มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ มหาสมุทร | (n) ocean, Syn. ห้วงสมุทร, อรรณพ, ห้วงมหาสมุทร, Example: ชายฝั่งนี้มีสันทรายอันยาวเหยียดทอดไปในมหาสมุทร น่าประหลาดมาก, Count Unit: แห่ง, ที่, Thai Definition: ทะเลที่ลึกและกว้างใหญ่ |
| งมเข็มในมหาสมุทร | ก. ค้นหาสิ่งที่ยากจะค้นหาได้, ทำกิจที่สำเร็จได้ยาก. | มหาสมุทร | น. ทะเลใหญ่. | กลไฟ | (กน-) น. เรียกเรือโดยสารหรือบรรทุกสินค้าที่ใช้ฟืนเป็นต้นเป็นเชื้อเพลิงในการขับเคลื่อน มีขนาดใหญ่กว่าเรือไฟ นิยมใช้แล่นในท้องทะเลหรือมหาสมุทร ว่า เรือกลไฟ. | คลื่นใต้น้ำ ๑ | น. คลื่นในมหาสมุทรที่มีช่วงคลื่นยาวสมํ่าเสมอและยอดเรียบเคลื่อนตัวมาจากแหล่งกำเนิดที่อยู่ไกลมาก ชาวเรือถือเป็นสัญญาณบอกเหตุว่าจะเกิดพายุ. | จะละเม็ด ๒ | น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Caretta caretta Linn. ในวงศ์ Cheloniidae หัวโตกว่าเต่าทะเลชนิดอื่น เกล็ดกระดองหลังแถวข้างมี ๕ ชิ้น กระดองสีนํ้าตาลหรือนํ้าตาลแดง ท้องสีขาวครีม พบในมหาสมุทรแปซิฟิก เขตนํ้าอุ่นของมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดีย พบน้อยในอ่าวไทย, เรียกไข่เต่าทะเลทุกชนิด ว่า ไข่จะละเม็ด. | ซาบะ | น. ชื่อปลาทะเลขนาดกลาง มี ๓ ชนิด คือ ชนิด Scomber australasicus Cuvier ชนิด S. japonicas Houttuyn และชนิด S. scombrus Linn. ในวงศ์ Scombridae ลำตัวกลมยาว เรียวไปทางคอดหาง ชนิดแรกมีลวดลายสีน้ำเงินเข้มเป็นเส้นทะแยงหยักเรียงขนานชิดกันเป็นระเบียบอยู่เหนือเส้นข้างตัว ที่ต่ำลงไปจนถึงท้องลวดลายจะแตกเป็นจุดประสีเทาจางกระจายอยู่ทั่วไป ส่วนชนิดที่ ๒ มีลวดลายหยิกหยักสีน้ำเงินจางกว่า และกินบริเวณเกือบถึงแนวกลางลำตัว ๒ ชนิดแรกเป็นปลาฝูง พบกระจายพันธุ์อยู่ในเขตมหาสมุทรแปซิฟิกและอินเดีย ชนิดที่ ๓ มีลายสีน้ำเงินเป็นริ้วขวางอยู่ครึ่งบนของลำตัว พบอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนเหนือและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน. | ไซโคลน | (-โคฺลน) น. ชื่อพายุหมุนที่มีกำลังแรงจัด ทำให้มีฝนตกหนักมาก เกิดขึ้นในมหาสมุทรอินเดีย ทะเลอาหรับ และอ่าวเบงกอล มีความเร็วลมใกล้บริเวณศูนย์กลางตั้งแต่ ๖๕ นอต หรือ ๑๒๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป. | ดีเปรสชัน | น. พายุหมุนที่มีกำลังอ่อนในเขตร้อนมีต้นกำเนิดเหนือมหาสมุทร ทำให้มีฝนตกปานกลางถึงตกหนักเป็นบริเวณกว้าง, บริเวณความกดอากาศต่ำที่มีลมพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลางคล้ายก้นหอยในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือและตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้. | ไต้ฝุ่น | น. ชื่อพายุหมุนที่มีกำลังแรงจัด ทำให้มีฝนตกหนักมาก เกิดขึ้นในบริเวณภาคตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกและในทะเลจีน มีความเร็วลมใกล้บริเวณศูนย์กลางตั้งแต่ ๖๕ นอต หรือ ๑๒๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป. | ทะเล | น. ห้วงนํ้าเค็มที่เวิ้งว้างกว้างใหญ่ แต่เล็กกว่ามหาสมุทร. | ทะเลภายใน | น. ทะเลประเภทที่อยู่เข้ามาภายในพื้นแผ่นดิน และเกือบไม่มีทางติดต่อกับทะเลหรือมหาสมุทรภายนอก, ทะเลใน หรือ ทะเลหน้าใน ก็เรียก. | ทะเลหลวง | น. ทะเลใหญ่, มหาสมุทร, ทะเลหรือมหาสมุทรที่อยู่นอกน่านนํ้าอาณาเขตของประเทศที่เป็นเจ้าของ. | ปากน้ำ | น. บริเวณที่แควไหลลงมาบรรจบลำน้ำใหญ่ เช่น ปากน้ำโพ หรือบริเวณที่ลำน้ำใหญ่ไหลลงสู่ทะเลหรือทะเลสาบ เช่น ปากน้ำเจ้าพระยา ปากน้ำบางปะกง, บางทีก็ใช้เรียกทางเข้าอ่าวจากมหาสมุทรหรือทะเลสู่ฝั่งด้วย. | พายุโซนร้อน | น. พายุหมุนที่มีกำลังปานกลาง ก่อตัวขึ้นในบริเวณทะเลหรือมหาสมุทรในโซนร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตร มีความเร็วลมรอบบริเวณศูนย์กลางตั้งแต่ ๓๔ นอต หรือ ๖๓ กิโลเมตรต่อชั่วโมง แต่ไม่ถึง ๖๔ นอต หรือ ๑๑๘ กิโลเมตรต่อชั่วโมง. | พายุไซโคลน | น. พายุหมุนที่มีกำลังแรงจัด ทำให้มีฝนตกหนักมาก เกิดขึ้นในมหาสมุทรอินเดีย ทะเลอาหรับ และอ่าวเบงกอล มีความเร็วลมใกล้บริเวณศูนย์กลางตั้งแต่ ๖๕ นอต หรือ ๑๒๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป. | พายุไต้ฝุ่น | น. พายุหมุนที่มีกำลังแรงจัด ทำให้มีฝนตกหนักมาก เกิดขึ้นในบริเวณภาคตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกและในทะเลจีน มีความเร็วลมใกล้บริเวณศูนย์กลางตั้งแต่ ๖๕ นอต หรือ ๑๒๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป. | พายุเฮอริเคน | น. พายุที่มีความเร็วลมเช่นเดียวกับพายุไต้ฝุ่น แต่เกิดในมหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน อ่าวเม็กซิโก และภาคตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ. | เรือกลไฟ | น. เรือโดยสารหรือบรรทุกสินค้าที่ใช้ฟืนเป็นต้นเป็นเชื้อเพลิงในการขับเคลื่อน มีขนาดใหญ่กว่าเรือไฟ นิยมใช้แล่นในท้องทะเลหรือมหาสมุทร. | ลมมรสุม | น. ลมที่เกิดขึ้นเนื่องจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของพื้นดินกับพื้นน้ำ ในฤดูหนาวอุณหภูมิของพื้นดินเย็นกว่าอุณหภูมิของน้ำในมหาสมุทรที่อยู่ใกล้เคียง อากาศเหนือพื้นน้ำจะลอยตัวสูงขึ้น อากาศจากพื้นดินจึงพัดเข้าไปแทนที่ทำให้เกิดเป็นลมพัดออกจากทวีป ส่วนในฤดูร้อนอุณหภูมิของพื้นดินร้อนกว่าน้ำในมหาสมุทร จึงทำให้เกิดลมพัดไปในทิศทางตรงกันข้าม, พายุใหญ่ที่มีลมแรงและมีฝนตกหนัก. | วรรค | ช่วงหนึ่งของคำหรือข้อความที่สุดลงแล้วเว้นเป็นช่องว่างไว้ระยะหนึ่ง เรียกว่า เว้นวรรค, ถ้าเป็นเรื่องร้อยกรองถือข้อความช่วงหนึ่ง เป็น วรรคหนึ่ง เช่น ถึงม้วยดินสิ้นฟ้ามหาสมุทร | สมุทร ๑, สมุทร- | เรียกทะเลขนาดใหญ่ ซึ่งมีแผ่นดินโอบล้อมเป็นตอน ๆ ว่า มหาสมุทร เช่น มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก. | สมุทรศาสตร์ | (สะหฺมุดทฺระ-) น. วิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของนํ้าทะเล ชีววิทยาทะเล และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของทะเลและมหาสมุทร. | สังข-, สังข์ | น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิด เช่น สังข์รดน้ำหรือสังข์อินเดีย (Turbinella pyrumLamarck) ในวงศ์ Turbinellidae เปลือกสีขาว รูปทรงงดงาม ใช้สำหรับหลั่งน้ำพระพุทธมนต์หรือน้ำเทพมนตร์, สังข์แตร [ Chalonia tritonis (Linn.) ] ในวงศ์ Cymatiidae เปลือกมีสีและลวดลายสวยงาม ใช้เป่าในงานพิธีของชาวเกาะแถบมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้, ลักษณนามว่า ขอน เช่น สังข์ ๒ ขอน. | สินธุ | น. ลำนํ้า, แม่นํ้า, สายนํ้า, นํ้า, ทะเล, มหาสมุทร, ใช้ว่า สินธุ์ หรือ สินธู ก็มี | สินธุ์ | น. ลำน้ำ, แม่น้ำ, สายน้ำ, น้ำ, ทะเล, มหาสมุทร, เช่น เหาะข้ามสินธุ์ไปยังขุนยุคุนธร (สมบัติอัมรินทร์), สุวรรณหงส์เหินเห็จฟ้า ชมสินธุ์ (พยุหยาตรา), ใช้ว่า สินธุ หรือ สินธู ก็มี. | สินธู | น. ลำน้ำ, แม่น้ำ, สายน้ำ, น้ำ, ทะเล, มหาสมุทร, เช่น มังกรเกี่ยวเลี้ยวล่องท้องสินธู เป็นคู่คู่เคียงมาในวารี (อภัย), สินสมุทรสุดรักพระธิดา เอาใส่บ่าแบกวายสายสินธู (อภัย), ใช้ว่า สินธุ หรือ สินธุ์ ก็มี. | เหวทะเล | น. ส่วนที่ลึกมากของผืนท้องทะเลและมหาสมุทร มีขอบสูงชันและมีบริเวณจำกัด โดยทั่วไปกำหนดความลึกตั้งแต่ ๕, ๔๐๐ เมตรลงไป. | แหลม | (แหฺลม) น. แผ่นดินหรือภูเขาที่ยื่นลํ้าออกไปในทะเลหรือมหาสมุทร. | อรรณพ | (อันนบ) น. ห้วงนํ้า, ทะเล, มหาสมุทร. | อัณณพ | น. อรรณพ, ห้วงนํ้า, ทะเล, มหาสมุทร. | อ่าว | น. ส่วนของมหาสมุทร ทะเล หรือทะเลสาบ ที่ลํ้าเข้าไปในฝั่งหรือในแผ่นดิน มีลักษณะเว้าโค้งและเปิดกว้าง ทำให้มีแนวของชายฝั่งทะเลยาว. | เฮอริเคน | น. ชื่อพายุที่มีความเร็วลมเช่นเดียวกับพายุไต้ฝุ่น แต่เกิดในมหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน อ่าวเม็กซิโก และภาคตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ. |
| |
| ไต้ฝุ่น | ชื่อพายุหมุนที่มีกำลังแรงจัด ทำให้มีฝนตกหนักมาก เกิดขึ้นในบริเวณภาคตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกและในทะเลจีน มีความเร็วลมใกล้บริเวณศูนย์กลางตั้งแต่ 64 นอต หรือ 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ ใต้ฝุ่น [คำที่มักเขียนผิด] | Canals, Interoceanic | คลองเชื่อมมหาสมุทร [TU Subject Heading] | Indian Ocean | มหาสมุทรอินเดีย [TU Subject Heading] | Indian Ocean Tsunami, 2004 | คลื่นซึนามิในมหาสมุทรอินเดีย, ค.ศ. 2004 [TU Subject Heading] | Ocean | มหาสมุทร [TU Subject Heading] | Ocean energy resources | แหล่งพลังงานจากมหาสมุทร [TU Subject Heading] | Ocean thermal power plants | โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนจากมหาสมุทร [TU Subject Heading] | Ocean travel | การท่องเที่ยวทางมหาสมุทร [TU Subject Heading] | Ocean wave power | พลังงานคลื่นมหาสมุทร [TU Subject Heading] | Ocean waves | คลื่นมหาสมุทร [TU Subject Heading] | Pacific Ocean | มหาสมุทรแปซิฟิก [TU Subject Heading] | Oceanic Island | เกาะกลางมหาสมุทร, Example: เกาะที่ตั้งห่างจากทวีปมากๆ และโดยทั่วไปจะอยู่ในมหาสมุทร เกาะประเภทนี้ จะถือกำเนิดตามลำพังไม่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผืนแผ่นดินใหญ่ ได้แก่ เกาะภูเขาไฟ (Volcanic Island) และเกาะปะการัง (Coral Island) [สิ่งแวดล้อม] | Pacific Raim | ประเทศริมมหาสมุทรแปซิฟิก, Example: ประเทศและหมู่เกาะต่างๆ ที่อยู่ริมฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก รวม 34 ประเทศ และ 23 หมู่เกาะ มีพื้นที่กว่า 70 ล้านตารางไมล์ มีประชากรกว่า 2.5 พันล้านคน หรือมากกว่าครึ่งหนึ่งของประชากรโลก นับตั้งแต่ พ.ศ. 2525 ประเทศในภูมิภาคนี้มีความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจในอนาคตสูงและยังมีทรัพยากรอยู่มาก ประเทศที่สำคัญๆ ในแถบรมมหาสมุทรแปซิฟิก ได้แก่ ญี่ปุ่น จีน เป็นต้น จนผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่ยอมรับว่า ศตวรรษที่ 21 ที่กำลังจะมาถึงนั้นจะเป็นสตวรรษของประเทศที่อยู่ริมมหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Century) เพราะจะเป็นภูมิภาคที่มีอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงที่สุด [สิ่งแวดล้อม] | Indian Ocean Rim Association for Regional Cooperation | สมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคมหาสมุทรอินเดีย ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2537 โดย Charter of the Indian Ocean Rim Association for Regional Co-operation มีสมาชิกทั้งหมด 19 ประเทศ และมีอียิปต์กับญี่ปุ่นเป็นประเทศคู่เจรจาด้วย สำนักงานเลขาธิการตั้งอยู่ที่สาธารณรัฐมอริเชียส [การทูต] | Pacific Islands Forum | PIF เป็นองค์กรระดับภูมิภาคของประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 เพื่อขยายความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจ การพัฒนาที่ยั่งยืน ธรรมาภิบาลและความมั่นคง ปัจจุบันมีสมาชิก 16 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ นาอูรู หมู่เกาะคุก ตองกา ฟิจิ ซามัว หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะมาร์แชลล์ ปาปัวนิวกีนี วานูอาตู ปาเลา ไมโครนีเซีย คิริบาส นีอูเอ และตูวาลู มีประเทศคู่เจรจา (Dialogue Partner) จำนวน 12 ประเทศและ 1 กลุ่มเศรษฐกิจ ประกอบด้วย แคนาดา จีน ฝรั่งเศส อินเดีย อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ไทย และสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีประเทศผู้สังเกตการณ์ (Observer Status) อีก 3 ประเทศ คือ ติมอร์เลสเต นิวแคลิโดเนีย และเฟรนซ์โปลินีเซีย สำนักเลขาธิการ PIF ตั้งอยู่ที่กรุงซูวา ประเทศฟิจิ [การทูต] | hurricane | พายุเฮอร์ริเคน, พายุโซนร้อนที่มีกำลังแรงมาก ความเร็วลมใกล้บริเวณศูนย์กลางประมาณ 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เกิดขึ้นในบริเวณภาคตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกอ่าวเม็กซิโก ถ้าเกิดบริเวณภาคตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลจีนเรียกพายุไต้ฝุ่น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Skylab | สกายแลบ, ห้องปฏิบัติการอวกาศของสหรัฐอเมริกา ขึ้นไปโคจรอยู่ในอวกาศรอบโลกเมื่อวันที่14 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 และตกลมาสู่โลกบริเวณมหาสมุทรอินเดียและที่ว่างภาคเหนือของประเทศออสเตรเลีย เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | typhoon | พายุไต้ฝุ่น, พายุโซนร้อนที่มีกำลังแรงมาก ความเร็วลมบริเวณใกล้ศูนย์กลางเกินกว่า 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เกิดขึ้นในบริเวณภาคตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกและในทะเลจีน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | radiolarian | เรดิโอลาเรียน, โพรโทซัวพวกหนึ่งที่อาศัยอยู่ในน้ำทะเล มีโครงสร้างที่ประกอบด้วยสารพวกซิลิกา เมื่อตายจะทับถมอยู่ใต้มหาสมุทร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | El Nino | เอลนีโญ, ความแปรปรวนของลมฟ้าอากาศ ที่ทำให้ พื้นทวีปบริเวณด้านตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก มีฝนตกหนักกว่าปกติ ในขณะที่พื้นทวีปบริเวณตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเกิดความแห้งแล้งกว่าปกติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | La Nina | ลานีญา, ความแปรปรวนของลมฟ้าอากาศ ที่ทำให้ พื้นทวีปบริเวณด้านตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก แห้งแล้งกว่าปกติ ในขณะที่พื้นทวีปบริเวณตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเกิดฝนตกหนักกว่าปกติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| มหาสมุทร | [mahāsamut] (n) EN: ocean FR: océan [ m ] | มหาสมุทรแอตแลนติก | [Mahāsamut Aētlaēntik] (n, prop) EN: Atlantic Ocean FR: océan Atlantique [ m ] ; Atlantique [ m ] | มหาสมุทรอินเดีย | [Mahāsamut Indīa] (n, prop) EN: Indian Ocean FR: océan Indien [ m ] | มหาสมุทรแปซิฟิก = มหาสมุทรแปซิฟิค | [Mahāsamut Paēsifik] (n, prop) EN: Pacific Ocean FR: océan Pacifique [ m ] ; Pacifique [ m ] |
| Atlantic | (adj) เกี่ยวกับมหาสมุทรแอตแลนติก | Atlantic | (n) มหาสมุทรแอตแลนติก | China Sea | (n) ท้องทะเลที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก | felucca | (n) เรือใบเล็กใช้แล่นในแม่น้ำไนล์และมหาสมุทรเมดิเตอร์เรเนียน | Fiji | (n) ประเทศฟิจิ, See also: หมู่เกาะฟิจิและเกาะอื่นๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก, Syn. Fiji Islands | Gulf Stream | (n) กระแสน้ำอุ่นในมหาสมุทรแอตแลนติก | Hawaiian Islands | (n) หมู่เกาะฮาวายในมหาสมุทรแปซิฟิก | herring | (n) ปลาทะเลชนิดหนึ่ง อาสัยอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ มีชื่อในภาษาละตินว่า Clupea harengus, See also: ปลาเฮริง | Iceland | (n) ประเทศไอซ์แลนด์ (เกาะใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติก) | Iceland | (n) ไอซ์แลนด์ (เกาะใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติก) | Indian Ocean | (n) มหาสมุทรอินเดียมีความลึกประมาณ 25, 344 ฟุต | Madagascar | (n) เกาะมาดากัสการ์ในมหาสมุทรอินเดีย | Madeira | (n) หมู่เกาะของโปรตุเกสในมหาสมุทรแอตแลนติก | Mauritius | (n) เกาะหนึ่งในมหาสมุทรอินเดีย | Melanesia | (n) หมู่เกาะทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก | Melanesian | (n) ชาวหมู่เกาะทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก | mid-Atlantic | (n) ซึ่งอยู่ตอนกลางของมหาสมุทรแอตแลนติก | ocean | (n) มหาสมุทร | oceanfront | (adj) ซึ่งตั้งอยู่บริเวณใกล้มหาสมุทร | ocean-going | (adj) (เรือ) ซึ่งสร้างเพื่อข้ามทะเลหรือมหาสมุทร | oceanic | (adj) แห่งมหาสมุทร | oceanography | (n) การศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทร | Pacific | (n) แปซิฟิก, See also: มหาสมุทรแปซิฟิก, Syn. South Seas | Pacific | (n) มหาสมุทรแปซิฟิก, Syn. South Seas | Pacific Rim | (n) กลุ่มประเทศแถบมหาสมุทรแปซิฟิกโดยเฉพาะเอเชียตะวันออก | Panama Canal | (n) คลองปานามา (เชื่อมมหาสมุทรแอตแลนติกกับแปซิฟิก) | Polynesia | (n) หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกได้แก่ ฮาวาย ซามัวร์ และหมู่เกาะคุก | big drink | (sl) มหาสมุทรแอตแลนติก, See also: มหาสมุทร | Samoa | (n) หมู่เกาะซามัว, See also: หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ | sea front | (n) บริเวณฝั่งทะเล, See also: เขตชายทะเล, ส่วนเขตเมืองที่หันหน้าสู่ทะเลหรือมหาสมุทร | sea otter | (n) นากทะเลตระกูล Enhydra lutris, See also: พบทางตอนเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก | superliner | (n) เรือโดยสารท่องมหาสมุทรที่หรูหราและใหญ่โต | Tahiti | (n) เกาะตาฮิติทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก | tarpon | (n) ปลาใหญ่แถบทะเลน้ำอุ่นในมหาสมุทรแอตแลนติก | thalassic | (adj) เกี่ยวกับทะเลและมหาสมุทร, Syn. nautical | transatlantic | (adj) ซึ่งข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกไป | transoceanic | (adj) ซึ่งข้ามมหาสมุทร, See also: ซึ่งอยู่อีกฟากของมหาสมุทร, Syn. transatlantic, foreign | transpacific | (adj) ซึ่งอยู่อีกฟากของมหาสมุทรแปซิฟิก | West Indies | (n) หมู่เกาะซึ่งประกอบด้วยเกาะหลัก 3 เกาะ, See also: และเป็นหมู่เกาะที่แยกทะเลแคริบเบียนออกจากมหาสมุทรแอตแลนติก | whaleback | (n) สิ่งของที่มีรูปร่างคล้ายหลังปลาวาฬ, See also: เช่น คลื่นในมหาสมุทร หรือเนินเขาลูกเล็ก |
| amphitrite | (แอมพิไทร' ที) n. เทพเจ้ามหาสมุทรของกรีก (Greek sea goddess) | antartic ocean | มหาสมุทรแอนตาร์กติก | atlantic | (แอทแลน'ทิค) adj. เกี่ยวกับมหาสมุทรแอตแลนติก. -n. มหาสมุทรแอตแลนติก | austronesia | (ออสโทรนี'เซีย) n. หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิคตอนกลางและใต้ | azores | (อะซอร์ซ') n. ชื่อหมู่เกาะในมหาสมุทรแอตแลนติคตอนเหนือ. -Azorian adj. | brine | (ไบรน) n. น้ำเค็ม, ทะเล, มหาสมุทร, น้ำทะเล, น้ำมหาสมุทร, สารละลายเกลือ vt. ใส่น้ำเกลือ, ใส่ลงในน้ำเกลือ., See also: briner n. ดูbrine brinish adj. ดูbrine, Syn. sea | briny | (ไบร'นี) n. มหาสมุทร adj. เค็มมาก, เกี่ยวกับน้ำเกลือ | indian ocean | มหาสมุทรอินเดีย | littoral | (ลิท'เทอเริล) adj., n. (เกี่ยวกับ) ฝั่งทะเลสาบ, ฝั่งทะเลหรือฝั่งมหาสมุทร, Syn. litoral | main | (เมน) adj. ส่วนใหญ่, ชั้นนำ, สำคัญที่สุด, สำคัญ, ที่สุด, ใช้เดี่ยวได้ n. ท่อสำคัญ, ท่อหลัก, กำลัง, ความพยายามที่รุนแรง, มหาสมุทร, ทะเลหลวง, แผ่นดินใหญ่ -Phr. (in the main ส่วนใหญ่), Syn. chief | ocean | (โอ'เชิน) n. มหาสมุทร, ความมหาศาล., See also: oceanic adj. | oceanfront | (โอ'เชินฟรันทฺ) n. ที่ดินชายฝั่งมหาสมุทร | oceanograph | (โอชินอก'กระฟี) n. มหาสมุทรศาสตร์, สมุทรศาสตร์., See also: oceanographer n. | oceanography | (โอชินอกกระฟี) มหาสมุทรศาสตร์., See also: oceanographic, adj. | polynesia | (พอลลินี'เซีย) n. ชื่อหมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกอยู่ทางตะวันออกของMelanesiaและMicronesiaตั้งแต่หมู่เกาะฮาวายไปถึงนิวซีแลนด์ | profound | (พระเฟาดฺ') adj. ลึกซึ้ง, ล้ำลึก, สุดซึ้ง, สนิท, แน่นแฟ้น, ถ้วนทั่ว, ต่ำ. n. ทะเลลึก, มหาสมุทร, ความลึก, ความล้ำลึก., See also: profoundness n., Syn. intense | samoa | (ซะโม'อะ) n. ชื่อหมู่เกาะในตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก | sevenseas | n. เจ็ดคาบสมุทร, มหาสมุทรทั้ง 7 แห่ง, Syn. Seven Seas | stratum | (สเทร'ทัม) n. ชั้น, ชั้นพื้นดิน, ชั้นหิน, ชนชั้น, ระดับชั้น, ชั้นเนื้อเยื่อ, ชั้นเซลล์, ชั้น มหาสมุทร, ชั้นบรรยากาศ. -stratous adj. | tidal | (ไท'เดิล) adj. เกี่ยวกับกระแสน้ำขึ้นหรือลง, ขึ้นอยู่กับกระแสน้ำขึ้นหรือลง, See also: tidally adv. -Phr. tidal wave คลื่นขนาดยักษ์ที่ท่วมริมฝั่ง เนื่องจากแผ่นดินไหวหรือพายุ, คลื่นกระแสน้ำ, คลื่นทะเล, คลื่นมหาสมุทร | transatlantic | (แทรนซัทแลน'ทิค) adj. ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก, อยู่เลยมหาสมุทรแอตแลนติก | transoceanic | (แทรนซฺโอชิแอน'นิค) adj. ข้ามมหาสมุทร, เลยมหาสมุทร, อยู่ข้ามมหาสมุทร | transpacific | (-ซฺพะซิฟ'ฟิค) adj. ข้ามมหา-สมุทรแปซิฟิก, อยู่อีกด้านของมหาสมุทรแปซิฟิก | west indies | n. ชื่อหมู่เกาะในตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก ระหว่างทวีปอเมริกาเหนือกับทวีปอเมริกาใต้ |
| | golden trevally | (n) ชื่อปลาชนิดหนึ่ง (Gnathanodon speciosus) ที่พบในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก | oceanography | [โอ-เชีย-นอ-กราฟ-ฟี] (n) “สมุทรศาสตร์” เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์โลก (Earth science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทรในหัวข้อต่างๆ ที่รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร, ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดล้อม, กระแสคลื่นในมหาสมุทร, พฤติกรรมของคลื่น, แผ่นเปลือกโลกที่ก้นมหาสมุทร, ธรณีวิทยาของก้นมหาสมุทร, และความผันผวนของสารเคมีและลักษณะทางฟิสิคส์ของทั้งมหาสมุทรและบริเวณรอบข้าง (ข้อมูลจาก wikipedia.org) | opah | [โอพะ] (n) (สัตว์) ปลาโอปาห์ (มีในมหาสมุทรแอตแลนติก เนื้อแดง มีมันมาก) |
| インド洋 | [いんどよう, indoyou] (n) มหาสมุทรอินเดีย | 大海 | [たいかい, taikai] (n) มหาสมุทร | 大西洋 | [たいせいよう, taiseiyou] (n) มหาสมุทรแอตแลนติก | 太平洋 | [たいへいよう, taiheiyou] (n) มหาสมุทรแปซิฟิก |
| 太平洋 | [たいへいよう, taiheiyou] TH: มหาสมุทรแปซิฟิก EN: Pacific Ocean |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |