ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ภาษาไทย, -ภาษาไทย- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ English | (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, o) ภาษาไทย-อังกฤษ | ถถถถถ | (slang, ภาษาอินเทอร์เน็ต) หัวเราะ หรือ 55555 (hahahahaha) เนื่องจากบนคีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์ทั่วไป ปุ่มอักษร ถ จะตรงกับเลข 5 ในภาษาอังกฤษ และผู้พิมพ์มักลืมกดปุ่มเปลี่ยนภาษาจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยก่อน ตั้งใจจะพิมพ์ 55555 เลยกลายเป็น ถถถถถ เมื่อมีการพิมพ์ผิดกันบ่อยครั้ง จึงถือกันว่าคำว่า ถถถถถ ก็ใช้แทนความหมายของ 55555 ไป |
| หลำ | [หล๋ำ] (vt) มั่ว, ไม่รู้จริงแต่พูดเหมือนรู้จริง, แสดงอาการเคลื่อนไปข้างหน้าหลวมตัวไปเรื่อย ๆ มีที่มาจากคำว่าถลำ โดยภาษาไทยจะอ่านว่า ถะหฺลํา แต่ภาคใต้เน้นเสียงพูดแบบเร็วๆ จึงควบคำเป็น หลำ และเอามาใช้ในความหมายในเชิงตำหนิ เมื่อมีใครพูดหรือแสดงอาการกระทำบางอย่างที่ไม่รู้จริงแต่ทำเหมือนรู้จริง ก็จะตำหนิว่า หลำ, See also: S. มั่วนิ่ม, เนียน, R. ถลำ, หลำพ่ก, หลำอิตาย, หลำเมร่อ |
| ภาษาไทย | (n) Thai, See also: Siamese, Thai language, Example: บุหรี่นำเข้าจะต้องมีการพิมพ์คำเตือนเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่เป็นภาษาไทยด้วย, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่คนไทยใช้พูดจาติดต่อสื่อสารกัน, ภาษาประจำชาติหรือประเทศไทย |
|
| เขียนไทย | น. วิชาเขียนภาษาไทยตามคำบอกของครู เพื่อฝึกเขียนตัวสะกดการันต์ให้ถูกต้อง, เขียนตามคำบอก ก็ว่า. | คัดไทย | น. วิชาคัดภาษาไทยตามที่ครูสั่ง. | คำพ้องเสียง | น. คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส-ไส-ไสย กาน-กาล-การ-การณ์, (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียกคำพ้องเสียงว่า ไวพจน์. | โฆษะ | ว. ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเส้นเสียงสั่นในภาษาไทยได้แก่เสียง บ ด เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง ง น ม ย ร ล ว และเสียงสระทุกเสียง, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงก้องว่า พยัญชนะโฆษะ ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๓, ๔, ๕ ของวรรค และ ย ร ล ว ห ฬ. | ชุมนุม | ที่ประชุมของกลุ่มบุคคลที่มีจุดประสงค์เพื่อประโยชน์บางประการร่วมกัน เช่น ชุมนุมวรรณศิลป์ ชุมนุมภาษาไทย. | ตรีพิธพรรณ | ชื่อโคลง ๔ ประเภทหนึ่งที่เลื่อนคำรับสัมผัสในบาทที่ ๒ จากคำที่ ๕ มาเป็นคำที่ ๓ ส่วนข้อบังคับอื่น ๆ เหมือนโคลงสี่สุภาพทุกประการ เช่น ข้าขอประณตน้อม กายวจี จิตนา ต่อพระตรีไตรรัตน์ โรจน์เรื้อง เป็นประทีปส่องศรี โลกชัชวาลนา กำจัดมืดมนธ์เปลื้อง สัตว์พ้นสงสาร (หลักภาษาไทยของพระยาอุปกิตศิลปสาร, ในจินดามณีเรียกตรีเพชรทัณฑี). | ทีฆสระ | น. สระที่มีเสียงยาว ในภาษาบาลีได้แก่ อา อี อู เอ โอ, ในภาษาสันสกฤตได้แก่ อา อี อู ฤๅ ฦๅ เอ ไอ โอ เอา, ในภาษาไทยได้แก่ อา อี อือ อู เอ แอ โอ ออ เออ เอีย เอือ อัว. | นิคหิต | (นิกคะหิด) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ &npsp;ํ ในภาษาบาลีและสันสกฤตมีเสียงอ่านเหมือนตัว ง และ ม สะกด ในภาษาไทยก็อนุโลมใช้ตาม เช่น จํหัน อ่านว่า จังหัน ชุ&npsp;ํนุ&npsp;ํ อ่านว่า ชุมนุม, นฤคหิต หรือ หยาดนํ้าค้าง ก็เรียก. | บังคับ | ทำให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์การใช้ภาษา เช่น บังคับให้ใช้เครื่องหมายอัญประกาศเมื่ออ้างถึงคำพูดของผู้อื่น ภาษาไทยไม่บังคับการใช้เครื่องหมายมหัพภาคเคร่งครัดนัก | ภาษา | น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม | ภาษาคำโดด | น. ภาษาแบบที่ใช้คำที่มีลักษณะโดด ๆ คือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปไปตามหน้าที่หรือตามความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์เกี่ยวเนื่องกับคำอื่น คำในภาษาคำโดดมักจะมีพยางค์เดียวเป็นส่วนมาก แต่ก็มีคำสองพยางค์และหลายพยางค์ด้วย เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม. | ภาษาราชการ | ภาษาที่รัฐบาลประกาศให้ใช้เป็นทางราชการ เช่น ประเทศไทยใช้ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ ประเทศสิงคโปร์ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาฮินดี และภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ. | รัสสระ | (รัดสะสะหฺระ) น. สระที่มีเสียงสั้น ในภาษาบาลีได้แก่ อ อิ อุ, ในภาษาสันสกฤตได้แก่ อ อิ อุ ฤ ฦ, ในภาษาไทยได้แก่ อ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เอียะ เอือะ อัวะ ฤ ฦ อำ ใอ ไอ เอา. | วรรณยุกต์, วรรณยุต | น. ระดับเสียงสูงต่ำของคำในภาษาไทย มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา มีรูปเครื่องหมายบอกระดับของเสียงอยู่เบื้องบนอักษร ๔ รูป คือ ่ (ไม้เอก) ้ (ไม้โท) ๊ (ไม้ตรี) ๋ (ไม้จัตวา). | วิชา | น. ความรู้, ความรู้ที่ได้ด้วยการเล่าเรียนหรือฝึกฝน, เช่น วิชาภาษาไทย วิชาช่าง วิชาการฝีมือ. | ไวพจน์ | ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส–ไส–ไสย กาน–กาล–การ–การณ์, ปัจจุบันเรียกว่า คำพ้องเสียง. | สมาชิก ๒ | (สะมา-) น. สิ่งแต่ละสิ่งที่มีปรากฏอยู่ในเซตใดเซตหนึ่ง เช่น { ก, ข, ค } คือ เซตของอักษร ๓ ตัวแรกในภาษาไทย มีสมาชิก ๓ ตัว, สิ่งที่ปรากฏอยู่ในคู่อันดับใดคู่อันดับหนึ่ง เช่น (ก, ข) คือ คู่อันดับหนึ่งที่มี ก เป็นสมาชิกตัวหน้า ข เป็นสมาชิกตัวหลัง. | สัมผัสอักษร | น. สัมผัสพยัญชนะที่มีเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดียวกัน เช่น จำใจจำจากเจ้า จำจร (ตะเลงพ่าย), คูนแคขิงข่าขึ้น เคียงคาง (หลักภาษาไทยของกำชัย ทองหล่อ). | สารัตถศึกษา | น. การศึกษาวิชาที่เป็นพื้นฐาน เช่น วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ประวัติศาสตร์. | สำเนียง | น. เสียง, นํ้าเสียง, หางเสียง, วิธีออกเสียง, เช่น สำเนียงส่อภาษา สำเนียงไม่ชัด พูดภาษาไทยแต่สำเนียงเป็นฝรั่ง. | สุรางคนา ๒, สุรางคนางค์ | น. ชื่อกาพย์และฉันท์ มี ๒๘ คำ คือ มี ๗ วรรค วรรคละ ๔ คำ เช่น ตัวอย่างกาพย์
| (กฤษณา), | ตัวอย่างฉันท์ | | (หลักภาษาไทย), |
ถ้าเป็นกาพย์ขับไม้มี ๓๖ คำ เช่น
| (กาพย์ขับไม้ กล่อมพระเศวตรัตนกรีฯ). |
| หวย ก ข | น. การพนันอย่างหนึ่ง ที่ออกเป็นตัวหนังสือ คือ ใช้พยัญชนะในภาษาไทยตั้งแต่ ก ถึง ฮ เป็นหลัก โดยตัดออกเป็นบางตัว เหลือเพียง ๓๖ ตัว ตัวที่ออกเสียงเหมือนกันจะตั้งชื่อให้ต่างกัน เช่น ข ง่วยโป๊ ฃ เจี่ยมกวย ค หะตั๋ง ฅ เม่งจู ฆ ยิดซัว ทั้งนี้เพราะได้นำวิธีเล่นหวยของจีนมาปรับปรุงใช้, หวย ก็เรียก. | อโฆษะ | ว. ไม่ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเส้นเสียงไม่สั่น ในภาษาไทยได้แก่เสียง อ เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง บ ด เมื่อเป็นพยัญชนะสะกด และเสียง ก ค จ ช ซ ต ท ป พ ฟ ฮ เสียงสระในภาษาไทยไม่เป็นอโฆษะ, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงไม่ก้อง ว่า พยัญชนะอโฆษะ ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๑, ๒ ของวรรค และ ศ ษ ส. | อัจฉริยลักษณ์, อัจฉริยลักษณะ | น. ลักษณะดีเด่นเป็นที่น่าอัศจรรย์ เช่น อัจฉริยลักษณ์ของภาษาไทย อัจฉริยลักษณะของมหาบุรุษ. | อัพภาส | (อับพาด) น. คำซํ้า, ในไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต หมายเอา การซ้อนหรือซํ้าอักษรลงหน้าศัพท์ เช่น ชวาล (เรือง) เป็น ชัชวาล (รุ่งเรือง), ในภาษาไทยก็ใช้ เช่น ครื้น ครึก ยิ้ม แย้ม ใช้ อัพภาส เป็น คะครื้น คะครึก ยะยิ้ม ยะแย้ม. |
| Picture Vocabulary Program | โปรแกรมภาพคำศัพท์, ซอฟต์แวร์ช่วยในการเรียนรู้ของเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ ประกอบด้วยคำศัพท์ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้อมรูปภาพ [Assistive Technology] | Thai Sign Language Program: computer vocabulary | ภาษามือไทยชุดคำศัพท์คอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูลภาษามือไทย ที่บรรจุคำศัพท์คอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลประกอบไปด้วย คำศัพท์ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย ภาพ วีดิทัศน์ภาษามือไทย [Assistive Technology] | Abbreviations, Thai | อักษรย่อภาษาไทย [TU Subject Heading] | Inscriptions, Thai | จารึกภาษาไทย [TU Subject Heading] | Northern Thai language | ภาษาไทยเหนือ [TU Subject Heading] | Southern Thai language | ภาษาไทยใต้ [TU Subject Heading] | Subject headings, Thai | หัวเรื่องภาษาไทย [TU Subject Heading] | Thai character sets (Data processing) | ชุดอักขระภาษาไทย (การประมวลผลข้อมูล) [TU Subject Heading] | Thai language | ภาษาไทย [TU Subject Heading] | Thai teachers | ครูภาษาไทย [TU Subject Heading] | Convention | ในภาษาไทยแปลว่า อนุสัญญา แต่คำนี้ใช้แทนคำว่า สนธิสัญญา (Treaty) บ่อย ๆ ผู้เขียนหลายท่านเห็นว่า ทั้งสองคำนี้ไม่ค่อยจะมีความหมายแตกต่างกันมากนัก แม้ว่าคำ Convention มักจะใช้กันเป็นประจำ โดยหมายถึงความตกลงที่กระทำกันในการประชุมระหว่างประเทศ ตัวอย่างเช่น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่กระทำกัน ณ กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม ถึง 14 เมษายน ค.ศ. 1961 (The Vienna Convention on Diplomatic Relations) [การทูต] | Thai Corner | มุมหนังสือไทย " เป็นโครงการบริจาคหนังสือ ตำราเรียนภาษาไทย รวมทั้งศิลปวัตถุของไทย หรือศูนย์วัฒนธรรมไทยเพื่อการเผยแพร่ภาษาไทยและศิลปวัฒน- ธรรมไทยให้แก่ประเทศเพื่อนบ้านหรือมิตรประเทศ โดยอาจใช้สถานที่ในห้องสมุดสาธารณะ หรือในมหาวิทยาลัยของต่างประเทศ หรือในสถานทูตสถานกงสุลไทยโดยจัดตั้งเป็นมุมเฉพาะสำหรับจัดวางหนังสือไทยให้ ชาวต่างชาติได้อ่านหรือศึกษาภาษาไทย บางแห่งอาจเรียกชื่อว่า Thai Collection ก็ได้ " [การทูต] | itai itai | โรคอีไตอีไต, โรคแพ้พิษของแคดเมียม มีอาการปวดอย่างรุนแรงทั่วร่างกาย และจะทำให้เสียชีวิตได้เมื่อร่างกายสะสมไว้สูงถึง 50 มิลลิกรัม คำนี้เป็นคำอุทานในภาษาญี่ปุ่น แสดงความเจ็บปวด (ตรงกับโอย โอย ในภาษาไทย) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| ENGLISH | คำแปลภาษาไทย โดย NuNont Deep Throat (1993) | As soon as we're in position we'll be on a count of five. | คำบรรยายภาษาไทยโดย NuNont ทันที่เราประจำตำแหน่ง เราจะนับห้า Squeeze (1993) | # Out where dreams come true ## | ที่ที่ความฝันเป็นจริง บรรยายภาษาไทยโดย PJSOFT An American Tail (1986) | This is in Thai. I can't sign this. | เอกสารเป็นภาษาไทย ฉันไม่ได้พูดไทย ฉันเซ็นไม่ได้ Brokedown Palace (1999) | Clearly, I can't read Thai. | เห็นได้ชัดว่าฉันอ่านภาษาไทยไม่ออก Brokedown Palace (1999) | Subtitle by: (MFMS)d | จบ Subtitles ภาษาไทย โดย testified Mr. Bean's Holiday (2007) | Was there any dna Left on the scene? Uh, yeah. | ภาษาไทยวันละคำช่วงนี้การ์เซียขอเสนอคำว่า "น่าขยะแขยง" Conflicted (2009) | What's he gonna do with that, watch Bruce Lee movies without the subtitles? | เขาจะเรียนไปทำอะไรล่ะ ดูหนังบรูซ ลี โดยไม่ต้องมีแปลภาษาไทยอย่างนั้นหรือ Everybody Says Don't (2009) | It's a thai menu. - Mm-hmm. | มันเป็นเมนูภาษาไทย ออออ เอ่อ Lost Boys (2009) | == sync, corrected by elderman == | คำบรรยายภาษาไทยโดย maxldi Pilot (2010) | Spot Lyrics Translators: fore, songbird | ภาษาไทยจากข้าเจ้า RuNJaI Episode #1.11 (2010) | So, I guess we both messed up a little. | == แปลและ บรรยายภาษาไทย โดยfontcolor=#00FF00moroboshi == The Good Guy Fluctuation (2011) | I imagine "top secret," like this one in English, dated June, 1945. | ฉันนึกถึงพวก"ลับสุดยอด"\ประมาณนี้ในภาษาไทย เดือนมิถุนา, ปี1945 Three Coins in a Fuchsbau (2012) | There are many robot servers, and they serve you all day. | ภาษาไทย ] มีเซิร์ฟเวอร์หุ่นยนต์จำนวนมาก และพวกเขาจะให้บริการคุณทุกวัน. Elysium (2013) | D3xt3r:- | - บทแปลภาษาไทย by: Dragonfly August: Osage County (2013) | What's "five minutes" in Thai? Please. | ห้านาทีพูดว่ายังไงในภาษาไทย ได้โปรด Hacker (2016) | Subs CEDRA productions Translated by Patrick | บทภาษาไทยโดย รเมศ NSBat March of the Penguins (2005) |
| ชื่อภาษาไทย | [cheū phāsā Thai] (n, exp) EN: Thai name FR: nom thaï [ m ] | อิทธิพล(ของ)ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย | [itthiphon (khøng) phāsā tāngprathēt nai phāsā Thai] (xp) EN: influence of foreign languages on Thai | การใช้ภาษาไทย | [kān chai phāsā Thai] (n, exp) EN: Thai language usage | การสอนภาษาไทย | [kān søn phāsā Thai] (n, exp) EN: teaching Thai FR: enseignement du thaï [ m ] | โครงสร้างคำในภาษาไทย | [khrōngsāng kham nai phāsā Thai] (n, exp) EN: Thai word structure | หลักภาษาไทย | [lak phāsā Thai] (n, exp) EN: fundamentals of teh Thai language FR: bases de la langue thaïe [ fpl ] | ในภาษาไทย | [nai phāsā Thai] (n, exp) EN: in Thai FR: en thaï ; en langue thaïe | ภาษาไทย | [phāsā Thai] (n) EN: Thai language FR: thaï [ m ] ; langue thaïe [ f ] | ภาษาไทยเชิงธุรกิจ | [phāsā Thai choēng thurakit] (n, exp) EN: Thai for business FR: Thaï commercial [ f ] ; Thaï des affaires [ m ] | ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร | [phāsā Thai pheūa kān seūsān] (n, exp) EN: Thai language for communication | ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารธุรกิจ | [phāsā Thai pheūa kān seūsān thurakit] (n, exp) EN: Thai for business communication | ภาษาไทยถิ่น | [phāsā Thai thin] (n, exp) EN: Thai dialect | ภาษาไทยถิ่นอีสาน | [phāsā Thai thin Īsān] (n, exp) EN: Northeastern Thai dialect ; Northeastern dialect ; Isan diailect | ภาษาไทยถิ่นกลาง | [phāsā Thai thin klāng] (n, exp) EN: Central Thai Dialect ; Central dialect | ภาษาไทยถิ่นเหนือ | [phāsā Thai thin neūa] (n, exp) EN: Northern Thai dialect ; Northern dialect | ภาษาไทยถิ่นใต้ | [phāsā Thai thin tāi] (n, exp) EN: Southern Thai Dialect ; Southern dialect | พระคัมภีร์ภาษาไทย | [Phrakhamphī phāsā Thai] (n, prop) EN: Thai Bible FR: Bible en thaï | พูดภาษาไทย | [phūt phāsāThai] (v, exp) EN: speak Thai FR: parler le thaï | ระบบเสียงภาษาไทย | [rabop sīeng phāsā Thai] (n, exp) EN: Thai phonology | ตัวหนังสือภาษาไทย | [tūanangseū phāsā Thai] (n, exp) FR: caractère thaï [ m ] | ไวยากรณ์ภาษาไทย | [waiyākøn phāsā Thai] (n, exp) EN: Thai grammar FR: grammaire thaïe [ f ] |
| longdo | (n) ชื่อของบริการนี้ มาจากภาษาไทยว่า ลองดู มาจากแนวคิดที่ว่า แนวคิดนี้อาจจะดีหรือไม่ดี ประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว ก็ไม่แน่ ลองดูเลยดีกว่า | computer | (n) คณิตกร (ศัพท์บัญญัติในภาษาไทย) |
| | ^ | <คำแปล> hat หมายถึง สัญลักษณ์ที่มีลักษณะคล้ายหมวก (^) ในภาษาไทยเราก็เรียกเครื่องหมายนี้ว่า "หมวก" ใช้แทน แป้นควบคุม (Control Key) เช่น กดแป้นควบคุมและแป้น K จะใช้ย่อ ๆ ว่า กด ^K ในภาษาเบสิกใช้หมายถึงการยกกำลัง เช่น 5^3 มีความหมายว่า 5 ยกกำลัง 3 ดู caret ประกอบ^ (สัญลักษณ์) <เครื่องหมาย>caretหมายถึง สัญลักษณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อกดแป้น Shift+6 (^) สัญลักษณ์นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมของบางภาษา โดยจะแทนคำสั่งเฉพาะบางคำสั่ง มีความหมายแตกต่างกันไป เช่น ^ ในภาษาปาสกาล (Pascal) ใช้แทนตัวชี้ (pointer) , ^ ใน ภาษาซี (C) ใช้แทนตัวดำเนินการ exclusive OR, ^ ใน ภาษาเบสิก (BASIC) ใช้แทนการยกกำลัง เป็นต้น | brain damaged | ใช้การไม่ได้ไร้สมองหมายถึง อะไรก็ตามที่ภายนอกดูดี แต่ข้างในจริง ๆ นั้นแย่มาก ๆ เข้าทำนอง "ข้างนอกสุกใส ข้างในต๊ะติ่งโหน่ง" สำนวนภาษาไทย อีกสำนวนหนึ่งที่มีความหมายคล้ายกันก็คือ "สวยแต่รูป จูบไม่หอม" ถ้าใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ก็หมายถึงเครื่องที่ทำงานไม่มีประสิทธิภาพเหมือนกับที่โฆษณาเอาไว้ | caps lock key | แป้นตรึงอักษรตัวใหญ่ <คำแปล>เป็นแป้น ๆ หนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีคำ Caps lock อยู่บนแป้น ปกติจะมีในเครื่องพิมพ์ดีดธรรมดาด้วย หากกดแป้นนี้ไว้ครั้งหนึ่งแล้ว ถ้าเป็นการพิมพ์ภาษาอังกฤษ จะมีผลทำให้การกดแป้นพิมพ์ตัวอักษรทุกตัวออกมาเป็นตัวใหญ่ (capital letter) ไปตลอด เหมือนกดแป้น Shift ไปพร้อมกัน แต่ถ้าพิมพ์ภาษาไทย การกดแป้นนี้ไว้ตั้งแต่แรก แล้วไปกดแป้นอื่น ก็จะเท่ากับเป็นการพิมพ์ตัวที่อยู่ข้างบนของแป้นพิมพ์ เช่น ฤ ฆ ฏ 1 2 หากต้องการยกเลิก ให้กดแป้นนี้ซ้ำอีกครั้งหนึ่ง | click | (คลิค) 1. { clicked, clicking, clicks } n. เสียงดังกริ๊ก, กลอนสปริง, ตัวดึง, เสียงกระเดาะลิ้น vi. เสียงดังกริ๊ก, เปล่งเสียงดังกริ๊ก, กระเดาะลิ้นดังกริ๊ก, กระทำสำเร็จ, ประสานกันได้ดี, สอดคล้อง, ได้รับการต้อนรับจากประชาชน vt. ทำให้เกิดเสียงดังกริ๊ก, กระทบดังกริ๊ก 2. กด (เมาส์) การกดนิ้วในจังหวะสั้น ๆ เร็ว ๆ 1 ที ลงบนปุ่มใดปุ่มหนึ่งของของเมาส์ (ส่วนใหญ่จะใช้ปุ่มซ้ายมือสุด) แล้วยกออกในทันที ใช้เมื่อต้องการสั่งการตามรายการในเมนู หรือเลือกรายการที่ต้อง การที่มีแสดงอยู่บนจอภาพ โดยเลื่อนเมาส์ให้ลูกศรชี้อยู่ที่คำสั่งที่ต้องการก่อน จึงค่อยกด (ในภาษาไทยอาจใช้สั้น ๆ ว่า "กดเมาส์ ") ในบางกรณี ต้องกดสองทีเร็ว ๆ เรียกว่า double click ดู double click ประกอบ | computer science | วิทยาการคอมพิวเตอร์สาขาวิชาทางคอมพิวเตอร์สาขาหนึ่ง ที่ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ และการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาใช้งาน หรือสั่งให้ทำงานให้ตามความประสงค์ เป็นต้นว่า กระบวนการต่าง ๆ ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ (information) ฯ อนึ่ง ศัพท์นี้ในภาษาไทยมีใช้กันอยู่หลายคำ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ วิทยาการคอมพิวเตอร์ | file name | ชื่อแฟ้ม (ข้อมูล) แฟ้มข้อมูลก็ดี โปรแกรมหรือชุดคำสั่งก็ดี จะต้องมีชื่อที่ ไม่ซ้ำกัน เพื่อให้ผู้ใช้ติดต่อสั่งงานกับคอมพิวเตอร์ได้เมื่อ ต้องการ เรียกใช้ระบบปฏิบัติการแต่ละระบบ จะมีข้อกำหนด กฎเกณฑ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับการตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลไว้ เป็นต้นว่า ระบบดอสและวินโดว์ มีข้อกำหนดว่า ชื่อของแฟ้ม ข้อมูล จะต้องยาวไม่เกิน 8 ตัวอักขระ (ตัวอักษรหรือตัวเลข) ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ต้องไม่มีช่องว่าง ฯ และที่สำคัญที่สุด คือตั้งชื่อเป็นภาษาไทยไม่ได้โดยเด็ดขาด นอกจากนั้น อาจจะต้องมีนามสกุล (filetype) ซึ่งต้องประกอบด้วย 3 ตัวอักษร ส่วนระบบของแมคอินทอช มีข้อจำกัดน้อยกว่านั้น มาก เช่น จะใช้ภาษาไทยก็ได้ | lower case | ตัวเล็กใช้เมื่อพูดถึงแป้นพิมพ์ หมายถึง การพิมพ์ตัวเล็กในความหมายที่ไม่ใช่ capital letter เช่น a b c d .. (ถ้า เป็นตัวใหญ่ ต้องมีลักษณะดังนี้ เช่น A B C D ภาษาไทยไม่มีตัวเล็ก/ตัวใหญ่ lower case จึงหมายถึง อักขระตัวล่าง และ upper case หมายถึงอักขระตัวบนของแป้นพิมพ์ดู upper case เปรียบเทียบ | natural language processi | การประมวลผลภาษาธรรมชาติหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำการประมวลผลได้โดยใช้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาธรรมชาติ พูดง่าย ๆ ก็คือ สามารถใช้ภาษาธรรมดา ๆ สั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามได้ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์จะใช้ภาษาเฉพาะที่มีกฎเกณฑ์ ไวยากรณ์ และศัพท์ของตนเอง ที่เรียกว่า ภาษาเชิงมนุษย์ (human oriented language) เช่น ภาษา C ภาษา BASIC ภาษา COBOL ฯ ส่วนภาษาธรรมชาตินั้น หมายถึง ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย แม้ว่าในปัจจุบัน จะมีการ พัฒนาด้านนี้กันไปไกลมาแล้ว แต่ก็สรุปได้ว่า ยังใช้การไม่ได้ดีเท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะภาษานั้นมีความสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก ยากที่จะแปลหรือตีความให้ตาย ตัวได้ | shan | (ชาน, แชน) n. ไทยใหญ่, ภาษาไทยใหญ่ | shift key | (แป้นพิมพ์) แป้นเปลี่ยน (ชุดอักษร) แป้นยกเป็นแป้นหนึ่งที่มีใช้ทั้งในแป้นพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ดีด และแป้นพิมพ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ (แป้นนี้ มักจะมีเครื่องหมายลูกศรบนแป้น) โดยปกติแผงแป้นอักขระจะมีไว้ให้ 2 แป้น ทั้งทางด้านซ้ายและขวา การกดแป้นนี้เพียงลำพังแป้นเดียว จะไม่ทำให้เกิดอะไรขึ้น แต่ถ้ากดพร้อมกับแป้นตัวอักษรใดในภาษาอังกฤษ จะทำให้พิมพ์ตัวอักษรนั้นออกมาเป็นตัวใหญ่ (capital letter) ถ้าเป็นภาษาไทย ก็จะเป็นตัวที่อยู่ข้างบน เช่น ฤ ฆ ฏ ฑ ฒ นอกจากนั้น ในบางโปรแกรม เช่น โปร แกรมวาดภาพ การกดแป้นนี้พร้อมกับ ลากเส้น จะทำให้ลากได้เป็นเส้นตรง ถ้ากดพร้อมกับลากรูปสี่เหลี่ยม ก็จะทำให้รูปที่วาด เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส เป็นต้น | siamese | (ไซมะมีซ', -มีส') adj., n. (เกี่ยวกับ) ประเทศไทย, คนไทย, ภาษาไทย, วัฒนธรรมไทย, ฝาแฝด, มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด, เหมือนกัน, แมวไทย | space character | ช่องว่าง (ตัวอักขระ) ในภาษาอังกฤษ หมายถึง ช่องว่างระหว่างคำที่เกิดจากการกดที่คานเคาะ ในภาษาไทย มีความหมายเหมือน "เว้นวรรค" ช่องว่างนี้ คอมพิวเตอร์จะถือว่าเป็นอักขระตัวหนึ่งเหมือนกัน (เหมือนตัวอักษร A B C D) | special character | อักขระพิเศษแต่เดิมใช้หมายถึงอักขระที่เป็นเครื่องหมายต่าง ๆ เช่น + - * / $ = , " " ฯลฯ รวมทั้งสระ วรรณยุกต์ ในภาษาไทย บางทีเรียกรวม ๆ ว่า เครื่องหมายวรรคตอนก็ได้ นอกจากนั้น ยังหมายรวมถึงตัวอักขระที่ไม่สามารถกดได้จากแป้นพิมพ์ แต่อาจใช้เทคนิคบางอย่างทำให้พิมพ์ออกมาได้ เช่น ถ้าเป็นเครื่องแมคอินทอช การกดแป้น Shift+ALT+K จะได้ภาพลูกแอปเปิลแหว่ง (สัญลักษณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแอปเปิล) ถ้าใช้แบบอักษรชื่อ Symbol | zapf chancery | แซพฟ แชนเซอรี <คำอ่าน>เป็นชื่อแบบอักษร (font) ที่ใช้ในภาษาอังกฤษแบบหนึ่ง (ภาษาไทยใช้ไม่ได้) ใช้กับเครื่องแมคอินทอช |
| Siamese | (n) ชาวสยาม, ชาวไทย, ภาษาไทย | Thai | (n) ภาษาไทย, คนไทย, ชาวไทย |
| complacency | (n) การหลงพึงพอใจ (แบบทุเรศ) Note: Longdo และ dictionary อื่นมองข้ามรูปแบบการใช้ในหลายคำ อย่างคำนี้ มีรูปแบบเชิงลบ และเป็นลบมาก. ทั้งคำ complacency และ complacent ไม่ตรงกับภาษาไทยที่เราใช้ทั่วไป จึงยากที่จะตั้งคำได้ตรง. | lnw | (slang) เป็นคำที่เลียนแบบภาษาไทยให้ดูคล้ายคำว่า "เทพ" เป็นที่นิยมในหมู่เกรียนเพื่อที่จะบ่งบอกความเก่งของตน ซึ่งโดยมากจะตรงกันข้ามโดยสิ้นเชิง, Syn. god | Notice that setdiff is not symmetric. Further, note that we can calculate the comp | [ไทย] (n, vi, vt, aux, verb, adj, adv, conj, pron, phrase, abbrev, uniq) ภาษาไทย | openoffice.org | (uniq) ชุดซอฟต์แวร์เพื่อสำนักงาน เรียกทับศัพท์ว่า "โอเพนออฟฟิศ" เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สโดยบริษัท ซันไมโครซิสเต็ม ซึ่งมีความสามารถในการใช้งานภาษาไทย และ สามารถทดแทนชุดซอฟต์แวร์เพือสำนักงานอื่นๆ ได้ เช่นสามารถเปิดไฟล์ที่นามสกุล .doc, .xls ได้ Image: | phasin | (n, name) ผ้าซิ่น เป็นเครื่องแต่งกายของผู้หญิง ผ้าทอเป็นผืนด้วยมือ เป็นผืนยาวประมาณ 2 เมตร ใช้นุ่งโดยการพันรอบตัวตั้งแต่เอวลงไป อาจตัดและเย็บก็ได้ มีใช้ในประเทศไทย ลาว พม่า มีลวดลายต่าง ๆ กัน ภาษาไทยเรียก ผ้าถุง หรือผ้านุ่ง ก็ได้ | ภาษาพูด | [อังกฤษ] (colloq) ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ |
| タイ語 | [たいご, taigo] (n) ภาษาไทย | 補数 | [ほすう, hosuu] ภาษาไทยมักใช้ทับศัพท์ว่า Complement เป็นศัพท์เฉพาะทางในสายวิชาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ One Complement 1の補数, Two Complement 2の補数 One Complement คือ จำนวนที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้ได้เป็นค่าสูงสุดของเลขฐานนั้นๆ ในจำนวน digit ที่เท่ากัน เช่น คำถาม: ให้หา One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 คำตอบ: 345 มี 3 หลัก (digit) ค่าสูงสุดของเลขฐาน 10 ที่มี 3 หลักคือ 999 999-345=654 654 คือ One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 Two Complement คือ จำนวนน้อยที่สุดที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้จำนวนหลัก (digit) ของผลลัพธ์เพิ่มขึ้น 1 หลัก (digit) โดยปกติ วิธีการหา Two Complement ก็คือ เอา One Complement + 1 เช่น คำถามข้างบน ก็จะได้ Two Complement ของ 345 เป็น 655 | 三昧 | [さんまい, sanmai] (n) สมาธิ (คำว่า สัมไม เป็นคำศัพท์ทางศาสนาที่ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาบาลีสันสกฤตของอินเดียอย่างเดียวกับที่ภาษาไทยใช้ ที่อินเดียจะออกเสียงว่า สะ-มา-ดิ๊) |
| Erdgeschoss | (n) |das| ชั้นล่างสุด (ไม่ใช่ชั้นใต้ดิน) ซึ่งเท่ากับชั้นที่หนึ่งในภาษาไทย | Thailändisch | (n, uniq) |das| ภาษาไทย |
| Salut! | เป็นคำทักทายสำหรับคนที่รู้จักกันดีแล้ว หรือในหมู่เพื่อน คล้าย หวัดดี (สวัสดี)ในภาษาไทย |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |