอง, Syn. capture, seize, invade, Ant. free, liberate |
| acariasis | (แอคคะไร' อะซิส) n. ภาวะที่มีแมลง 6 ขา (เช่นเห็บ, หมัด) รุกราน infestation with mites | aggression | (อะเกรส' เชิน) n. การรุกราน, การบุกรุก, การล่วงละเมิด, Syn. attack | aggressive | (อะเกรส'ซิฟว) adj. รุกราน, ก้าวร้าว. -agressiveness n., Syn. belligerent | aggressor | (อะเกรส' เซอะ) n. ผู้รุกราน, ทำให้ได้รับทุกข์, ทำให้เจ็บปวด, Syn. attacker | aggrieved | (อะกรีฟวดฺ') adj. เสียใจ, ได้รับอันตราย, ได้รับบาดเจ็บ, ถูกรุกราน -aggrievedness n., Syn. sorrowful | assail | (อะเซล') vt. โจมตี, ป้ายร้าย, รุกราน, กล่าวหา, ทำร้าย-assailer, assailment n. | assertive | (อะเซอ'ทิฟว) adj. ซึ่งยืนยัน, รุกราน, Syn. decided, positive, aggressive | defence | (ดิเฟนซฺ') n. การป้องกัน, การต้านการรุกราน, การพิทักษ์, การแก้ตัวให้, การเป็นทนายให้, การแก้ต่าง, See also: defenceable adj. ดูdefence, Syn. protection | defensible | (ดิเฟน'ซิเบิล) adj. ซึ่งต่อต้านการรุกรานได้, ซึ่งป้องกันได้, ซึ่งสามารถแก้ต่างหรือแก้คดีได้., See also: defensibility n. ดูdefensible | impinge | (อิมพินจฺ') vt. กระทบ, การแทก, ปะทะ, บุกรุก, รุกราน, มีผลต่อ., See also: impinger n. impingement n., Syn. strike, collide | innocuous | (อินอค'คิวอัส) adj. ไม่มีอันตราย, ไม่เป็นภัย, ไม่เป็นพิษ, ไม่รุกราน, ไม่น่ากลัว., See also: innocuously adv. innocuousness n., Syn. harmless-A. noxious | inoffensive | (อินอะเฟน'ซิฟว) adj. ไม่เป็นภัย, ไม่ทำอันตราย, เป็นรุกราน, ไม่ทำร้ายคนอื่น, ไม่น่ารังเกียจ., See also: inoffensiveness n., Syn. innocuous, Ant. offensive | invade | (อินเวด') vt. บุกรุก, รุกราน, ล่วงล้ำ, ย่ำยี, เหยียบย่ำ, แผ่ไปทั่ว, แพร่หลาย., See also: invader n. invadable adj., Syn. attack, spread | invasion | (อินเ'เชิน) n. การรุกราน, การล้ำรุก, การบุกรุก, การถลันเข้าไป, การแพร่ (ของโรค) | invasive | (อินเว'ซิฟว) adj. ซึ่งรุกราน | jingo | (จิง'โก) n., adj. (เกี่ยวกับ) ผู้แสดงความรักชาติอย่างรุนแรงและรุกราน -Phr. (byjingo! คำอุทานเพื่อแสดงการย้ำ) -, Syn. chauvinist, Ant. pacifist | jingoism | (จิง'โกอิสซึม) n. การแสดงความรักชาติที่รุนแรงและโวยวาย, การแสดงความรักชาติแบบรุกราน., See also: jingoist n., adj. ดูjingoism jingoistic adj. ดูjingoism | miff | (มิฟ) vt. รุกราน, ทำให้ขุ่นเคือง, ทำผิด | molest | (มะเลสทฺ') vt. รบกวน, เข้ายุ่ง, รุกรานทางเพศ., See also: molestation n. molester n. | noisome | (นอย'เซิม) adj. รุกราน, น่ารังเกียจ, เป็นภัย, เป็นอันตราย, เป็นพิษ., See also: noisomeness n., Syn. noxious, bad | offend | (อะเฟนดฺ') n. กระทำผิด, ละเมิด, รุกราน, ทำให้ขุ่นเคือง, ทำให้ไม่พอใจ., See also: offendable adj. offendible adj. offender n., Syn. fault, vice, attack | overpass | (โอ'เวอะพาซฺ) n. ทางข้าง, สะพานลอย, ทางผ่านสายด่วน vt. ข้าม, ผ่าน, ผ่านเหนือ, เกิน, รุกราน, รุกล้ำ, มีเกิน, ชนะ, ดีกว่า, มีประสบการณ์, มองข้าม, เพิกเฉย | pushing | (พุช'ชิง) adj. เกี่ยวกับการผลักดัน, ขยันขันแข็ง, ทะเยอทะยาน, รุกราน, ชอบเลือก, ชอบสอดแทรก., See also: pushingness n., Syn. enterprising, pushy | quisle | (ควิส'เซิล) vi. ขายชาติโดยการช่วยเหลือข้าศึกที่กำลังรุกรานประเทศ, สมคบกระทำความผิด | stink | (สทิงคฺ) { stank/stunk, stunk, stinking, stinks } vi. ส่งกลิ่นเหม็น, รุกราน, เสื่อมทราม, มีจำนวนมาก (โดยเฉพาะเงิน) . vt. ทำให้เหม็น, ไล่ด้วยกลิ่นเหม็น, ได้กลิ่นเหม็นของ n. กลิ่นเหม็น, ความเหม็นโฉ่, ความยุ่งเหยิง, เรื่องอื้อฉาว, , See also: stinks n. วิชาเคมี | tigress | (ไท'เกรส) n. เสื้อตัวเมีย, หญิงดุร้ายรุกรานหรือโหดเหี้ยม | tread | (เทรด) vt., vi., n. (การ) ย่ำ, เหยียบ, เดินไปมา, ใช้เข้าบดขยี้, ย่ำยี, บดขยี้, กดขี่, เต้นรำ, เสียงฝีเท้า, วิธีการเดิน, วิธีก้าว, จังหวะการก้าว, ที่เหยียบของระหัด, แผ่นเหยียบ, พื้นเหยียบ, พื้นรองเท้า, ยางหล่อดอก. -Phr. (tread on someone's toes (corns) ก้าวร้าว รุกราน) | turbulent | (เทอ'บิวเลินทฺ) adj. วุ่นวาย, สับสน, อลหม่าน, โกลาหล, พล่าน, ซึ่งไหลทะลัก, ก้าวร้าว, รุกราน., See also: turbulently adv., Syn. tumultuous | vandal | (แวน'เดิล) n. สมาชิกเผ่าเยอรมันในสมัยศตวรรษที่ 5 ที่ถูกชาว Gaul และสเปนรุกราน adj. เกี่ยวกับชนเผ่าเยอรมันดังกล่าว, ชอบทำลาย, ทรัพย์สินของคนอื่น, ป่าเถื่อน., See also: Vandalic adj. vandal n. ผู้ทำลายทรัพย์สินของรัฐหรือของเอกชน |
| aggression | (n) การรุกราน, การบุกรุก, การก้าวร้าว, การล่วงละเมิด | aggressive | (adj) รุกราน, ล่วงละเมิด, ก้าวร้าว, แข็งขัน | aggressor | (n) ผู้รุกราน, ผู้บุกรุก | assail | (vt) ทำร้าย, ก้าวร้าว, ด่าว่า, โจมตี, รุกราน, ต่อสู้ | impinge | (vt) กระทบ, บุกรุก, รุกราน | inoffensive | (adj) ไม่น่ารังเกียจ, ไม่ทำอันตราย, ไม่รุกราน | inroad | (n) การโจมตี, การบุกรุก, การรุกราน | invader | (n) ผู้บุกรุก, ผู้รุกราน, ผู้ย่ำยี | molest | (vt) แกล้ง, รบกวน, ทำร้าย, ข่มเหง, รุกราน | molestation | (n) การแกล้ง, การรบกวน, การทำร้าย, การข่มเหง, การรุกราน | offence | (n) การรุกราน, การละเมิด, การกระทำผิด | offend | (vt) ทำให้ขุ่นเคือง, ทำให้ไม่พอใจ, รุกราน, ละเมิด, ทำผิด | offender | (n) ผู้ละเมิด, ผู้รุกราน, ผู้กระทำผิด | offensive | (adj) ซึ่งรุกราน, ก้าวร้าว, น่ารังเกียจ | offensive | (n) การรุกราน, การบุกรุก, การล่วงละเมิด | pelt | (vt) โยน, ขว้างปา, เขวี้ยง, รุกราน, ระดมยิง, โจมตี | trench | (vt) ขุดสนามเพลาะ, ขุดคู, รุกราน |
| biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ | biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ | biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ | Magnetic resonance cholangiopancreatography (MRCP) | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพทางการแพทย์ที่ใช้การถ่ายภาพสะท้อนแบบแม่เหล็กเพื่อแสดงให้เห็นถึงน้ำดีและท่อตับอ่อนในลักษณะที่ไม่รุกราน ขั้นตอนนี้สามารถใช้ในการตรวจสอบว่านิ่วในท่อที่อยู่รอบถุงน้ำดีหรือไม่ |
| 防御 | [ぼうぎょ, bougyo] (n, adj) การป้องกันถัย (จากการรุกราน) |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |