ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ภาษา, -ภาษา- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ คอลแลปส์ | มาจากคำภาษาอังกฤษ collabs ซึ่งย่อมาจาก collaborations อีกที แปลว่า ความร่วมมือกัน การร่วมมือกัน |
|
| chengal | (n) ไม้ตะเคียนชันตาแมว (เป็นชื่อในภาษามาเลเซีย) |
| English | (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, o) ภาษาไทย-อังกฤษ | คนเดียว | (jargon) ในภาษาเหนือคำนี้ จะใช้บรรยายลักษณะของการกระทำว่าเกิดขึ้น “ด้วยตัวเอง” โดยไม่เกี่ยวว่าจะมีคนทำอยู่กี่คน และใช้ได้กับทั้ง คน, สัตว์, สิ่งของหรือสถานที่ก็ได้ เช่น อยู่ๆรถเครื่องของผมมันก็ดับไปคนเดียว แปลว่า อยู่ๆรถมอเตอรไซด์ของผมมันก็ดับไปเอง | จด | (jargon) ในภาษาเหนือจะแปลว่า ติด เช่น จดกระดุมก็คือ ติดกระดุม | จุงเบย | จังเลย เป็นภาษาวัยรุ่น เพี้ยนมาจาก "จังเลย" บ้างว่าเนื่องมาจาก การพิมพ์บนคอมพิวเตอร์ที่ ไม้หันอากาศ อยู่ใกล้กับ สระอุ และ ล ลิง อยู่ใกล้กับ บ ใบไม้ พิมพ์ผิดบ่อยครั้งเลยกลายเป็นที่ใช้กันพอสมควรในบริบทที่เป็นลักษณะเล่นๆ หรือ เด็กๆ หรือ ทีเล่นทีจริง | ถถถถถ | (slang, ภาษาอินเทอร์เน็ต) หัวเราะ หรือ 55555 (hahahahaha) เนื่องจากบนคีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์ทั่วไป ปุ่มอักษร ถ จะตรงกับเลข 5 ในภาษาอังกฤษ และผู้พิมพ์มักลืมกดปุ่มเปลี่ยนภาษาจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยก่อน ตั้งใจจะพิมพ์ 55555 เลยกลายเป็น ถถถถถ เมื่อมีการพิมพ์ผิดกันบ่อยครั้ง จึงถือกันว่าคำว่า ถถถถถ ก็ใช้แทนความหมายของ 55555 ไป | บ่องตง | (slang) บอกตรงๆ ซึ่งเป็นภาษาวัยรุ่นในปัจจุบัน นิยมใช้ในอินเตอร์เน็ต และ ภาษาพูดทั่วไป | มีไหน | (jargon) เป็นภาษาเหนือแปลว่า มีอะไร หรือว่า อยู่ไหน เช่น พ่อแม่เธอมีไหน? ก็แปลว่า พ่อแม่ของเธออยู่ไหน? เป็นต้น | รถเครื่อง | (jargon) ในภาษาเหนือแปลว่า รถมอเตอร์ไซค์ | สุด | (jargon) ในภาษาเหนือจะแปลว่า ตลอดช่วงนั้นๆ, ตั้งแต่ต้นจนจบ เช่น เมื่อคืนบัวตองเต้นสุดเพลงเลย ก็หมายถึง เมื่อคืนบัวตองเต้นตลอดทั้งเพลงเลย | เจ็บหัว | (jargon) ในภาษาเหนือจะแปลว่า อาการปวดหัว มึนหัว วิงเวียน (ไม่ได้มีอาการบาดเจ็บหรือมีบาดแผลที่หัว) เช่น เมื่อฉันคืนนอนน้อยตื่นมาเลยเจ็บหัวมาก แปลว่า เมื่อคืนฉันนอนน้อยตื่นมาเลยเวียนหัว | เซราะกราว | (adj, slang) บ้านนอก, ชนบท, การเป็นคนบ้านนอก (ใช้โดย โน้ตอุดม แต้พานิช ในการแสดงเดี่ยว ไมโครโฟน ในลักษณะเสียดสีทำนองเย้ยหยันว่ามาจากชนบท หรือ บ้านนอก เข้าใจว่าแผลงมาจากภาษาเขมร) | เปิดบริสุทธิ์ | [เปิด-บอ-ริ-สุด] (vt, อาการนาม) เปิดบริสุทธิ์ (คำอาการนาม การเปิดบริสุทธิ์) (ภาษาปาก) ร่วมประเวณีกับหญิงที่ยังไม่เคยมีประสบการณ์ในการร่วมเพศมาก่อน, ภายหลังขยายความมาถึงชายด้วย | เมพขิงๆ | (phrase, slang) มาจากการพิมพ์คำว่า เทพจิงๆ ผิด, ซึ่งเพี้ยนมาจาก เทพจริงๆ อีกที ซึ่งแปลว่า เก่งจริงๆ, เหนือชั้นจริงๆ เป็นภาษาตามสมัยนิยม ใช้กันมากในอินเทอร์เน็ต เช่น เว็บบอร์ด, เกมออนไลน์ โดยคำว่าเทพในที่นี้ใช้ในความหมายว่า เก่งในเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากๆ, เนื่องจากแป้นคีย์บอร์ด ตัว ท กับ ม และ ข กับ จ อยู่ติดกัน | เมือง | (jargon) คำที่คนเหนือใช้เรียกสิ่งที่มาจากวัฒนธรรมของตัวเอง เช่น คำเมือง คนเมือง อาหารเมือง เป็นต้น ดังนั้น ในภาษาเหนือ คำว่า “คนเมือง” จะไม่ได้หมายถึงเป็นคนที่โตมาในเมืองหรือทำงานในเมือง แต่หมายถึงคนที่มาจากภาคเหนือหรือโตมากับวัฒนธรรมของชาวเหนือ | ခ | [kha] (n) ခ พยัญชนะตัวที่ ๒ ในภาษามอญ |
| язык | [ยี-ซึก'] (imperfective) ภาษา |
| การศึกษาค้นคว้าภาษาอังกฤษโดยอิสระ | (n, phrase) Independent Study in English | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ | (n, phrase) English for Business Communication | ภาษาอังกฤษเพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ | (n, phrase) English for Advertising and Public Relations | ภาษาอังกฤษเพื่อการโรงแรม | (n, phrase) English for Hotel | วิชาการอ่านภาษาอังกฤษธุรกิจ | (n, phrase) Business English Reading | วิชาการเขียนภาษาอังกฤษธุรกิจ | (n, phrase) Business English Writing | วิชาภาษาอังกฤษงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม | (n, phrase) English for Food and Beverage Services | วิชาภาษาอังกฤษธุรกิจขนส่ง | (n, phrase) English for Transport Business | วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว | (n, phrase) English for Tourism | วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการนาเสนอทางธุรกิจ | (n, phrase) English for Business Presentation | วิชาสนทนาภาษาอังกฤษธุรกิจ | (n, phrase) Business English Conversation |
| ดา | (ว) คำแสดงความต้องการมีส่วนร่วม เช่น ฉันขอไปดา แปลว่า ฉันขอไปด้วย *หมายเหตุ ภาษาโคราช, See also: S. เบิ้ง, เดิ้่ง | ถั่วะ | คำประกอบท้ายคำที่แสดงถึงความต้องการให้ทำตามอย่างหงุดหงิด เช่น ดูถั่วะ แปลว่า ดูซิ (ในเชิงน้ำเสียงไม่พอใจ) *หมายเหตุ ภาษาโคราช, See also: S. ซิ | ห่าว | (modal, verb) แก่แดด *หมายเหตุ ภาษาโคราช | เดิ้ง | (ว) คำแสดงกริยาที่ต้องการทำร่วม เช่น ฉันขอกิ่นเดิ้ง แปลว่า ฉันขอกินด้วย *หมายเหตุ ภาษาโคราช, See also: S. ด้วย | เบิ้ง | (ว) คำที่แสดงความรู้สึกต้องการทำร่วมหรือมีส่วนร่วม เช่น ฉันขอลองทำเบิ้ง แปลว่า ฉันขอลองทำบ้าง *ภาษาโคราช, See also: S. บ้าง, ด้วย | แถะ | คำเน้นท้ายคำที่ทำให้ประโยคดูเด่นขึ้น เช่น หิวแถะๆ แปลว่า หิวจังเลย *หมายเหตุ ภาษาโคราช | โกรกกราก | (adv) เร่งรีบ, รีบด่วน *หมายเหตุ ภาษาโคราช |
| ภาษายาวี | รักนะ | หลำ | [หล๋ำ] (vt) มั่ว, ไม่รู้จริงแต่พูดเหมือนรู้จริง, แสดงอาการเคลื่อนไปข้างหน้าหลวมตัวไปเรื่อย ๆ มีที่มาจากคำว่าถลำ โดยภาษาไทยจะอ่านว่า ถะหฺลํา แต่ภาคใต้เน้นเสียงพูดแบบเร็วๆ จึงควบคำเป็น หลำ และเอามาใช้ในความหมายในเชิงตำหนิ เมื่อมีใครพูดหรือแสดงอาการกระทำบางอย่างที่ไม่รู้จริงแต่ทำเหมือนรู้จริง ก็จะตำหนิว่า หลำ, See also: S. มั่วนิ่ม, เนียน, R. ถลำ, หลำพ่ก, หลำอิตาย, หลำเมร่อ |
| | ภาษาอีสาน | [ภา-สา-อี-สาน] (n) ภาษาอีสานเป็นภาษาท้องถิ่นที่มีความหลากหลาย เนื่องจากภาคอีสานมีหลากหลายชนเผ่าจึงทำให้เกิดความหลากหลายทางภาษา อ้างอิง : https://esan108.com/dict/ |
| က | [ka'] (n) พยัญชนะตัวที่ ๑ ของภาษามอญ | ဂ | [/ge'/] พยัญชนะตัวที่ ๓ ของภาษามอญ | ဃ | [ghe'] พยัญชนะตัวที่ ๔ ของภาษามอญ | ဃ | [ghέ เคี่ยะ] (n) พยัญชนะตัวที่ ๔ ของภาษามอญ | စ | [ca จะ] พยัญชนะตัวที่ ๖ ของภาษามอญ | ဆ | [cha ชะ] (n) พยัญชนะตัวที่ ๗ ของภาษามอญ | ၚ | [ŋέ เงี่ยะ] พยัญชนะตัวที่ ๕ ของภาษามอญ |
| ภาษา | (n) language, See also: speech, words, Syn. คำพูด, Example: ปัญหาชายแดนภาคใต้มีสาเหตุมาจากความไม่เข้าใจซึ่งกันและกันในเรื่องของภาษา ระหว่างไทยพุทธ และคนมุสลิม, Thai Definition: เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน | ภาษาคน | (n) human speech, See also: human tongue, human language, Syn. ภาษามนุษย์, Ant. ภาษาสัตว์, Example: สัตว์ที่ถูกฝึกดีมักจะฟังภาษาคนรู้เรื่อง, Count Unit: ภาษา | ภาษาซี | (n) C programming language, Example: งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มักจะเขียนด้วยภาษาสูง เช่น ภาษาซี หรือภาษาโคบอล | นักภาษา | (n) linguist, Example: หมู่นี้นักภาษาถูกกล่าวหาบ่อยว่าเป็นผู้ที่ไล่ตามความเจริญ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการศึกษาภาษา | ภาษากาย | (n) body language, Example: ภาษาพูดนั้นสื่อความคิด แต่ภาษากายสื่อความรู้สึกได้ลึกซึ้งยิ่งกว่า, Thai Definition: การใช้ความเคลื่อนไหวหรือท่าทางของร่างกาย สื่อให้ผู้คนเข้าใจตามความต้องการ | ภาษาจีน | (n) Chinese, Example: ภาษาจีนมีทั้งภาษาพูด ภาษาเขียน และภาษาที่เป็นสัญลักษณ์, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่คนจีนใช้พูดจาติดต่อสื่อสารกัน, ภาษาประจำชาติหรือประเทศจีน | ภาษาปาก | (n) colloquialism, See also: colloquial expression, spoken language, Syn. ภาษาพูด, Example: ภาษาที่เราใช้พูดในชีวิตประจำวันเป็นภาษาปากที่ไม่ต้องพิถีพิถันเลือกใช้คำมากนัก, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาหรือระเบียบคำที่พูดกันธรรมดาโดยไม่ได้เคร่งครัดกับไวยากรณ์อย่างภาษาหนังสือ | ภาษาพูด | (n) colloquialism, Ant. ภาษาเขียน, Example: เนื่องจากเด็กยังไม่เข้าใจภาษาพูดได้ เขาจึงมีความรู้สึกไวเป็นพิเศษต่อกิริยาท่าทาง, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ถ้อยคำที่ใช้พูดจากัน | ภาษามือ | (n) finger language, See also: sign language, finger alphabet, Example: คนใบ้ใช้ภาษามือเพื่อสื่อสารกัน, Thai Definition: การใช้กิริยาของมือแสดงความหมายต่างๆ ตามกำหนดของการศึกษาของผู้บกพร่องทางการได้ยิน | ภาษาสูง | (n) high language, Example: ถ้าต่างชาติหรือเด็กเกิดเมืองนอกที่คิดจะเรียนศัพท์แสงภาษาไทยมาอ่านโคลงกลอนเมื่อใด เมื่อนั้นเป็นต้องเปลี่ยนใจเลิกเรียนภาษานี้ทันที นี่แหละภาษาสวย ภาษาสูง ประสาภาษาไทย, Thai Definition: ระดับหนึ่งของภาษา ซึ่งเป็นการใช้ภาษาในระดับยาก ที่ต้องการความสละสลวย เช่นภาษาที่ใช้ในวรรณกรรมชั้นสูง หรือทางวรรณศิลป์ เป็นต้น | ภาษาสูง | (n) high level language, Syn. ภาษาในระดับสูง, Ant. ภาษาต่ำ, ภาษาในระดับต่ำ, Example: งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มักจะเขียนด้วยภาษาสูง เช่นภาษาซี หรือภาษาโคบอล, Thai Definition: ภาษาคอมพิวเตอร์ทั่วไป | ภาษาแม่ | (n) mother language, See also: mother tongue, Example: แนวโน้มภาษาแขกในมาเลเซียเปลี่ยนแปลงไป แขกยุคใหม่เริ่มหันหลังให้กับภาษาแม่ของตน และหันมาพูดภาษาที่ใช้ในการศึกษาธุรกิจและระหว่างประเทศแทน, Thai Definition: ภาษาที่เรียนเป็นภาษาแรก และสามารถใช้ภาษานี้ได้ดีกว่าภาษาอื่นๆ | ภาษาใบ้ | (n) sign language, Example: การแก้ไขการพูดสำหรับคนที่ใช้เครื่องช่วยฟังจะใช้ภาษาใบ้เป็นหลัก, Thai Definition: กริยาอาการที่ทำให้เข้าใจแทนการพูด | ภาษาไทย | (n) Thai, See also: Siamese, Thai language, Example: บุหรี่นำเข้าจะต้องมีการพิมพ์คำเตือนเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่เป็นภาษาไทยด้วย, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่คนไทยใช้พูดจาติดต่อสื่อสารกัน, ภาษาประจำชาติหรือประเทศไทย | ส่งภาษา | (v) speak, See also: talk, chat, Syn. พูด, คุย, Example: ฉันส่งภาษากับเพื่อนชาวอเมริกันอยู่หลายนาทีถึงจะรู้ความต้องการของกันและกัน, Thai Definition: เจรจาปราศรัยกับผู้ที่พูดอีกภาษาหนึ่งโดยกล่าวคำเป็นภาษานั้น หรือพูดเป็นสำเนียงภาษานั้น | ภาษากลาง | (n) interlingua, See also: interlanguage, common language, Example: ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางที่นานาประเทศใช้ติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน, Count Unit: ภาษา | ภาษาตลาด | (n) informal language, See also: slang, Syn. ภาษาปาก, Example: ในงานเขียนที่ค่อนข้างเป็นทางการมักจะไม่ค่อยพบภาษาตลาดหรือภาษาปากให้เห็น, Thai Definition: ภาษาที่ใช้พูดจากันอย่างไม่เป็นทางการในระดับที่ต่ำกว่าภาษาพูด | ภาษาถิ่น | (n) dialect, See also: regional speech, localism, vernacular, Syn. ภาษาย่อย, Example: นักศึกษาจะเรียนรู้ภาษาถิ่นได้ดี ก็ต่อเมื่อเข้าไปอยู่ในถิ่นนั้นจริงๆ, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่มีสำเนียงพูดหรือคำศัพท์ที่แตกต่างกันไปตามผู้ใช้ที่อยู่ในถิ่นนั้นๆ เช่น ภาษาถิ่นเหนือ | ภาษาสากล | (n) international language, Example: เราต้องเรียนภาษาอังกฤษ เพราะภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่ใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก | ตันติภาษา | (n) classical language, See also: systematizied language, Example: ครูกำลังอธิบายความหมายของตันติภาษา, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่มีแบบแผน | ภาษามลายู | (n) Malay, Example: คนไทยเชื้อสายมลายูแม้ที่บ้านจะพูดภาษามลาย ูแต่ก็ต้องพูดภาษาไทยในสถานที่ราชการ, Thai Definition: ชื่อภาษาของชนชาติหนึ่งซึ่งอยู่ในประเทศมาเลเซีย และเกาะต่างๆ ตอนใต้ของแหลมมลายู | ภาษาละติน | (n) Latin, Example: ฝิ่นได้มาจากยางผลไม้ชนิดหนึ่งซึ่งมีชื่อตามภาษาละตินว่า ปะปาเวอซัมนิฟีรัม, Notes: (อังกฤษ) | ภาษาศาสนา | (n) religious language, Example: ปฏิคคาหก คำนี้มักคู่กันกับอีกคำหนึ่งในภาษาศาสนาพุทธคือคำที่ว่า ทายก ซึ่งหมายถึงญาติโยมสาธุชนผู้ใจบุญ, Thai Definition: ภาษาที่ใช้ในทางศาสนา | ภาษาเขียน | (n) written language, Syn. ภาษาทางการ, ภาษาสุภาพ, Example: เขาใช้ภาษาเขียนมากเกินกว่าเหตุไปหลายครั้งทำให้เรื่องไม่มีสีสันเท่าไหร่, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่ใช้ในงานเขียนซึ่งเป็นทางการมากกว่าภาษาพูด | ภาษาโบราณ | (n) ancient language, Example: อาจารย์สามารถอ่านและแปลภาษาโบราณของชนชาติกรีกได้เป็นบางคำ, Thai Definition: ภาษาเก่าก่อนที่มีมานานซึ่งคนในสมัยโบราณใช้ติดต่อสื่อสาร และในปัจจุบันไม่ได้ใช้แล้ว | ตัวแปลภาษา | (n) compiler, See also: collector, editor, translator, interpreter, Example: ตัวแปลภาษาจะช่วยให้ความสะดวกรวดเร็วในการแปลภาษาได้มากขึ้น | ตัวแปลภาษา | (n) compiler, Example: ตัวแปลภาษาจะช่วยให้ความสะดวกรวดเร็วในการแปลภาษาได้มากขึ้น | ตัวแปลภาษา | (n) compiler, Example: ตัวแปลภาษาจะช่วยให้ความสะดวกรวดเร็วในการแปลภาษาได้มากขึ้น | ผู้บอกภาษา | (n) informant, Example: ในการเก็บข้อมูลภาษาถิ่น ผู้วิจัยต้องคัดเลือกผู้บอกภาษาที่มีอวัยวะในการออกเสียงครบถ้วน เพราะมิฉะนั้นอาจจะทำให้ได้ยินเสียงผิดเพี้ยนไปได้, Thai Definition: ผู้ที่ให้ข้อมูลด้านภาษา | ภาษาครีโอล | (n) Creole, Example: มาเลเซียมีภาษาครีโอลอยู่หนึ่งภาษา คือ ภาษาครีโอลโปรตุเกส หรือเรียกอีกชื่อว่า ปาเปียคริสตัง, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่เกิดจากการผสมของภาษา 2 ภาษาขึ้นไป และใช้ภาษานั้นเป็นภาษาแม่ | ภาษาท่าทาง | (n) body language, Example: ฉันพยายามใช้ภาษาท่าทางช่วยแล้วแต่เขาก็ยังไม่เข้าใจที่ฉันพูดอยู่ดี, Thai Definition: การใช้ท่าทางต่างๆ สื่อสารแทนคำพูด | ภาษามนุษย์ | (n) human language, Syn. ภาษา, Example: นักภาษาศาสตร์คือผู้ที่ศึกษาภาษามนุษย์โดยไม่จำกัดว่าเป็นภาษาอะไร, Thai Definition: เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้, คำพูด, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน | ภาษาราชการ | (n) official language, Example: พม่าประกาศใช้ภาษาพม่าเป็นภาษาราชการ, Thai Definition: ภาษาที่กำหนดใช้สำหรับความเป็นทางการของประเทศนั้นๆ | ภาษาศาสตร์ | (n) linguistics, See also: philology, Example: พื้นฐานของการวิจัยนี้เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ภาษาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน, Thai Definition: วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่างๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ | ภาษาอังกฤษ | (n) English, Example: แม่พูดภาษาอังกฤษให้ลูกในท้องฟังทุกวันเพราะคิดว่าลูกจะได้เก่งภาษาอังกฤษ, Thai Definition: ภาษาของชนผิวขาวพวกหนึ่งที่อยู่ในเกาะทางทิศตะวันตกของทวีปยุโรปซึ่งเรียกว่า เกรตบริเตน | ภาษาแบบแผน | (n) official language, See also: standard language, formal language, Syn. ภาษาทางการ, ภาษามาตรฐาน, Example: เด็กๆ มักจะบ่นเรื่องการฝึกใช้ภาษาแบบแผน เพราะเป็นเรื่องยากสำหรับพวกเขาที่ใช้แต่ภาษาพูด, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่มีระเบียบแบบแผนที่วางไว้เป็นแนวทางในการใช้ให้เป็นมาตราฐานเดียวกัน | ภาษาต้นฉบับ | (n) source language, Example: นักแปลที่ดีจำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องที่จะแปล และมีความรู้ทั้งภาษาต้นฉบับ และภาษาเป้าหมายเป็นอย่างดี, Thai Definition: ภาษาที่ใช้ในฉบับจริงหรือฉบับต้นเรื่อง | ภาษาพิดจิ้น | (n) pidgin, Syn. ภาษาแก้ขัด, Example: ประเทศมาเลเซียมีภาษาพิดจิ้นหนึ่งภาษาคือบาซาร์มาเลย ์ซึ่งที่จริงแล้วก็คือภาษามาเลย์นั่นเอง, Notes: (อังกฤษ) | ภาษามาตรฐาน | (n) standard language, Example: ภาษาของชาวกรุงชาวเมืองซึ่งถือว่าเป็นภาษามาตรฐานของส่วนรวม ถือว่า อ้าย อี เป็นคำไม่สุภาพ | ภาษาหนังสือ | (n) written language, See also: literary language, Syn. ภาษาเขียน, Ant. ภาษาพูด, Example: คำว่า อ้าย อี เป็นคำไม่สุภาพ ไม่ควรใช้ในภาษาหนังสือ ส่วนในภาษาพูดยังมีตกค้างใช้พูดกันบ้าง | ภาษาเครื่อง | (n) machine language, Example: ข้อเสียของภาษาเครื่องคือ ภาษาของแต่ละเครื่องจะไม่เหมือนกัน ทั้งนี้แล้วแต่การออกแบบระบบเครื่องว่าจะเป็นแบบใด, Thai Definition: ภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านและขึ้นบนจอภาพได้โดยตรง | ภาษาเยอรมัน | (n) German, Example: โรงเรียนมัธยมในกรุงเทพฯ มีการสอนภาษาเยอรมันและภาษาฝรั่งเศสมานานแล้ว, Notes: (อังกฤษ) | เจ้าของภาษา | (n) native speaker, Example: นักภาษาศาสตร์ที่ศึกษาภาษาทั่วไปจะได้ข้อมูลส่วนใหญ่จากการซักถามเจ้าของภาษา, Thai Definition: คนที่พูดภาษาใดภาษาหนึ่งตั้งแต่เกิดเรียกว่าคนนั้นเป็นเจ้าของภาษา | การพัฒนาภาษา | (n) language development, Syn. การพัฒนาทางด้านภาษา | ภาษาติดต่อคำ | (n) agglutinative language, Syn. ภาษาคำติดต่อ, Example: วิชาภาษาศาสตร์แบ่งรูปภาษาต่างๆ เป็น 4 ประเภท คือ ภาษามีวิภัตติปัจจัย, ภาษาติดต่อคำ, ภาษาคำโดด และภาษาควบมากคำ | ภาษาท้องถิ่น | (n) vernacular, See also: dialect, Syn. ภาษาถิ่น, Example: หลายครั้งที่ได้ยินพวกคุณพูดคุยกันด้วยภาษาท้องถิ่น มันทำให้ผมอดที่จะคิดถึงบ้านของผมไม่ได้, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่มีสำเนียงหรือถ้อยคำที่พูดกันเป็นพื้นเฉพาะถิ่น | ภาษาธรรมชาติ | (n) natural language, Example: ภาษาธรรมชาติในแต่ละภาษาจะมีลักษณะเฉพาะตัวของตนเอง, Thai Definition: ภาษาที่มนุษย์ใช้ในการสื่อสาร | ภาษาระดับสูง | (n) high level language, Example: หน้าที่หลักของคอมพายเลอร์นั้นคือการแปลภาษาระดับสูง | นักภาษาศาสตร์ | (n) linguist, Example: อาจารย์พิณทิพย์ ทวยเจริญเป็นนักภาษาศาสตร์ที่มีชื่อเสียง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการศึกษาภาษา โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ | ภาษาประจำชาติ | (n) national language, Example: คนไทยทุกคนควรจะภาคภูมิใจในการที่ประเทศไทยใช้ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติมาถึง 700 ปี, Thai Definition: ภาษาที่คนในชาติใดชาติหนึ่งใช้สื่อสารกันในประเทศ |
| กากภาษา | (กากะพาสา) น. ชาติกา เช่น ลางมารนิรมิตอินทรีย์เศียรเป็นอสุรี และกายเป็นกากภาษา (คำพากย์). | ตันติภาษา | น. ภาษาที่มีแบบแผน เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาละติน ภาษากรีก. | เพลงออกภาษา | ดู ออกภาษา. | เพลงออกสิบสองภาษา | ดู ออกสิบสองภาษา. | ภาษา | น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม | ภาษา | เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยาอาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ | ภาษา | คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและแต่งตัวตามภาษา (พงศ. ร. ๓) | ภาษา | กลุ่มของชุดอักขระ สัญนิยม และกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาซี ภาษาจาวา | ภาษา | โดยปริยายหมายความว่า สาระ, เรื่องราว, เนื้อความที่เข้าใจกัน, เช่น ตกใจจนพูดไม่เป็นภาษา เขียนไม่เป็นภาษา ทำงานไม่เป็นภาษา. | ภาษากึ่งแบบแผน | น. ภาษาราชการ. | ภาษาคำควบมากพยางค์ | น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการประกอบหน่วยคำหลาย ๆ หน่วยเข้าเป็นคำเดียวกัน ทำให้คำหนึ่ง ๆ มีความยาวหลายพยางค์ เช่น ภาษาเวลส์ ภาษาเอสกิโม ภาษาอินเดียนแดง. | ภาษาคำโดด | น. ภาษาแบบที่ใช้คำที่มีลักษณะโดด ๆ คือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปไปตามหน้าที่หรือตามความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์เกี่ยวเนื่องกับคำอื่น คำในภาษาคำโดดมักจะมีพยางค์เดียวเป็นส่วนมาก แต่ก็มีคำสองพยางค์และหลายพยางค์ด้วย เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม. | ภาษาคำติดต่อ | น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการเติมอุปสรรค อาคม หรือปัจจัย ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระและไม่มีความหมาย ผสานเข้ากับคำบางคำซึ่งเป็นคำตั้ง ทำให้เกิดเป็นคำใหม่ แต่จะมีรูปและความหมายเกี่ยวเนื่องกับคำตั้งนั้น เช่น ภาษาเขมร ภาษาญี่ปุ่น ภาษาตุรกี ภาษาฮังการี. | ภาษาถิ่น | น. ภาษาเฉพาะของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งที่มีรูปลักษณะเฉพาะตัวทั้งถ้อยคำและสำเนียงเป็นต้น. | ภาษาธรรม | น. ภาษาที่ใช้มีความหมายในทางธรรม ต่างกับความหมายที่ชาวบ้านใช้ เช่น คำว่า เวทนา ในภาษาธรรมหมายถึง การเสวยอารมณ์ที่เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือเฉย ๆ แต่ชาวบ้านใช้หมายถึง สงสารสลดใจ หรือคำว่า สงสาร ในภาษาธรรมหมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด แต่ชาวบ้านใช้หมายถึง รู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น. | ภาษาแบบแผน | น. ภาษาที่ถือเป็นแบบฉบับที่จะต้องใช้เป็นแบบเดียวกันในโอกาสอย่างเดียวกัน เช่น คำกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขึ้นต้นว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม...” และลงท้ายว่า “ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า...”, ภาษาที่ใช้เป็นทางการในโอกาสสำคัญ หรือใช้แก่บุคคลสำคัญ หรือบุคคลสำคัญเป็นผู้ใช้ เช่น คำประกาศเกียรติคุณในการประสาทปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ คำปราศรัยของนายกรัฐมนตรีในวันขึ้นปีใหม่, ภาษาระดับพิธีการ ก็เรียก. | ภาษาปาก | น. ภาษาพูดที่แสดงความคุ้นเคย ไม่เหมาะที่จะใช้เป็นพิธีรีตอง เช่น ตาแป๊ะ ตะบี้ตะบัน เทน้ำเทท่า. | ภาษามีวิภัตติปัจจัย | น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการใช้วิภัตติปัจจัยประกอบเข้ากับรากศัพท์ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระทำให้เกิดเป็นคำที่แสดงเพศ พจน์ กาล มาลา วาจกอย่างชัดเจน เพื่อเข้าสัมพันธ์ทางไวยากรณ์กลมกลืนกับคำอื่นในประโยค เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษากรีกโบราณ ภาษาละติน ภาษาฝรั่งเศส. | ภาษาระดับทางการ | น. ภาษาราชการ. | ภาษาระดับพิธีการ | น. ภาษาแบบแผน. | ภาษาราชการ | น. ภาษาที่ใช้สื่อสารในราชการและวิชาการเป็นต้น เช่น จดหมายติดต่อราชการ รายงานการประชุมของหน่วยงาน รายงานการวิจัย รายงานวิชาการสาขาต่าง ๆ, ภาษาระดับทางการ หรือ ภาษากึ่งแบบแผน ก็เรียก | ภาษาราชการ | ภาษาที่รัฐบาลประกาศให้ใช้เป็นทางราชการ เช่น ประเทศไทยใช้ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ ประเทศสิงคโปร์ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาฮินดี และภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ. | ภาษาศาสตร์ | น. วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่าง ๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ เช่น มีการตั้งสมมุติฐาน เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วสรุปผล. | ส่งภาษา | ก. เจรจาปราศรัยกับผู้ที่พูดอีกภาษาหนึ่ง โดยกล่าวคำเป็นภาษานั้น เช่น ให้ล่ามไปส่งภาษาถามเขาดูว่าต้องการอะไร | ส่งภาษา | พูดเป็นภาษาอื่นหรือสำเนียงอื่นที่ตนฟังไม่เข้าใจ เช่น เขาส่งภาษาจีนกัน เขาส่งภาษาถิ่นมาเลยฟังไม่รู้เรื่อง. | หน้าทับภาษา | น. ชื่อหน้าทับที่ใช้กับเพลงภาษาต่าง ๆ เช่น หน้าทับเขมร หน้าทับแขก หน้าทับจีน. | ออกภาษา | น. เพลงที่บรรเลงขับร้องทำนองออกสำเนียงภาษาต่างชาติ เช่น ออกภาษาแขก จีน ญวน ซึ่งนิยมใช้บรรเลงต่อท้ายเพลง ๓ ชั้นหรือเพลงเถา, ถ้าบรรเลงครบ ๑๒ ภาษา เรียกว่า ออกสิบสองภาษา. | ออกสิบสองภาษา | ดู ออกภาษา. | กระโจน | ก. พุ่งตัวลงไปโดยเร็ว, เผ่นข้ามไป, กระโดดไปโดยเร็ว, ภาษาปากว่า โจน. | กระดานดำ | น. กระดานใหญ่ทาสีดำหรือสีเขียว ใช้ชอล์กเขียน ใช้เป็นอุปกรณ์การสอน, ภาษาปากว่า กระดาน. | กระดิกหู | เข้าใจดี, รู้เรื่องดี, ใช้กับการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ภาษาอังกฤษฉันกระดิกหูเสียที่ไหนถึงจะให้ไปทำงานบ้านฝรั่ง. | กระโดด | ก. ใช้กำลังเท้าดันพื้นให้ตัวลอยสูงขึ้นหรือเคลื่อนจากที่เดิม เช่น กระโดดสูง ดีใจกระโดดจนตัวลอย, ภาษาปากว่า โดด, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปลากระโดด ตัวพิมพ์กระโดด. | กลองชาตรี | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง มี ๒ หน้า รูปร่างลักษณะคล้ายกลองทัดแต่เล็กกว่ามาก ตีด้วยไม้ ๒ อัน เช่นเดียวกับกลองทัด แต่วิธีการตี ลักษณะของไม้ตี และเสียงจะแตกต่างจากกลองทัด ใช้ร่วมในวงปี่พาทย์ในการแสดงละครชาตรีที่เรียกว่า ปี่พาทย์ชาตรี ใช้ในการบรรเลงเพลงชุดออกภาษาหรือสิบสองภาษา และใช้ประกอบการบรรเลงในเพลงทำนองตะลุง กลองชาตรีมักใช้บรรเลงคู่กับโทน เรียกว่า โทนชาตรี มีชื่อเรียกตามเสียงอีกอย่างหนึ่งว่า กลองตุ๊ก. | กล่าว | แต่งงาน เช่น ฝรั่งกล่าวแหม่ม. (ประเพณีของชาวคริสเตียน), คำนี้ใช้เป็นปรกติในภาษาเขียน แต่ใช้เป็นภาษาพูดก็มีในบางลักษณะ เช่น กล่าวสุนทรพจน์. | กวางตุ้ง ๑ | (กฺวาง-) น. ชื่อมณฑลหนึ่งในประเทศจีน, ชาวจีนในมณฑลนี้, เรียกภาษาของชาวจีนในมณฑลนี้ ว่า ภาษากวางตุ้ง. | กะหรี่ ๒ | น. โสเภณี (กร่อนมาจากคำว่า ช็อกการี ซึ่งเพี้ยนมาจากคำในภาษาฮินดี chokri ว่า เด็กผู้หญิง). | กัณฐชะ | น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดที่เพดานอ่อน ได้แก่ พยัญชนะวรรค ก คือ ก ข ค ฆ ง และอักษรที่มีเสียงเกิดที่เส้นเสียงในลำคอ ได้แก่ ห และ สระ อะ อา. | กัมพุชพากย์ | น. ภาษาเขมร. | ขอยืม | ก. ขอสิ่งของ เงิน เป็นต้น มาใช้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้วคืนให้หรือใช้คืน, นำของของผู้อื่นมาใช้เป็นของของตน เช่น ขอยืมคำในภาษาบาลีมาใช้ ขอยืมวัฒนธรรมตะวันตกมาใช้ ขอยืมความคิด, (คณิต) ในการลบเลข ถ้าเลขตัวตั้งในหลักใดน้อยกว่าเลขที่จะนำมาลบ ให้นำเลขจากหลักสูงถัดไปมาเพิ่มเลขตัวตั้งเพื่อให้มากพอที่จะลบได้ เช่น ๔๓ - ๕ ในที่นี้ ๕ ลบจาก ๓ ไม่ได้ ๓ ต้องขอยืม ๔ ซึ่งเป็นหลักสิบมา ๑ รวมเป็น ๑๓ แล้วลบออกเสีย ๕ เหลือ ๘ ๔ เมื่อถูกขอยืมไป ๑ ก็เหลือ ๓ ผลลัพธ์ ๓๘, ยืม ก็ว่า. | ข้อเหวี่ยง | น. ส่วนที่ต่อเพลา โดยมากมีลักษณะงอ สำหรับรับกำลังดันหรือกำลังฉุดให้เพลาหมุนรอบ ๆ, ภาษาปากว่า ข้อเสือ. | ข่า ๑ | น. คนชาวเขาจำพวกหนึ่ง แบ่งออกเป็น ๒ พวก พวกหนึ่งพูดภาษาในตระกูลมอญ−เขมร เช่น ข่าอัตตะปือ ข่าตองเหลือง และอีกพวกหนึ่งพูดภาษาในตระกูลอินโดนีเซียน ได้แก่ ข่าระแด และ ข่าจะราย. | ขานนาค | ก. กล่าวตอบในเวลาที่พระคู่สวดสวดถามคุณสมบัติและโรคต้องห้ามเป็นภาษาบาลีในที่ประชุมสงฆ์ แล้วนาคผู้ขอบวชเป็นภิกษุตอบรับหรือปฏิเสธเป็นภาษาบาลีเช่นกัน. | เขมร ๑ | (ขะเหฺมน) น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับไทย ลาว และเวียดนาม มีภาษาพูดอยู่ในตระกูลมอญ–เขมร และมีอักษรของตนเองใช้ เรียกว่า อักษรขอม. | เขียนไทย | น. วิชาเขียนภาษาไทยตามคำบอกของครู เพื่อฝึกเขียนตัวสะกดการันต์ให้ถูกต้อง, เขียนตามคำบอก ก็ว่า. | ไขว้โรง | ก. กลับตรงกันข้าม (เดิมเป็นภาษาใช้ในการพนันหวย ก ข มีตัวโรงเช้า โรงคํ่า เมื่อผู้แทงระบุตัวแทงแล้ว ถ้าหากตัวออกกลับกันเสีย ก็เรียกว่า ขุนบาลกินอย่างไขว้โรง, ตรงกับว่า โอละพ่อ). | คมคาย | ว. ฉลาด, ไหวพริบดี, ทันคน, เช่น วาจาคมคาย พูดจาคมคาย สำนวนภาษาคมคาย, มีแววฉลาด เช่น หน้าตาคมคาย. | คฤหัสถ์ | (คะรึหัด) น. ผู้ครองเรือน, ผู้ไม่ใช่นักบวช, ฆราวาส, ภาษาปากใช้ว่า กระหัด. | คัดไทย | น. วิชาคัดภาษาไทยตามที่ครูสั่ง. | คาถา ๑ | น. คำประพันธ์ประเภทร้อยกรองในภาษาบาลี, อัตราของฉันท์ คือ ๔ บาท เรียกว่า คาถาหนึ่ง | คาถาพัน | น. บทประพันธ์เรื่องมหาเวสสันดรชาดกที่แต่งเป็นคาถาภาษาบาลีล้วน ๆ พันบท, เรียกการเทศน์มหาเวสสันดรชาดกที่เป็นคาถาล้วน ๆ อย่างนี้ ว่า เทศน์คาถาพัน. |
| | Language dictionary | พจนานุกรมภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Metalanguage | อภิภาษา [เทคโนโลยีการศึกษา] | Video | วีดิทัศน์, คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) [เทคโนโลยีการศึกษา] | Bilingual dictionary | พจนานุกรมสองภาษา [เทคโนโลยีการศึกษา] | Controlled language | ภาษาควบคุม [เทคโนโลยีการศึกษา] | Natural language | ภาษาธรรมชาติ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Bilingual dictionary | พจนานุกรมสองภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Controlled language | ภาษาควบคุม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Dialect dictionary | พจนานุกรมภาษาถิ่น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Multilingual dictionary | พจนานุกรมหลายภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Natural language | ภาษาธรรมชาติ, Example: ภาษาธรรมชาติ ในแง่ของการทำดรรชนี เพื่อใช้เป็นตัวแทนสารสนเทศนั้น หมายถึง คำที่มิเกิดจากการถูกกำหนดหรือบังคับใ้ห้ใช้ แต่เป็นการนำคำจากที่ผู้แต่งหรือเจ้าของผลงานกำหนดใช้เอง ซึ่งอาจจะไม่ตรงกับศัพท์บัญญัติ หรือศัพท์ควบคุมที่กำหนดให้ใช้ <p> <p>ภาษาธรราชาติ มักจะเป็นคำทันสมัยหรือยังมิได้ถูกกำหนดเป็นคำศัพท์ควบคุม ซึ่งสามารถทำให้สืบค้นเรื่องที่ตรงกับปัจจุบัน แต่จะมีข้อเสีย เนื่องจากภาษาธรรมชาติ มิได้มีการควบคุมคำที่มีความหมายเดียวกันและใช้แตกต่างกัน ทำให้เสียเวลาในการสืบค้น เนื่องจากต้องนึกคำที่จะต้องค้นหลายคำ ซึ่งต่างจากภาษาควบคุม ที่จะมีการควบคุมคำศัพท์ ทำให้มีมาตรฐานในการใช้คำดังกล่าวเป็นแนวทางเดียวกัน หมายถึง เรื่องเดียวกัน แต่อาจจะไม่ตรงกับคำที่ปรากฏในเนื้อหาของสารสนเทศและทันสมัย เนื่องจากภาษาควบคุมต้องมีการพิจารณากลั่นกรอง จึงจะสามารถกำหนดใช้ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Polyglot dictionary | พจนานุกรมหลายภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Machine translating | การแปลภาษาด้วยเครื่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Cross-language information retrieval | การค้นข้อสนเทศข้ามภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | สดับปกรณ์ | เป็นทั้งคำกริยาและคำนามว่า สดับปกรณ์ (สะ-ดับ-ปะ-กอน) เป็นคำกริยา คือ บังสุกุล (ใช้แก่ศพเจ้านาย) ส่วนคำนามหมายถึง พิธีสวดมาติกาบังสุกุลเนื่องด้วยศพ ปัจจุับันใช้เฉพาะเจ้านาย คำในภาษาบาลีเขียน สตฺตปฺปกรณ ส่วนภาษาสันสกฤตเขียน สปฺตปฺรกรณ หมายถึงพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ [ศัพท์พระราชพิธี] | Cross-language information retrieval | การค้นข้อสนเทศข้ามภาษา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Natural language processing | การประมวลผลภาษาธรรมชาติ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Machine translating | การแปลภาษาด้วยเครื่อง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Computational linguistics | ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Language processing technology | เทคโนโลยีด้านการประมวลผลภาษา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | C# (Computer program language) | ซี# (ภาษาคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Computer hardware description languages | ภาษาบรรยายคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Computational lingusitics | ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Algorithmic language | ภาษาอัลกอล, Example: ภาษาคอมพิวเตอร์สำคัญภาษาหนึ่งที่ได้รับการคิดค้นขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 2500 ระหว่างการประชุมวิชาการที่มีนักคอมพิวเตอร์จากประเทศเดนมาร์ก อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ฮอลแลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกามาประชุมกัน แม้ว่าภาษานี้จะไม่ประสบความสำเร็จในทางการค้าคือมีใช้เฉพาะในมหาวิทยาลัย และงานวิจัยทางยุโรปเป็นส่วนใหญ่แต่ก็ต้องกล่าวว่เป็นรากฐานสำคัญที่ทำให้เกิดภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาปาสกาล ภาษาซี และภาษาเอดา [คอมพิวเตอร์] | query by example | ภาษาสอบถามที่ใช้ง่าย [คอมพิวเตอร์] | APL (a programming language) | เอพีแอล ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่งซึ่งคิดค้นขึ้นโดยนักคณิตศาสตร์ชื่อ เคนเนท ไอเวอร์สัน แห่งบริษัทไอบีเอ็ม ใช้สัญลักษณ์ต่างๆ หลากหลายมาใช้แทนคำสั่งในภาษานี้พร้อมกันนั้นก็เพิ่งคำสั่งแปลกๆ ที่ภาษาคอมพิวเตอร์อื่นๆ ไม่มีใช้ลงไปด้วย ทำให้ภาษานี้ซับซ้อนและไม่ได้รับความนิยมนัก ทั้งๆ ที่เป็นภาษาที่มีสมรรถนะสูงมาก [คอมพิวเตอร์] | Assembler | ตัวแปลภาษาแอสเซมบลี, Example: โปรแกรมประเภทหนึ่งซึ่งทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีไปเป็นภาษาเครื่อง [คอมพิวเตอร์] | Assembly language | ภาษาแอสเซมบลี ภาษาระดับต่ำสำหรับใช้เขียนโปรแกรม, Example: แต่ละคำสั่งจะตรงกับคำสั่งภาษาเครื่องหนึ่งคำสั่ง ภาษาเครื่องนั้นปกติเป็นตัวเลขฐานสองหรือ 0 กับ 1 ซึ่งยากที่จะจำ ส่วนภาษาแอสเซมบลีนั้นเปลี่ยนเลข 0 กับ 1 ให้เป็นคำที่จำได้ง่าย เช่น A แทนคำว่า Add หรือบวก s แทน Subtract หรือลบ ทำให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าการท่องจำเลข 0 กับ 1 ภาษาแอสเซมบลีนี้มักจะแตกต่างกันไปตามประเภทและรุ่นของตัวประมวลผล (processor) และใช้ร่วมกันไม่ได้ [คอมพิวเตอร์] | Natural language processing (Computer science)) | การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (คอมพิวเตอร์) [คอมพิวเตอร์] | LISP | ภาษาลิสป์ [คอมพิวเตอร์] | Logo | ภาษาโลก [คอมพิวเตอร์] | Low level language | ภาษาระดับต่ำ [คอมพิวเตอร์] | Natural language | ภาษาธรรมชาติ [คอมพิวเตอร์] | Natural language processing | การประมวลภาษาธรรมชาติ [คอมพิวเตอร์] | Pascal | ภาษาปาสกาล [คอมพิวเตอร์] | Programming Language 1 | ภาษาพีแอลวัน [คอมพิวเตอร์] | Programmed Inquiry Language Or Teaching | ภาษาไพล็อต [คอมพิวเตอร์] | Report Program Generator | ภาษาอาร์พีจี, Example: ภาษาสำหรับเขียนโปรแกรมที่บริษัทไอบีเอ็มได้พัฒนาขึ้นในปี 2507 สำหรับใช้กับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เพื่อใช้จัดทำรายงานที่ซับซ้อนสำหรับงานประยุกต์ทางธุรกิจ ภาษานี้ได้รับความนิยมมากในหมู่นักเขียนโปรแกรม สำหรับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็มรุ่น S/36 และต่อมายังมีใช้อยู่กับรุ่น AS/400 [คอมพิวเตอร์] | Smalltalk | ภาษาสมอลล์ทอล์ก, Example: ภาษาระดับสูงที่มีลักษณะเิชิงวัตถุที่พัฒนาขึ้นโดยทีมงานนักวิจัยของบริษัทซีรอกซ์ ที่ศูนย์ปฏิบัติการพาโลอัลโตในสหรัฐอเมริกา ภาษานี้เป็นภาษาที่นำแนวคิดด้านวัตถุมาใช้ในการเขียนโปรแกรม และกำลังได้รับความนิยมมากขึ้น [คอมพิวเตอร์] | Structured Query Language | ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง, Example: ภาษาสำหรับกำหนดลักษณะของข้อมูล และค้นข้อมูลในฐานข้อมูลแบบตาราง ภาษานี้ได้รับการพัฒนาขึ้นโดยนักวิจัยของบริษัทไอบีเอ็ม และปัจจุบันนี้ได้รับควมนิยมมากจนมีใช้ในโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หลายโปรแกรม [คอมพิวเตอร์] | structural language | ภาษาโครงสร้าง, เทคนิคในการใช้โครงสร้างควบคุมภายในภาษาโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่ได้ไม่ซับซ้อนมากเกินไป โครงสร้างควบคุมที่ใช้กันได้แก่ การทำงานตามลำดับ การทำงานซ้ำตามเงื่อนไข การเลือกทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เทคนิคนี้นิยมใช้กันในภาษาคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ [คอมพิวเตอร์] | syntax error | ผิดไวยากรณ์, ความผิดพลาดในโปรแกรมอันเกิดจากการสะกดคำสั่งผิดบ้าง หรือใช้รูปแบบคำสั่งผิดบ้าง โปรแกรมทีเขียนด้วยภาษาระดับสูงนั้นจะต้องนำไปแปลเป็นภาษาเครื่องก่อนจึงจะนำไปใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ ในการแปลนั้นตัวแปลภาษาจะตรวจสอบการใช้ไวยากรณ์ในโปรแกรมนั้นไปด้วย ถ้าหากมีที่ผิดตัวแปลภาษาก็จะรายงานความผิดพลาดให้ทราบ เพื่อที่เราจะได้นำไปพิจารณาแก้ไข [คอมพิวเตอร์] | Video | วีดิทัศน์, <p>คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) <p>คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” [คำทับศัพท์ที่มักใช้ผิด] | FORTRAN | ภาษาฟอร์แทรน, Example: ภาษาเีขียนโปรแกรมที่เก่าแก่ที่สุดซึ่งพัฒนาโดย จิม แบคคัส แห่งบริษัทไอบีเอ็ม ในช่วงปี 2497 - 2501 [คอมพิวเตอร์] | high-level language | ภาษาระดับสูง, Example: ภาษาสำหรับเขียนโปรแกรมที่ช่วยให้เราเขียนคำสั่งได้โดยไม่ต้องรู้โครงสร้างและการทำงานภายในคอมพิวเตอร์ ภาษาระดับสูงที่รู้จักกันดีได้แก่ ภาษา C, BASIC, COBOL, FORTRAN, Pascal [คอมพิวเตอร์] | integration | บูรณาการ, การรวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, บูรณาการ มี ๒ ความหมาย <p>ความหมายที่ ๑ คือ ทำให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยรวมหรือผสมผสานส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เช่น การสอนภาษาแบบบูรณาการ หมายถึง การรวมทักษะการพูด ฟัง อ่าน เขียน ไว้ในวิชาเดียวกัน, หลักสูตรแบบบูรณาการสำหรับภิกษุสามเณร เป็นหลักสูตรที่รวมหลักสูตรธรรมศึกษา บาลีศึกษา และสามัญศึกษา ให้เป็นหลักสูตรเดียว <p>ความหมายที่ ๒ หมายถึงเชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหน่วยงานอื่น เช่น โรงเรียนหลายแห่งบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีรากฐานจากความเป็นไทยและนำไปสู่การ พัฒนาประเทศที่ยั่งยืน [การจัดการความรู้] | Picture Vocabulary Program | โปรแกรมภาพคำศัพท์, ซอฟต์แวร์ช่วยในการเรียนรู้ของเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ ประกอบด้วยคำศัพท์ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้อมรูปภาพ [Assistive Technology] | Speech recognition | เทคโนโลยีการรู้จำเสียงพูด, การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจภาษามนุษย์และสามารถจดจําคําพูดของมนุษย์ได้อย่างต่อเนื่อง [Assistive Technology] | Thai Sign Language Program: computer vocabulary | ภาษามือไทยชุดคำศัพท์คอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูลภาษามือไทย ที่บรรจุคำศัพท์คอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลประกอบไปด้วย คำศัพท์ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย ภาพ วีดิทัศน์ภาษามือไทย [Assistive Technology] | Total Communication | การสื่อสารระบบรวม, รูปแบบการสอนนักเรียนที่บกพร่องทางการได้ยิน ที่ไม่ได้เน้นการฝึกฟัง หรือภาษามืออย่างใดอย่างหนึ่งเหมือนในอดีต แต่พยายามจะใช้หลายๆ ระบบรวมกัน [Assistive Technology] |
| "in the Jews' language, 'Hear ye the words of the great king. | "ในภาษาฮิบรูว่า '"จงฟังพระวจนะของพระมหากษัตริย์ Wuthering Heights (1992) | He absorbed Latin yesterday in less than two hours. | เมื่อวานเขารับภาษาละตินเข้าไป ใช้เวลาน้อยกว่าสองชั่วโมงซะอีก The Lawnmower Man (1992) | It took me a year just to learn the Latin alphabet. | ตอนฉันเรียนภาษาลาติน ยังต้องใช้เวลาเป็นปี The Lawnmower Man (1992) | Never thought I'd trust an English person again... especially a lawyer. | ไม่เคยคิดว่าฉันต้องการความไว้วางใจ คนภาษาอังกฤษอีก? โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักกฎหมาย In the Name of the Father (1993) | Fucking English bastards! | ภาษาอังกฤษ bastards ร่วมเพศ! In the Name of the Father (1993) | - Excuse my language. | - - ขอโทษภาษาของฉัน In the Name of the Father (1993) | The four people you see in the front... are one of the most cunning and cruel criminal conspiracies... ever to set foot on English soil. | สี่คน ที่คุณเห็นในหน้า ... อย่างใดอย่างหนึ่งและมีไหวพริบมากที่สุดคือ โหดร้าย ... ที่เคยตั้งเท้าบนดินภาษาอังกฤษ In the Name of the Father (1993) | You're very good at the English, aren't you? | คุณเก่งภาษาอังกฤษ, คุณไม่ไป? In the Name of the Father (1993) | You see, I don't understand your language. | คุณเห็นฉันไม่เข้าใจ ภาษาของคุณ In the Name of the Father (1993) | Well, I think they ought to take the word "compassion"... out of the English dictionary. | ดีฉันคิดว่าพวกเขาควรจะใช้เวลา คำว่า"เมตตา"... ออก ofthe พจนานุกรมภาษาอังกฤษ In the Name of the Father (1993) | "because I will make her speak only perfect American English. | เพราะฉันจะให้เธอพูดภาษา อังกฤษอเมริกันที่สมบูรณ์เท่านั้น The Joy Luck Club (1993) | - No talking in Chinese. | ห้ามพูดภาษาจีนนะคะ The Joy Luck Club (1993) | What kind of a wife are you? | เป็นเมียภาษาอะไร The Joy Luck Club (1993) | Why does my daughter think she's translating English for me? | ทำไมลูกสาวของฉันถึงต้องคิดว่า เธอต้องคอยแปลภาษาอังกฤษให้ฉันอยู่เรื่อย The Joy Luck Club (1993) | And she had a daughter who grew up speaking only English and swallowing more Coca-Cola than sorrow. | แล้วเธอก็มีลูกสาวที่โตขึ้นมาโดยพูดได้... แต่ภาษาอังกฤษ แล้วก็ดื่มแค่โค้กมากกว่าความระทมทุกข์ The Joy Luck Club (1993) | ENGLISH | คำแปลภาษาไทย โดย NuNont Deep Throat (1993) | As soon as we're in position we'll be on a count of five. | คำบรรยายภาษาไทยโดย NuNont ทันที่เราประจำตำแหน่ง เราจะนับห้า Squeeze (1993) | Look, Banes, I'm speaking English. | เบนส์ เราคุยกันภาษาเดียวกันนะ Junior (1994) | Vietnamese, Koreans, don't even speak fuckin' English. | เวียดนาม, เกาหลี, ไม่ได้พูดไอ้ภาษาอังกฤษ Pulp Fiction (1994) | - "What" ain't no country I ever heard of. They speak English in What? | - "สิ่งที่" ไม่ใช่ประเทศที่ผมเคยได้ยินไม่ พวกเขาพูดภาษาอังกฤษได้ในอะไร Pulp Fiction (1994) | The name is Spanish, but I am Colombian. | ชื่อเป็นภาษาสเปน แต่ฉันโคลอมเบีย Pulp Fiction (1994) | But I do not speak Spanish. | แต่ฉันไม่ได้พูดภาษาสเปน Pulp Fiction (1994) | - Yeah, he's about as European as fuckin' English Bob. | - ใช่เขาเป็นเรื่องเป็นยุโรปเป็นไอ้ภาษาอังกฤษบ๊อบ Pulp Fiction (1994) | - [ Cooks Speaking Spanish ] | - [ พ่อครัวพูดภาษาสเปน ] - ย้าย! Pulp Fiction (1994) | French is the opposite. It balances out. | ตรงข้ามกับภาษาฝรั่งเศสเลย Wild Reeds (1994) | That's why I did it. Their French is bad. | ที่ฉันทำข้อสอบภาษาฝรั่งเศสได้ ภาษาฝรั่งเศสของพ่อกับแม่แย่ Wild Reeds (1994) | Do you speak English, butt steak? | คุณพูดภาษาอังกฤษก้นสเต็ก? The Shawshank Redemption (1994) | You were brought up in Mexico and whwn you speak English, you speak it with a Castilian accent. | คุณโตในแม็กซิโก และเมื่อคุณพูดภาษาอังกฤษ คุณพูดสำเนียงคาสทิเลี่ยน Don Juan DeMarco (1994) | We've already sold the film rights to his new book... as well as publication rights in eighteen languages... | เรากำลังขายลิขสิทธิ์หนังสือเล่มใหม่ของเขา ให้กับบริษัทภาพยนตร์ อีกทั้งลิขสิทธิ์ในการแปลอีกสิบแปดภาษา In the Mouth of Madness (1994) | I've been translated into eighteen languages. | แถมยังแปลเป็นภาษาอื่นกว่า 18 ภาษา In the Mouth of Madness (1994) | The chief has not understood the dialect you're using. | เขาบอกว่าไม่เข้าใจภาษาของคุณ Ace Ventura: When Nature Calls (1995) | The missionaries came through and taught him English. | มิชชันนารี่สอนภาษาอังกฤษให้เขา Ace Ventura: When Nature Calls (1995) | You do not speak Wachootoo. | คุณพูดภาษาวาชูตูไม่ได้นี่ Ace Ventura: When Nature Calls (1995) | Well, I don't know the English word, but in Welsh... we call it a- a bethangalw. (thingamajig) | คือ ผมไม่รู้คำภาษาอังกฤษ แต่ภาษาเวลส์เรียกว่า "เบทังการู" The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | He don't even speak good English. | เขาไม่ได้พูดภาษาอังกฤษได้ดี 12 Angry Men (1957) | He doesn't even speak good English. | เขาไม่ได้พูดภาษาอังกฤษได้ดี 12 Angry Men (1957) | He always thought of the sea as la mar which is what people call her in Spanish when they love her. | เขามักจะคิดว่าของทะเลเป็น ลา มา ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้คนเรียกเธอว่า ในภาษาสเปนเมื่อพวกเขารัก เธอ The Old Man and the Sea (1958) | They all look the same in their similitude and language. | ในอุปมาและภาษาของพวกเขา Help! (1965) | I don't speak the language. | ฉันไม่ได้พูดภาษาที่คุณเห็น Help! (1965) | We are English. | เราเป็นภาษาอังกฤษ How I Won the War (1967) | Eminent physicist, polyglot, classicist, prize-winning botanist, hard biting satirist, | ฟิสิกส์เด่นพูดได้หลายภาษา, ข้, นักพฤกษศาสตร์ได้รับรางวัล ชนะเลิศอย่างหนักกัดเย้ยหยัน Yellow Submarine (1968) | - Do you speak English? | คุณพูดภาษาอังกฤษได้ไหม? Yellow Submarine (1968) | - Old English, middle, a dialect, pure... | อังกฤษกลางภาษาบริสุทธิ์ Yellow Submarine (1968) | - Well, do you speak English? | ก็ที่คุณพูดภาษาอังกฤษ? Yellow Submarine (1968) | He reminds me of my old English teacher. | เขาทำให้ฉันนึกถึงครูสอน ภาษาอังกฤษเก่าของฉัน Yellow Submarine (1968) | There is neither speech nor language, yet His voice is heard among them. | จักไม่มีคําพูด หรือภาษาใด ๆ เเต่สุรเสียงพระองค์จะดังก้อง Beneath the Planet of the Apes (1970) | -I'm going to speak Italian to Mikey. | - ฉันจะพูดภาษาอิตาลีที่จะกี้ The Godfather (1972) | However, look at their obscene gestures like deaf-mute language with a code none of us can break, no matter how great our power | อย่างไรก็ตาม, ดูที่การแสดงอากัปกิริยา their obscene ... ...เหมือนภาษาคนหูหนวกและเป็นใบ้... ...กับไม่มีรหัสของเราสามารถหยุด, \ Nno วิธีใหญ่พลังของเรา Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | - Stewardess. I speak jive. | - คุณสจ๊วตหญิงคะ ฉันพูดภาษาไจฟ์ได้ค่ะ Airplane! (1980) | - A waltz. English. | - วอลทซ์ ภาษาอังกฤษ Idemo dalje (1982) |
| อวัจนะภาษา | [awatjanaphāsā] (n) EN: non verbal language | บทสนทนาภาษาอังกฤษ | [botsonthana phāsā Angkrit] (n, exp) EN: English conversation | ชื่อภาษาอังกฤษ | [cheū phāsā Angkrit] (n, exp) EN: English name FR: nom anglais [ m ] | ชื่อภาษาอีสาน | [cheū phāsā Isān] (n, exp) EN: Isan name FR: nom en langue Isan [ m ] | ชื่อภาษาไทย | [cheū phāsā Thai] (n, exp) EN: Thai name FR: nom thaï [ m ] | เด็กสองภาษา = เด็ก 2 ภาษ | [dek søng phāsā] (n, exp) EN: bilingual child FR: enfant bilingue [ m ] | เอกภาพของภาษา | [ēkkaphāp khøng phāsā] (n, exp) EN: language autonomy | หัดพูดภาษาอังกฤษ | [hat phūt phāsā Angkrit] (xp) EN: practise spoken English FR: s'exercer à la pratique de l'anglais | อิทธิพล(ของ)ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย | [itthiphon (khøng) phāsā tāngprathēt nai phāsā Thai] (xp) EN: influence of foreign languages on Thai | เจ้าของภาษา | [jaokhøng phāsā] (n, exp) EN: native speaker | การใช้ภาษาไทย | [kān chai phāsā Thai] (n, exp) EN: Thai language usage | การพัฒนาภาษา | [kān phatthanā phāsā] (n, exp) EN: language development | การแปลภาษาด้วยคอมพิวเตอร์ | [kān plaē phāsā dūay khømphiūtoē] (n, exp) EN: machine translation | การเรียนภาษา | [kān rīen phāsā] (n, exp) EN: language learning | การสอนภาษา | [kān søn phāsā] (n, exp) EN: language teachning FR: enseignement des langues [ m ] | การสอนภาษาไทย | [kān søn phāsā Thai] (n, exp) EN: teaching Thai FR: enseignement du thaï [ m ] | คำภาษาบาลี | [kham phāsā Bālī] (n, exp) FR: mot pali [ m ] | คำภาษาบาลี และสันสกฤต | [kham phāsā Bālī lae Sansakrit] (n, exp) FR: mots palis et sanskrits [ mpl ] | คำภาษาสันสกฤต | [kham phāsā Sansakrit] (n, exp) FR: mot sanskrit [ m ] | คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ | [kham thapsap phāsā Angkrit] (n, exp) FR: mots empruntés à l'anglais | คำยืมภาษาฝรั่งเศส | [kham yeūm phāsā Farangsēt] (n, exp) FR: emprunts au français [ mpl ] | โครงสร้างคำในภาษาไทย | [khrōngsāng kham nai phāsā Thai] (n, exp) EN: Thai word structure | ครูสอนภาษาอังกฤษ | [khrū søn phāsā Angkrit] (n, exp) EN: English teacher FR: professeur d'anglais [ m ] | ครูสอนภาษาฝรั่งเศส | [khrū søn phāsā Farangsēt] (n, exp) EN: French teacher FR: professeur de français [ m ] | ครูสอนภาษาจีน | [khrū søn phāsā Jīn] (n, exp) EN: Chinese teacher FR: professeur de chinois [ m ] | ครูสอนภาษาเขมร | [khrū søn phāsā Khamēn] (n, exp) EN: Cambodian teacher FR: professeur de cambodgien [ m ] | ครูสอนภาษาสเปน | [khrū søn phāsā Sapēn] (n, exp) EN: Spanish teacher FR: professeur d'espagnol [ m ] | ครูสอนภาษาเยอรมัน | [khrū søn phāsā Yoēraman] (n, exp) EN: German teacher FR: professeur d'allemeand [ m ] | กระบวนการเรียนรู้ภาษา | [krabūankān rīenrū phāsā] (n, exp) EN: language learning process FR: processus d'apprentissage de la langue [ m ] | หลักภาษาไทย | [lak phāsā Thai] (n, exp) EN: fundamentals of teh Thai language FR: bases de la langue thaïe [ fpl ] | ในภาษาไทย | [nai phāsā Thai] (n, exp) EN: in Thai FR: en thaï ; en langue thaïe | นักภาษา | [nakphāsā] (n) EN: grammarian ; linguist FR: grammairien [ m ] ; linguiste [ m ] | นักภาษาศาสตร์ | [nakphāsāsāt] (n) EN: inguist FR: linguiste [ m ] | นิทานสองภาษา | [nithān søng phāsā] (n, exp) EN: bilingual story FR: récit bilingue [ m ] | ภาควิชาภาษาศาสตร์ | [phākwichā phāsāsāt] (n, exp) EN: department of linguistics | ภาษา | [phāsā] (n) EN: language ; speech ; tongue ; lingo FR: langue [ f ] ; langage [ m ] ; idiome [ m ] ; jargon [ m ] ; parler [ m ] ; ramage [ m ] (fig.) | ภาษาอัลกอล | [phāsā Alkøl] (n, prop) EN: Algol language FR: Langage Algol [ m ] | ภาษาอังกฤษ | [phāsā Angkrit] (n) EN: English ; English language FR: anglais [ m ] ; langue anglaise [ f ] | ภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ | [phāsā Angkrit choēng thurakit] (n, exp) EN: business English FR: anglais commercial [ m ] ; anglais des affaires [ m ] | ภาษาอาหรับ | [phāsāĀrap] (n) EN: Arabic ; Arabic language FR: arabe [ m ] ; langue arabe [ f ] | ภาษาแบบแผน | [phāsā baēpphaēn] (n, exp) EN: official language ; standard language ; formal language FR: langage conventionnel [ m ] | ภาษาใบ้ | [phāsā bai] (n, exp) EN: sign language ; finger alphabet ; finger language FR: langage gestuel [ m ] | ภาษาบาลี | [phāsā Bālī] (n, exp) EN: Pali ; Pali language FR: pali [ m ] | ภาษาเบงกาลี | [phāsā Bēngkālī] (n, exp) EN: Bengali FR: bengali [ m ] | ภาษาเบสิก | [phāsā Bēsik] (n, exp) EN: Basic language FR: langage Basic [ m ] | ภาษาเบรอตง | [phāsā Broētong] (n, exp) EN: Breton FR: breton [ m ] ; langue bretonne [ f ] | ภาษาชวา | [phāsā Chawā] (n, exp) EN: Javanese FR: javanais [ m ] | ภาษาดัทช์ | [phāsā Datch = phāsā Dat] (n, exp) EN: Dutch FR: néerlandais [ m ] ; langue néerlandaise [ f ] | ภาษาดารี | [phāsā Dārī] (n, exp) EN: Dari ; Dari Persian ; Eastern Persian | ภาษาดอกไม้ | [phāsā døkmāi] (n, exp) EN: flowery language |
| PHP | (n) ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาหนึ่ง (เป็นแบบ intepreter) เป็นที่นิยมใช้กันมาก โดยเฉพาะในงานพัฒนาเว็บ แต่ก็สามารถใช้ในงานอื่นๆ ได้ รายละเอียดเพิ่มเติมดูได้ที่ http://www.php.net | SARS | (n) โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือ ซาร์ส มาจากภาษาอังกฤษ เต็มๆ คือ Severe Acute Respiratory Syndrome เริ่มระบาดในช่วงต้นปี 2546 ในหลายประเทศ | longdo | (n) ชื่อของบริการนี้ มาจากภาษาไทยว่า ลองดู มาจากแนวคิดที่ว่า แนวคิดนี้อาจจะดีหรือไม่ดี ประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว ก็ไม่แน่ ลองดูเลยดีกว่า | Stay tuned! | (vi) เป็นภาษาพูด แปลว่า ติดตามต่อไป (ส่วนใหญ่ใช้ตามวิทยุหรือทีวี) เช่น Stay tuned for more details! Stay tuned to the brand new watch! | koban | (n) ป้อมตำรวจ ตั้งอยู่ตามสถานที่ชุมชมเพื่อรับแจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย หรือให้ความช่วยเหลือต่างๆ แก่ประชาชน (คำนี้มาจากคำภาษาญี่ปุ่น, ในประเทศญี่ปุ่นจะมีป้อมในลักษณะนี้ตามจุดต่างๆ ทั่้วเมือง) | swamp | (vi, slang) ท่วมท้นด้วยงาน (เป็นภาษาพูดในอเมริกา) เช่น Some offices will be swamped next week. อาทิตย์หน้าบางสำนักงานจะมีงานท่วมหัว | à la carte | (n, adj, adv) |มีที่มาจากภาษาฝรั่งเศส| การสั่งอาหารที่มีอยู่ในเมนูได้ตามใจชอบ โดยไม่ต้องสั่งเป็นชุดตามที่ร้านอาหารจัดไว้ (ทางประเทศแถบตะวันตก มักมีรายการอาหารเป็นชุดจัดไว้ให้), เมนูหรือรายการอาหารที่มีราคาแยกเฉพาะสำหรับอาหารแต่ละจาน | a la carte | ดู à la carte (ภาษาฝรั่งเศส), Syn. à la carte | wanna | (vt, colloq) ต้องการ (ภาษาพูด) เช่น I don't wanna go to school. ฉันไม่อยากไปโรงเรียนเลย, Syn. want to | tsunami | (n) คลื่นขนาดใหญ่และยาว (ระดับน้ำขึ้นสูง เป็นระยะทางยาวๆ ไม่ใช่ขึ้นแล้วลงเร็ว เหมือนคลื่นปกติ) ในทะเล ที่ไม่ได้เกิดขึ้นโดยปกติ แต่เกิดจากการแทนที่น้ำอย่างรุนแรง ทำให้มวลของน้ำเคลื่อนไหวด้วยความเร็วสูง ลักษณะคล้ายๆ กับการปาหินลงในน้ำ แล้วเกิดคลื่นแผ่กระจายออก, มีสาเหตุโดยมากจากแผ่นดินไหวนอกชายฝั่ง, มักเคลื่อนไปได้เป็นระยะทางไกลๆ (มากได้ถึงหลายพัน หรือเป็นหมื่นกิโลเมตร), เมื่อถึงฝั่ง อาจมีความสูงได้เป็นสิบเมตร และทำความเสียหายได้มาก, มาจากภาษาญี่ปุ่น 津波 [ つなみ, tsunami, สึนามิ ] <p> รายละเอียดเพิ่มเติม: <A HREF=http://www.navy.mi.th/dockyard/sara_tsinami.html>http://www.navy.mi.th/dockyard/sara_tsinami.html</A>, Syn. tidal wave | e.g. | (abbrev) ตัวอย่างเช่น, มาจากภาษาละตินว่า exempli gratia ซึ่งหมายความว่า เพื่อแสดงเป็นตัวอย่าง (for the sake of example), Syn. for example | computer | (n) คณิตกร (ศัพท์บัญญัติในภาษาไทย) | Richter scale | (n, name) หน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหว จากพลังงานที่แผ่นดินไหวปล่อยออกมา เช่น แผ่นดินไหวขนาด (หรือแมกนิจูด) 6.1 ตามมาตราวัดริกเตอร์ หมายเหตุ: แผ่นดินไหวจะรุนแรงไม่รุนแรง ต้องดูขนาดควบคู่ไปกับความลึกของจุดศูนย์กลาง กล่าวคือ ถ้าขนาดใหญ่แต่ถ้าอยู่ลึกมากก็อาจจะไม่แรง แต่ถึงขนาดไม่ใหญ่มาก แต่จุดศูนย์กลางอยู่ตื้นก็อาจสร้างความเสียหายได้มาก, ส่วนสิ่งที่รับรู้ได้บนดินคือ ความสั่นสะเทือน (ความรุนแรง, intensity) ซึ่งแต่ละพื้นที่บนพื้นดินจะมีความสั่นสะเทือนแตกต่างกัน แล้วแต่ว่าอยู่ใกล้ไกล จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว (epicenter) แค่ไหน <p> <b>เพิ่มเติม:</b>ความสั่นสะเทือน (intensity) ในภาษาญี่ปุ่นจะเรียก ชินโดะ (震度) และมีมาตรวัดของญี่ปุ่นเอง มีระดับตั้งแต่ 1 (เบา) ถึง 7 (รุนแรง) ถ้าพูดถึงขนาดจะใช้ว่า Magnitude | ripper | (n, slang) เยี่ยม, เจ๋ง, สนุกที่สุด (ภาษาพูด) | RSVP | กรุณาตอบกลับมา (เป็นคำย่อที่นำมาจากภาษาฝรั่งเศสที่ว่า repondez s'il vous plait ซึ่งถูกนำมาใช้มากในภาษาอังกฤษ) เช่น Please RSVP in the comments of this entry., You must RSVP after the start of registration and prior to 2:30 PM. | hyperpolyglot | (n) ผู้ที่รู้ภาษาอย่างเชี่ยวชาญมากกว่า 6 ภาษาขึ้นไป, See also: polyglot, multilingual | Perl | (n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย | phrase book | หนังสือรวมบทสนทนาหรือสำนวนภาษาต่างประเทศ | concierge | (n) |ที่มา:ภาษาฝรั่งเศส| พนักงานต้อนรับในโรงแรมที่พูดได้หลายภาษา ทำหน้าที่หิ้วกระเป๋าและเปิดประตู | déjà vu | [เด จา วู] (n) |ที่มา:ภาษาฝรั่งเศส| ภาพหรือเหตุการณ์ที่รู้สึกว่าเคยเห็นหรือประสบมาก่อน | damn it! | (phrase) เป็นคำสบถ แปลว่า ฉิบหาย ให้ตายเถอะ (ดีกรีความหยาบคาย ขึ้นกับอารมณ์ผู้พูดขณะนั้น และแปลตรงจากภาษาอังกฤษ คือ แช่งมันไปเลย) | stat | (abbrev) 1) สถิติ ย่อมาจาก statistics 2) อย่างเฉียบพลัน, ทันทีทันใด ย่อมาจากภาษาพูดที่ว่า sooner than already there | english | (n,, adj) คนอังกฤษ, ภาษาอังกฤษ | Mardi Gras | (n) |มาจากภาษาฝรั่งเศส| วันอังคารก่อนวัน Ash Wednesday, วันฉลองก่อนวันถือบวชในศาสนาคริสต์ (หรือเรียกว่า Shrove Tuesday), วันสุดท้ายของเทศกาลคาร์นิวาลในอเมริกา โดยเฉพาะที่เมือง New Orleans, Syn. Fat Tuesday | goddess of mercy | (n) เจ้าแม่กวนอิม, เทพเจ้าแห่งความเมตตา (ซึ่งหมายถึงเจ้าแม่กวนอิม โดยในภาษาอื่นอาจเรียกกันไปในหลายๆ คำ เช่น Quan Yin, Kuan Yim เป็นต้น) Image: | curfew | (n) ในยุโรปสมัยกลางบ้านเรือนทำมาจากท่อนซุง ตรงพื้นกลางบ้านมักจะขุดเป็นหลุมเพื่อเอาไว้ใช้เป็นเตา เพราะกลัวไฟไหม้ ตอนดึกๆ จึงต้องมียามเดินไปให้สัญญาว่าได้เวลานอนแล้ว ขอให้กลบไฟซะให้เรียบร้อยด้วย ซึ่งภาษาฝรั่งเศสว่า cuevre-feu แปลเป็นอังกฤษว่า to cover the fire เมื่อพระเจ้าวิลเลี่ยมแห่งฝรั่งเศสตีอังกฤษได้ ก็เอามาใช้ในอังกฤษ ให้ทุกบ้านดับไฟและห้ามออกจากบ้าน Curfew ก็จึงพัฒนามาเป็นคำที่หมายถึง มาตรการห้ามออกนอกเคหสถานในเวลากำหนด | pork | (vt, colloq) อึ้บ, แอ้ม (เป็นภาษาพูดแปลว่ามีเพศสัมพันธ์ มาจากคำว่า penetrate) เช่น I might go pork my girlfriend tonight., See also: To have sex with, Syn. To have sexual intercourse | ubuntu | "ubuntu" เป็นภาษาเก่าแก่ของชาวแอฟริกัน โดยมีความหมายถึง "humanity to others" หรือแปลเป็นไทยคือ "ความกรุณาต่อผู้อื่น" โดย "ubuntu" ยังมีอีกความหมายหนึ่งว่า "I am what I am because of who we all are" หรือแปลเป็นไทยคือ "ฉันเป็นฉันได้ก็เพราะพวกเราเป็นอย่างนั้น" | vine | (n) เดิมทีแปลว่าต้นองุ่น แต่ในปัจจุบัน(โดยเฉพาะภาษาอเมริกัน)ความหมายสามัญได้เปลี่ยนแปลงไปเป็น ไม้ที่มีเถา ซึ่งไม่จำเป็นต้องเป็นองุ่นเสมอไป, See also: grapevine | Inuit | (n) ชาวเอสกิโม, ภาษาเอสกิโม, See also: Inuktitut, Syn. Eskimo | artificial intelligence (AI) | (n) ปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ), สาขาหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเน้นเรื่องที่จะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ใกล้เคียงมนุษย์มากขึ้น แบ่งย่อยออกเป็นสาขาต่าง ๆ เช่น การแปลภาษาด้วยเครื่อง ระบบผู้เชี่ยวชาญ วิทยาการหุ่นยนต์ การรู้จำแบบ การรับรู้เยี่ยงมนุษย์ (human perception) ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] | Viennoiserie | (n) ขนมอบ ประเภทที่ใช้แป้งที่มียีสต์คล้ายกับขนมปัง แต่มีการใส่ส่วนประกอบเพิ่มเติมเช่น ไข่ เนย นม ครีม น้ำตาล เข้าไป ทำให้ได้ออกมาเป็นขนมที่ rich และมีรสหวาน โดยมากมักจะใช้แป้งที่ทำออกมาเป็นลักษณะเป็นชั้นๆ (laminated dough) ตัวอย่างขนมอบประเภทนี้ เช่น ครัวซอง (croissants), บริยอช (brioche), ขนมปังไส้ช็อกโกแลต (pain au chocolat) คำนี้เป็นภาษาฝรั่งเศส แปลตรงตัวคือ "things of Vienna" ของแห่งกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย | spinach | (n) ผักปวยเล้ง, ที่ในการ์ตูนเรื่อง Popeye แปลคำว่า spinach ว่าผักโขม หรือ ผักขม นั้นจริงๆ คือ ไม่ถูกต้อง (ผักโขม จะตรงกับภาษาอังกฤษ amaranth) | tabehodai | (n) รูปแบบการรับประทานอาหารแบบสั่งได้ไม่จำกัด แต่มักมีกำหนดเวลา เช่น ภายใน 2 ชั่วโมง มาจากภาษาญี่ปุ่น 食べ放題 (tabehoudai) |
| a | (n) อักษรตัวแรกในภาษาอังกฤษ | accidence | (n) ไวยากรณ์ที่เกี่ยวกับหน่วยคำเติม (ภาษา) | Afrikaans | (n) ชื่อภาษาราชการของแอฟริกาใต้ | aid-de-camp | (n) นายทหารติดตาม (มาจากภาษาฝรั่งเศส), See also: นายทหารผู้ช่วย, Syn. aide, aide-de-camp | aleph | (n) ชื่อของอักษรตัวแรกในภาษาฮิบรู | alpha | (n) พยัญชนะตัวแรกของภาษากรีก | American | (adj) เกี่ยวกับอเมริกา, See also: เกี่ยวกับชาวอเมริกา, เกี่ยวกับภาษาหรือวัฒนธรรมอเมริกา, Syn. Yankee | amour-propre | (n) ความรักตัวเอง (ภาษาฝรั่งเศส), Syn. self-esteem | anapaest | (n) การออกเสียงในภาษาอังกฤษที่สองพยางค์แรกเน้นเสียงเบาตามด้วยหนึ่งพยางค์ที่เน้นเสียงหนัก | Anglia | (n) ชื่อภาษาละตินของอังกฤษ | Anglo-Saxon | (n) คนที่มีภาษาแม่เป็นภาษาอังกฤษ | Annamese | (adj) เกี่ยวกับญวนหรือเวียดนาม (ชนชาติ ภาษาและวัฒนธรรม) | annum | (n) ปี (ภาษาละติน) | Arabic | (n) ภาษาหรืออักขระอาหรับ | article | (n) คำนำหน้านามในภาษาอังกฤษ | Aryan | (adj) เกี่ยวกับภาษาอารยัน | Aryan | (n) ภาษาอารยัน | assimilate with | (phrv) กลมกลืนไปกับ (โดยเฉพาะทางภาษา, วัฒนธรรม, วิถีชีวิต), See also: ค่อยๆกลมกลืนกับ | B | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 2 | b | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 2 | babble | (vt) พูดอ้อแอ้, See also: พูดไม่เป็นภาษา, พูดไม่ชัด, Syn. drivel, gibber, wander | baboo | (n) นาย (คำนำหน้าชื่อชายฮินดูเท่ากับ Mr.ในภาษาอังกฤษ), Syn. babu | babu | (n) นาย (คำนำหน้าชื่อชายฮินดูเท่ากับ Mr ในภาษาอังกฤษ), Syn. baboo | Bahasa Indonesia | (n) ภาษาอินโดนีเซีย | Basic | (n) ภาษาเบสิก, See also: โปรแกรมภาษาของคอมพิวเตอร์ | battle royal | (n) การรบหรือต่อสู้ที่ไม่มีกฎกติกา, See also: คำเป็นทางการ เป็นภาษาวรรณกรรม | bawd | (n) แม่เล้า (คำเก่า เป็นภาษาวรรณกรรม), Syn. procuress | bawd | (n) โสเภณี (คำเก่า เป็นภาษาวรรณกรรม), Syn. prostitution | beta | (n) อักษรตัวที่ 2 ของภาษากรีก (ตัวย่อคือ b) | bilingual | (adj) สามารถพูดหรือเขียนได้สองภาษา | bilingual | (n) คนที่สามารถพูดหรือเขียนได้สองภาษา | blitz | (n) ความพยายามอย่างมุ่งมั่นที่จะทำบางสิ่งให้สำเร็จ (ภาษาไม่เป็นทางการ) | bob | (n) การศัลยกรรมจมูก (ภาษาไม่เป็นทางการ) | body language | (n) ภาษาท่าทาง, See also: ภาษากาย, Syn. gesture | bomb | (n) คนเยี่ยมยอด (คำสแลง), See also: สิ่งของที่เยี่ยมยอด ภาษาสแลง | boohoo | (int) คำแทนเสียงร้องในภาษาเขียน | burr | (n) การลงเสียงหนักบนเสียง r ในภาษาอังกฤษ | C | (n) อักษรตัวที่ 3 ในภาษาอังกฤษ | c | (n) อักษรตัวที่ 3 ในภาษาอังกฤษ | Cambodian | (n) ภาษาเขมร, See also: คนเขมร, ชาวเขมร, Syn. Kampuchean | Cantonese | (n) ภาษาจีนกวางตุ้ง | capital letter | (n) ตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ในภาษาอังกฤษ | cedilla | (n) สัญลักษณ์ที่วางใต้ตัวอักษร C เพื่อแสดงว่าออกเสียงเหมือนเสียง S ไม่ใช่เสียง K (ในภาษาฝรั่งเศส) | centavo | (n) เหรียญที่มีค่าหนึ่งในร้อยของหน่วยเงินหลักในประเทศที่พูดภาษาสเปนและโปรตุเกส | chi | (n) พยัญชนะตัวที่ 22 ของภาษากรีก | Chinese | (n) ภาษาจีน | circumflex | (n) เครื่องหมายที่อยู่บนสระเพื่อแสดงการออกเสียงในบางภาษา | cognate | (adj) ซึ่งมาจากภาษาเดียวกัน | collocate | (vi) เกิดร่วมกันเสมอ (คำในภาษา) | colloquial | (adj) ซึ่งเป็นภาษาพูด, Syn. conversational, vernacular, slangy |
| ^ | <คำแปล> hat หมายถึง สัญลักษณ์ที่มีลักษณะคล้ายหมวก (^) ในภาษาไทยเราก็เรียกเครื่องหมายนี้ว่า "หมวก" ใช้แทน แป้นควบคุม (Control Key) เช่น กดแป้นควบคุมและแป้น K จะใช้ย่อ ๆ ว่า กด ^K ในภาษาเบสิกใช้หมายถึงการยกกำลัง เช่น 5^3 มีความหมายว่า 5 ยกกำลัง 3 ดู caret ประกอบ^ (สัญลักษณ์) <เครื่องหมาย>caretหมายถึง สัญลักษณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อกดแป้น Shift+6 (^) สัญลักษณ์นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมของบางภาษา โดยจะแทนคำสั่งเฉพาะบางคำสั่ง มีความหมายแตกต่างกันไป เช่น ^ ในภาษาปาสกาล (Pascal) ใช้แทนตัวชี้ (pointer) , ^ ใน ภาษาซี (C) ใช้แทนตัวดำเนินการ exclusive OR, ^ ใน ภาษาเบสิก (BASIC) ใช้แทนการยกกำลัง เป็นต้น | a | (เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง, อันดับหนึ่ง, สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment, artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ | ada | (เอดา) เป็นชื่อของภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง ใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับงานเขียนโปรแกรมของกิจการทหารของสหรัฐมาก่อน ผู้คิดภาษานี้ตั้งชื่อว่า Ada เพื่อเป็นเกียรติแก่ Lady Ada Augusta Lovelace ซึ่งเป็นชื่อสตรีผู้คิดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นคนแรกในโลก ในช่วงคริสศตวรรษ 1800 | afghan | (แอฟ' เกิน, -แกน) n. ชาวอัฟกานิสถาน, ภาษาอัฟแกน, พรมที่ถักด้วยมือชนิดหนึ่ง. -adj. เกี่ยวกับอัฟกานิสถาน, ชาวอัฟกานิสถาน | afrikaans | (แอฟริคานซ' คาน) n. ภาษาหนึ่งของอาฟริกาใต้ที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยชาวฮอลลันดา., Syn. Taal | afrikander | (แอฟริคาน ' เดอะ, -เนอะ) ชาวอาฟริกาที่พูดภาษา Afrikaans. ชื่อพันธุ์วัวแดงชนิดหนึ่งในอาฟริกาใต้, Syn. Africander astern, abaft | afro-asiatic languages n. | pl. กลุ่มของภาษาที่ใช้กันแพร่หลายในอาฟริกาเหนือ และเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ ประกอบด้วย Semitic, Egyptian, Berber, Cushitic, Chad., Syn. Hamito-Semitic languages | albanian | (แอลเบ' เนียน) adj., n. เกี่ยวกับประเทศอัลบาเนีย, ภาษาอัลบาเนีย | alemannic | (แอลลิแมน' นิค) ภาษาของ Alemanni, ซึ่งเกี่ยวกับ Alemanni | algol | (แอล' กอล) n. Algo (rithmic) L (anguge) เป็นภาษาหนึ่งในการทำ programming ของระบบคอมพิวเตอร์ ย่อมาจากคำว่า ALGOrithmic Language เป็นภาษาที่ใช้ ในการเขียนโปรแกรม ปัจจุบันนี้ ภาษานี้เกือบจะไม่มีใช้แล้ว เพราะเป็นภาษาที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน แต่ก็ถือกันว่าเป็นต้นตระกูลของ ภาษาปาสกาล (Pascal) | algonquian | (แอลกอง' เควน) n., adj. ตระกูลหนึ่งของภาษาอินเดียแดง, ผู้ที่พูดภาษานี้ | algonquin | (แอลกอง' คิน. -ควิน) n., (pl. -quins) อินเดียแดงที่พูดภาษา Algonquin | all-purpose computer | คอมพิวเตอร์เอนกประสงค์หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบขึ้นใช้เพื่อให้ทำงานสนองความต้องการได้หลายวัตถุประสงค์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่อาจใช้วิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้ทำงานได้ด้วยภาษาต่าง ๆ หลายภาษา (คอมพิวเตอร์ที่พูดถึงโดยทั่วไปในปัจจุบันนี้ ส่วนมากจะเป็นคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์ทั้งสิ้นดู special purpose computer เปรียบเทียบ | alpha | (แอล' ฟะ) n. พยัญชนะตัวแรกของภาษากรีก, จุดเริ่ม, สิ่งแรก, ดาวที่สว่างที่สุดในกลุ่มดาว, ตำแหน่งหนึ่งของอะตอมหรือกลุ่มของอะตอมในสารประกอบ, isomer แบบหนึ่งของสารประกอบ | altaic | (แอลเท' อิค) n. กลุ่มของภาษาที่ประกอบด้วย Turkic, Mongolian, Tungusic, Korean. -adj. เกี่ยวกับ Altaic, เกี่ยวกับเทือกเขา Altai., Syn. Altaian | american english | ภาษาอังกฤษที่ใชเในอเมริกา | american language | ภาษาอังกฤษที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา (English) | americanism | (อะเม' ริคันนิสซึม) n. ความเลื่อมในในอเมริกา, ภาษาหรือคำศัพท์ที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา , ประเพณีอเมริกัน, แบบอเมริกัน | americanist | (อะเม' ริคันนิสทฺ) n. นักศึกษาเกี่ยวกับเครื่องของอเมริกา (โดยเ) พาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร็และภูมิศาสตร์) พวกเชี่ยวชาญวัฒรธรรมหรือภาษาของอินเดียนแดง. -Americanistic adj. (student of America) | amerind | (แอม' เมอไรนดฺ) n. ชาวอินเดียแดงและเอสกิโมในอเมริกาเหนือและใต้, ภาษาท้องถิ่นของอินเดียแดง. -Amerindian adj., n. -Amerindic adj. | amharic | (แอมฮา' ริค, อามฮา' ริค) n. ภาษาราชการของเอธิโอเปีย. -adj. เกี่ยวกับภาษานี้ | anatolian | (แอนนะโท' เลียน) adj., n. เกี่ยวกับ Anatolia, ภาษาหรือประชาชนที่อยู่แถว Anatolia, Syn. Anatolic | anglia | (แอง' เกลีย) n. ประเทศอังกฤษ (ภาษาลาติน) (England) | anglian | (แอง' กลิอัน, แอง' กลิค) adj., n. เกี่ยวกับ Angles, ชนเผ่า Anglies. ชื่อกลุ่มภาษาอังกฤษโบราณ | anglicise | (แอง' กลิไซซ) vt., vi. ทำให้เป็นอังกฤษ (ขนบธรรมเนียม, ลักษณะ, มารยาท, ฯลฯ) ให้เป็นภาษาอังกฤษ. -Anglicis (z) ation n. -Anglicism n. | anglicize | (แอง' กลิไซซ) vt., vi. ทำให้เป็นอังกฤษ (ขนบธรรมเนียม, ลักษณะ, มารยาท, ฯลฯ) ให้เป็นภาษาอังกฤษ. -Anglicis (z) ation n. -Anglicism n. | anglo- french | (แอง' โกลเฟรนซฺ) adj. เกี่ยวกับอังกฤษและฝรั่งเศส. -n. ภาษาฝรั่งเศสี่ใช้ในอังกฤษโดยชาวนอร์มันในปลายยุคกลาง., Syn. Anglo-Norman | anglo-indian | (แอง' โกลอิน' เดียน) adj. เกี่ยวกับอังกฤษและอินเดีย. -n. คนที่มีเชื้อสายอังกฤษและอินเดียรวมกัน, ภาษาที่คนเหล่านี้พูดกัน | anglo-norman | (แอง' โกลนอร์' มัน) adj. เกี่ยวกับสมัย ค.ศ.1066-1155 เมื่ออังกฤษถูกปกครองโดยชาวนอร์มัน, เกี่ยวกับภาษาฝรั่งเศสที่ใช้ในอังกฤษในสมัยดังกล่าว. -n. คนหรือภาษาในสมัยดังกล่าว | anglo-saxon | (แอง' โกล' แซคเซิน) n. คนที่มีภาษาแม่เป็น อังกฤษ, คนอังกฤษสมัยก่อนที่ชาวนอร์มันเข้าครอบครอง, คนชาวอังกฤษ, คนที่มีบรรพบุรุษ เป็นอังกฤษ, ภาษาอังกฤษง่าย -adj. เปิดเผย, ตรงไปตรงมา, ทื่อ | annamese | (แอนนะมีส' -มีซ) adj., n. (pl. -mese) เกี่ยวกับญวนหรือเวียตนาม, ชาวญวน (Annamite) ภาษาญวน (of Annam) | ansi c | (แอนซี ซี) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี (C language) ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ บริษัทที่ผลิตตัวแปลภาษาซี (C compiler) ก็ พยายามที่จะทำทุกอย่างตามมาตรฐานนี้ แต่ก็ได้เพิ่มคุณสมบัติต่าง ๆ เข้าไป เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไปอีก จนบางครั้งเหมือนกับลืมจุดประสงค์ดั้งเดิมไปเลยดู ANSI ประกอบ | arabic | (อา'ราบิค) adj. เกี่ยวกับอาหรับหรืออาระเบีย. -n. ภาษาอาหรับ (of Arabia) | arabist | (อา'ราบิสทฺ) n. ผู้เชี่ยวชาญภาษาหรือวัฒนธรรมของอาหรับ (expert on Arabia) | aramaic | (อาระเม'อิค) n. ภาษาอาหรับของประเทศซีเรียและปาเลสไตน์ (Aramean, Aramaean) | archaicism | (อาร'์ คีอิส'ึม, อาร์เค'อิส'ซึม) n. สิ่งที่โบราณ (ศัพท์, ภาษา, ธรรมเนียม) , การใช้สิ่งที่โบราณ. -archaist n., archaistic adj. (archaic word, usage, etc.) | archaism | (อาร'์ คีอิส'ึม, อาร์เค'อิส'ซึม) n. สิ่งที่โบราณ (ศัพท์, ภาษา, ธรรมเนียม) , การใช้สิ่งที่โบราณ. -archaist n., archaistic adj. (archaic word, usage, etc.) | argot | (อาร์'กอท) n. ศัพท์ลับ, ภาษาลับ, สัญญาณลับ -argotic adj. (idiomatic vocabulary) | arsis | (อาร์'ซิส) n., (pl. -ses) จังหวะขึ้น, จังหวะเมา, พยางค์เสียงหนัก (ในโคลงกลอนภาษาอังกฤษ | arvo | (อาร์'โว) n. ตอนบ่าย (คำแสลงของภาษาออสเตรเลีย) (afternoon) | aryan | (แอร'ระเยิน) n., adj. ชาวอารยัน, ภาษาอาหรับ, เกี่ยวกับอารยัน., Syn. Arian | assamese | (แอสซะมีซ') adj., n. (pl. -mese) เกี่ยวกับรัฐอัสสัม (พลเมือง, ภาษาและอื่น ๆ) . -n. ชาวอัสสัม, ภาษาอัสสัม | assemble | (อะเซม'เบิล) vt. รวบรวม, ประชุม, รวมเข้า. -assembler n., Syn. combine, collect, Ant. disperse, separate แปล ภาษาแอสเซมบลี หมายถึงแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง machine language เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ได้ | assembler | แอสเซมเบลอร์ตัวแปลภาษาแอสเซมบลีหมายถึง โปรแกรมที่ใช้เพื่อทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์อ่านแล้วเข้าใจ และปฏิบัติตามคำสั่งได้ ดู assembly language | assembly language | ภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU) | assyrian | (อะเซอ'เรียน) n. ชาวแอสซีเรีย, ภาษาแอสซีเรีย. -adj. เกี่ยวกับชาวเมืองและภาษาแอสซีเรีย (of Assyria) | assyriology | (อะเซอริออล'โลจี) n. การศึกษาประวัติศาสตร์ภาษา วัฒนธรรมและอื่น ๆ ของ Assyria -Assyriologist, n. | athapaskan | (แอธธะแพส'คัน) n. กลุ่มภาษาอินเดียแดง (ในแคนนาดา อาลาสกา ออริกอน แคลิฟอร์เนีย) . เช่น ภาษาอาปาเช่., Syn. Athapascan, Athabascan, Athabaskan | atticism | (แอททิซิสซึม) แบบอย่างของเอเธนส์ (ภาษา, ชาวเมือง, ศิลป, ฯลฯ) , ความนิยมชมชอบเอเธนส์. -Atticist, atticist n. (concise and elegant expression) | australian | (ออสเทร'เลียน) adj. เกี่ยวกับออสเตรเลีย -n. ชาวออสเตรเลีย, ชาวพื้นเมืองออสเตรเลีย, ภาษาออสเตรเลีย |
| Arabic | (n) ภาษาอาหรับ, ตัวอาราบิค | bilingual | (adj) พูดได้สองภาษา | British | (n) ชาวอังกฤษ, ภาษาอังกฤษ | Chinese | (n) ชาวจีน, คนจีน, ภาษาจีน, หนังสือจีน | colloquial | (adj) เกี่ยวกับภาษาพูด | colloquialism | (n) ภาษาปาก, ภาษาพูด, คำพูดธรรมดาๆ | dialect | (n) ภาษาถิ่น, ภาษาพื้นเมือง, สำเนียงท้องถิ่น | Dutch | (n) ชาวฮอลันดา, ชาวเนเธอร์แลนด์, ชาวดัช, ภาษาดัช | Egyptian | (adj) เกี่ยวกับประเทศอียิปต์, เกี่ยวกับชาติไอยคุปต์, เกี่ยวกับภาษาอียิปต์ | Egyptian | (n) ชาวอียิปต์, ชาวไอยคุปต์, ภาษาอียิปต์ | English | (n) ชาวอังกฤษ, คนอังกฤษ, ภาษาอังกฤษ | euphemism | (n) การใช้ถ้อยคำสุภาพ, การใช้ภาษาสละสลวย | euphuism | (n) การใช้ภาษาหรู, การใช้ภาษาสละสลวย | French | (n) ชาวฝรั่งเศส, คนฝรั่งเศส, ภาษาฝรั่งเศส | German | (n) ชาวเยอรมัน, คนเยอรมัน, ภาษาเยอรมัน | grammar | (n) หลักไวยากรณ์, หลักภาษา | grammatical | (adj) ตามไวยากรณ์, ตามหลักภาษา, เกี่ยวกับไวยากรณ์ | Greek | (n) ชนชาติกรีก, ประเทศกรีก, ชาวกรีก, ภาษากรีก | Gypsy | (n) ชาวยิปซี, ภาษายิปซี | Hebrew | (n) คนยิว, ชาวอิสราเอล, ภาษายิว, ภาษาอิสราเอล | hexameter | (n) โคลงภาษาอังกฤษที่มีหกจังหวะ | iambic | (n) จังหวะในโคลงภาษาอังกฤษ | idiom | (n) โวหาร, สำนวน, ภาษาเฉพาะถิ่น, ลักษณะเฉพาะ | Indian | (n) ชาวอินเดีย, แขก, ภาษาอินเดีย | intelligible | (adj) เข้าใจได้, เป็นภาษา, เข้าใจง่าย | Irish | (n) ชาวไอริช, ภาษาไอริช | Italian | (n) ชาวอิตาลี, ภาษาอิตาลี | Japanese | (n) ชาวญี่ปุ่น, คนญี่ปุ่น, ภาษาญี่ปุ่น | language | (n) ภาษา, ถ้อยคำ | Latin | (adj) เกี่ยวกับภาษาลาติน | Latin | (n) ภาษาลาติน, ชาวลาติน | linguist | (n) นักภาษาศาสตร์ | linguistics | (n) ภาษาศาสตร์ | mandarin | (n) ขุนนางจีน, เจ้าสัว, ส้มจีน, ตุ๊กตาจีน, ภาษาจีนกลาง | parlance | (n) วิธีการพูด, ภาษาเฉพาะ, การพูดจา, สำนวน | phraseology | (n) การใช้ถ้อยคำ, สำนวนโวหาร, ภาษาเฉพาะ | polyglot | (adj) ที่รู้หลายภาษา, ที่พูดได้หลายภาษา | polyglot | (n) คนรู้หลายภาษา, คนพูดได้หลายภาษา | polytechnic | (adj) เกี่ยวกับวิชาหลายประเภท, เกี่ยวกับการสอนหลายภาษา | Portuguese | (n) ชาวโปรตุเกส, ภาษาโปรตุเกส | Roman | (n) ภาษาโรมัน, ชาวโรมัน | Russian | (n) ภาษารัสเซีย, ชาวรัสเซีย | Sanskrit | (n) ภาษาสันสกฤต | Siamese | (n) ชาวสยาม, ชาวไทย, ภาษาไทย | slang | (n) คำสแลง, ภาษาตลาด, ภาษาปาก, คำเฉพาะกลุ่ม | Spanish | (n) ภาษาสเปน, ชาวสเปน | Thai | (n) ภาษาไทย, คนไทย, ชาวไทย | tongue | (n) ลิ้น, สำนวน, คารม, ภาษา, ลิ้นของรองเท้า, ลูกตุ้มระฆัง, หมุด | trope | (n) คำอุปมา, รูปของภาษา | Turkish | (n) ภาษาตุรกี |
| 'bout | (slang) คำย่อของ about ;เป็นภาษาไม่เป็นทางการมักใช้บนอินเทอร์เน็ต ( * w *m iiiita), Syn. about | 'scuse me | (slang) คำย่อของ excuse me; เป็นภาษาไม่เป็นทางการมักใช้ในการสนทนาบนอินเทอรืเน็ต ( * w *m iiiita) | -kuy- | [[ kuːy ]] (n) kuy (n ) ภาษากูย หรือ ภาษากวย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มกะตู พบในไทยพื้นที่จังหวัดแถบภาคอีสานใต้ เช่น จังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด | acrolect | ภาษาย่อยช่วงบน | anthropological linguistics | ภาษาศาสตร์มนุษยวิทยา | artificial language | ภาษาประดิษฐ์ | asymmetrical bilingualism | ภาวะสองภาษาแบบไม่สมดุล | Backdoor account | (n) บัญชีลับหรือประตูหลัง ในภาษาทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง รูรั่วของระบบหรือซอฟแวร์ นักพัฒนาระบบจงใจสร้างทิ้งไว้ เพื่อให้ซอฟแวร์คอยส่งข้อมูลจากอุปกรณ์ที่มันติดตั้งอยู่ กลับไปหาโปรแกรมเมอร์ผู้พัฒนา หรือเป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลภายในได้ | be grudge | กรุณาเอาคำนี้ออกจากเพจเพราะมันเขียนผิดครับ ในภาษาอังกฤษมี to bear/hold a grudge และ to begrudge ด้วย แต่ไม่มีคำว่า to be grudge หรอกครับ | code switching | (n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) การถ่ายความหมายของคำจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยไม่คำนึงถึงบริบท ผลงานแปลจึงขาดความพลิ้ว ลีลา และอรรถรส ดังเช่นการแปลด้วยซอฟแวร์แปล | complacency | (n) การหลงพึงพอใจ (แบบทุเรศ) Note: Longdo และ dictionary อื่นมองข้ามรูปแบบการใช้ในหลายคำ อย่างคำนี้ มีรูปแบบเชิงลบ และเป็นลบมาก. ทั้งคำ complacency และ complacent ไม่ตรงกับภาษาไทยที่เราใช้ทั่วไป จึงยากที่จะตั้งคำได้ตรง. | compute | (vt) compute vt. คึ่มพิ้วท์ (พบบ่อย) 1. คำนวณ nc. ค็อมพิ้วเตอร์ (บังคับ) 1. (comp.) คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ประมวลผลที่มีความจำ ตามชุดคำสั่ง และสามารถบันทึกผลการประมวลได้ 2. (comp.) พนักงานคำนวณ ในแง่ที่ทำกันเป็นร้อยคน ในสมัยโบราณ ในงานดาราศาสตร์ (ความหมายโบราณ) nc. 1. (comp.) ศิลปะโดยคอมพิวเตอร์ คือ ศิลปที่สร้างหรือทำขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพ หรือระบายสี เป็นต้น nc. 1. (comp.) คอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง คือ ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดเมนเฟรม หรือมินิคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางเครือข่ายทำหน้าที่บริการด้านประมวลผลข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการในเครือข่าย nc. 1. (comp.) สกุลของคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในกลุ่มที่สร้างขึ้นจาก microprocessor ชนิดเดียวกัน หรือ คล้ายกัน ตัวอย่างสกุลของคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของบริษัทไอบีเอ็ม และแบบ PS /2 nc. 1. (comp.) เกมคอมพิวเตอร์ คือ การเล่นเกมโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ การเล่นเกมในคอมพิวเตอร์ มักควบคุมการเล่นโดยคันโยก (joystick)หรือ แป้นพิมพ์ (keyboard) ก็ได้ nc. 1. (comp.) ชุดคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งเพื่อจะนำไปใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานตามคำสั่งนั้น ๆ nc. 1. (comp.) ระบบคอมพิวเตอร์ คือ ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยชุดฮาร์ดแวร์ และเครื่องอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ร่วมกันของระบบ เช่น ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยตัวเครื่อง ดิสก์ไดร้ว์ จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ และเมาส์ nc. 1. (comp.) ยุคพัฒนาการคอมพิวเตอร์ ในช่วงระหว่างกลางปี พ.ศ. 2503 - 2513 เป็นยุคที่คอมพิวเตอร์เปลี่ยนมาใช้ IC หรือวงจรรวม ชื่อเต็มว่า integrated circuit หรือ IC n. (ศัพท์คอม) 1. (comp.) ความสามารถที่ใช้งานคอมพิวเตอร์ให้เป็นประโยชน์ nc. 1. (comp.) การใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสอน มีความหมาย เช่นเดียวกับ computer-assisted instruction สามารถดูคำอธิบายใน CAI n. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ศัพท์ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ v. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยทำงาน | connotation | (n) ความหมายพิเศษของคำซึ่งมีอยู่กับผู้ใช้ภาษาแต่ละคน เช่น "แมว" บางคนอาจนึกถึงความสะอาดน่ารัก ขณะที่บางคนอาจนึกถึงการกินหนูซึ่งสกปรกน่ารังเกียจ | Deverbalism (deverbalisme) | (n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) การไม่ยึดติดถ้อยคำในภาษาต้นฉบับ ผู้แปลควรถอยออกห่างจากข้อความแล้วพิจารณาสาระสำคัญของข้อความนั้นๆ ใหม่ ก่อนที่จะแปลให้เป็นธรรมชาติหรือให้เป็นวาทกรรมที่ดีในภาษาปลายทาง | dunno | (phrase, colloq) ผมไม่รู้ (มาจากคำว่า I don't know) เป็นภาษาที่ไม่เป็นทางการอย่างมากของ British English | elvish | [-เอลฝิฌ] (n, adj) ภาษาเอลฟ์ ของเอลฟ์ เกี่ยวกับเอลฟ์, See also: elf, Syn. elven | enuff | (slang) เพียงพอ ;คำย่อของ enough เป็นภาษาไม่เป็นทางการมักใช้ในการสนทนาบนอินเทอร์เน็ต ( * w *m iiiita) | Esperanto | (n) ภาษาเอสเปรันโต | executable statement | (n) ข้อความสั่งทำการหมายถึง คำสั่งในภาษาระดับสูงที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ลงมือทำการ | frost | (n) แม่คะนิ้ง (ภาษาถิ่นทางภาคเหนือ) | fully fashioned | [Fully fashioned (ฟุ้ล หลิ แฝด เฉิ่น ดฺ) / Full-fashioned (ฟุล แฟ้ด เฉิ่น ดฺ)] (adj) 1. Fully fashioned (ฟุ้ล หลิ แฝด เฉิ่น ดฺ) เป็นคำคุณศัพท์ที่มีใช้ในภาษาอังกฤษ (ฺBrE.) 2. Full-fashioned (ฟุล แฟ้ด เฉิ่น ดฺ) เป็นคำคุณศัพท์ที่มีใช้ในภาษาอเมริกัน (ฺAmE.) ทั้งสองคำมีความหมายว่า "เย็บเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มแบบเข้ารูปหรือรัดรูป" เช่น Fully fashioned clothes (เสื้อผ้ารัดรูป) / fully fashioned stockings (ถุงน่องรัดรูป) / fully fashioned tights (กางเกงถุงน่องรัดรูป) เป็นต้น | futsal | (n, name) เป็นกีฬาฟุตบอลซึ่งเล่นกันในร่ม / มีรากศัพท์มาจากภาษาสเปน และ โปรตุเกต 'Futsal is an indoor version of association football. Its name is derived from the Portuguese futebol de salão and the Spanish fútbol sala/de salón, which can be translated as 'indoor football', See also: football, soccer, Syn. indoor soccer | Hypothalamic | [ไฮโปทาลามัส] มาจากภาษากรีก ὑποθαλαμος แปลว่า ใต้ทาลามัส เป็นโครงสร้างของสมองที่อยู่ใต้ทาลามัส (thalamus) แต่เหนือก้านสมอง (brain stem) ทำหน้าที่เชื่อมโยงการทำงานของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ โครงสร้างนี้เป็นโครงสร้างหลักที่อยู่ด้านล่างของไดเอนเซฟาลอน (diencephalon) พบในสมองของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทุกชนิด ในมนุษย์มีขนาดประมาณเมล็ดอัลมอนด์ | ideographic | [ไอดีออแกรฟ'ฟิค] (adj) ภาพแสดงความหมาย ตัวอักษรแสดงความหมาย เช่น ตัวอักษรภาษาจีน | infarction | [อิน ฟาร์ค ชั่น] (n) เป็นการตายของเนื้อเยื่อ (necrosis)เนื่องจากบริเวรที่เกิดปัญหามีเลือดไปหล่อเลี้ยงไม่เพียงพอหรือไม่มีเลือดไปเลี้ยงเลยทำให้เกีดเป็นบริเวณเนื้อตาย อาจเกีดจากการอุดตัน การแตกของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยง ซึ่งรอยโรคที่เกิดจากพภาวะดังกล่าวเรียกว่า an infarct (มาจากภาษาลาตินคำว่า infartus "อุดตัน.) ตัวอย่าง cerebral infarction "เนื้อสมองตายจากการขาดเลือดไปเลี้ยง" | joust | (vt) การต่อสู้ระหว่างอัศวินบนหลังม้า (ภาษาโบราณ) | kuy | (n) ภาษากูย หรือ ภาษากวย หรือ ภาษาส่วย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มกะตู พบในไทย ในจังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด | LANNA | (n) ล้านนา คือดินแดนที่มีจำนวนที่นานับล้าน เป็นอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ได้แก่จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ พะเยา น่าน ลำพูน และ ลำปาง โดยมีเมืองเชียงใหม่ เป็นราชธานี มีภาษาที่เรียกว่า คำเมือง หรือภาษาเหนือ ตัวหนังสือ ตัวเมือง วัฒนธรรม และ ประเพณี เป็นของตนเอง ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการปกครอง เป็นระบอบมณฑลเทศาภิบาล ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมี พระเจ้าอินทวิชยานนท์, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 เป็นพระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในฐานะราชอาณาจักรพระองค์สุดท้าย และ เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เป็นเจ้าผู้ปกครองนครองค์สุดท้าย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือและเชื้อสาย "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)" อยู่ในราชตระกูล ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง และ ณ น่าน | lnw | (slang) เป็นคำที่เลียนแบบภาษาไทยให้ดูคล้ายคำว่า "เทพ" เป็นที่นิยมในหมู่เกรียนเพื่อที่จะบ่งบอกความเก่งของตน ซึ่งโดยมากจะตรงกันข้ามโดยสิ้นเชิง, Syn. god | lv | [เอลวี] ในภาษของเกมส์ online ---- LV จะย่อมาจาก level ซึ่งความหมายของ lavel ในภาษาอังกฤษคือ ระดับ, ขั้น, ชั้น เช่น Character LV.99 เท่ากับ ตัวละครเลเวล 99 นั้นเอง | moonspeak | (slang) การพูดภาษาที่คนอื่นไม่เข้าใจ ( * w *m Power by iiiita also RYUTAZA) | much obliged | (phrase) (ภาษาอังกฤษโบราณ แต่ก็ยังมีใช้กันอยู่) ขอบคุณ, เป็นคำแสดงความระลึกถึงบุญคุณของอีกฝ่าย | nairong | (n) โรงเรียนมัธยมแ่ห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ฝั่งธนบุรี เปิดหลักสูตรสองภาษาและประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี, See also: Nairong School, Syn. มัธยมวัดนายโรง | nla | (abbrev, name, org) สนช. ย่อมาจากคำว่า สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เกิดขึ้นจากการแต่งตั้งของคณะรัฐประหาร(19 กันยายน 2548)โดยภาษาอังกฤษคำเต็มคือ National Legislative Assembly | nlp | (n, modal, verb, adv, slang) การประมวลผลภาษาธรรมชาติ | Notice that setdiff is not symmetric. Further, note that we can calculate the comp | [ไทย] (n, vi, vt, aux, verb, adj, adv, conj, pron, phrase, abbrev, uniq) ภาษาไทย | openoffice.org | (uniq) ชุดซอฟต์แวร์เพื่อสำนักงาน เรียกทับศัพท์ว่า "โอเพนออฟฟิศ" เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สโดยบริษัท ซันไมโครซิสเต็ม ซึ่งมีความสามารถในการใช้งานภาษาไทย และ สามารถทดแทนชุดซอฟต์แวร์เพือสำนักงานอื่นๆ ได้ เช่นสามารถเปิดไฟล์ที่นามสกุล .doc, .xls ได้ Image: | orang-utan | (n, name) ลิงอูรังอูตัง orang ภาษามาเลย์แปลว่า คน Utan ภาษามาเลย์แปลว่า ลิง | padi | (slang, malasia) ข้าว ข้าวเปลือก เป็นภาษามาเลย์ | panegyric | (n) บทสดุดี คือสุนทรพจน์อย่างเป็นทางการหรือต่อมาเป็นบทเขียนที่ใช้ในการสรรเสริญบุคคลหรือสิ่งของ เป็นคำที่มาจากภาษากรีกที่หมายถึงสุนทรพจน์ที่เหมาะแก่ที่ประชุม (panegyris) ในเอเธนส์การกล่าวบทสดุดีจะทำกันในเทศกาลระดับชาติหรือในการแข่งขันกีฬาโดยมีจุดประสงค์ในการเร้าใจผู้ที่มาร่วมเพื่อให้ปฏิบัติตนเช่นตัวอย่างอันดีของบรรพบุรุษ (Source:wikipedia.org), See also: eulogy | papermarche | [เปเปอร์มาร์เช่] (n) มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า papier-mache เป็นการใช้กระดาษที่ไม่ใช้ทำงานประดิษฐ์ (molding materialof waste paper), See also: A. n/a, papier-marche, Syn. งานปะติดที่ทำด้วยเศษกระดาษ | Patmose | [พัท มอส] (n) Patmos เป็นชื่อเกาะขนาดเล็กใน(เป็นภาษากริก) Aegean ทะเลและสามารถพบได้ระหว่างเกาะ Leros และ Ikaria. ... ประมงประวัติของพิพิธภัณฑ์เป็นนักท่องเที่ยว Philoproodos กล่าวกันว่านักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสเป็นคนคนเดียวกับ “นักบุญอัครสาวก” ... (ดูเพิ่ม นักบุญจอห์นเพรสไบเตอร์ (John the Presbyter) และ นักบุญจอห์นแห่งพัทโมส (John of Patmos) ...ได้เห็นนิมิตที่พระเจ้าททรงประทานให้พ่านทูตสวรรค์ และยอห์นเขียนขึ้นมาเป็นเล่มเรียกชื่อว่า "พระธรรมวิวรณ์" | Perl | (n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย | Perl | (n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย | Pharmacopoeia | [ฟามาโคเปีย] (n, pharm) หนังสือตำรายาฉบับสากล ยอมรับและใช้กันทั่วโลก บอกข้อมูลเกี่ยวกับยาและวิธีการตรวจสอบยาในหัวข้อต่างๆ หัวข้อใน pharmacopoeia เช่น Description, Purity rubric, Identification, Assay เป็นต้น Pharmacopoeia ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น USP(pharmacopoeia ของUSA), BP(pharmacopoeia ของBritish) JP(pharmacopoeia ของ Japan) ปัจจุบันประเทศไทยมี pharmacopoeia เป็นของตัวเองแล้ว โดยใช้อักษรย่อว่า TP จัดพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ | phasin | (n, name) ผ้าซิ่น เป็นเครื่องแต่งกายของผู้หญิง ผ้าทอเป็นผืนด้วยมือ เป็นผืนยาวประมาณ 2 เมตร ใช้นุ่งโดยการพันรอบตัวตั้งแต่เอวลงไป อาจตัดและเย็บก็ได้ มีใช้ในประเทศไทย ลาว พม่า มีลวดลายต่าง ๆ กัน ภาษาไทยเรียก ผ้าถุง หรือผ้านุ่ง ก็ได้ | philological | (adj) เกี่ยวกับการศึกษาเรื่องภาษาที่ใช้ในอักษรศาสตร์ เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ | philology | [(ฟิลอจ'ละจี)] (n) นิรุกติศาสตร์, ภาษาศาสตร์, การศึกษาเรื่องภาษา., Syn. Synonym: . philological adj. philologist n. !philologer n. philologize vi. ###S. | phrase book | (n) หนังสือสอนภาษาฉบับย่อ | Potato Potato | [โพเทโท่ โพทาโท่] (slang) เหมือนๆกัน เป็นสำนวนของภาษาอังกฤษที่เล่นกับการออกเสียง Potato ทั้งสองคำจะอ่านต่างกัน (เสียง แอ กับเสียง อา) ซึ่งทั้งสองล้วนแปลว่า มันฝรั่ง เหมือนกัน, Syn. Same |
| 和文 | [わぶん, wabun] (n) เขียนเป็นภาษาญี่ปุ่น | 国語辞典 | [こくごじてん, kokugojiten] (n) พจนานุกรมภาษาญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น-ญี่ปุ่น) | 弊社 | [へいしゃ, heisha] (n) บริษัทของผู้พูด เป็นคำสุภาพแบบถ่อมตัว เมื่อพูดถึงบริษัทของตนเอง มักใช้เป็นภาษาเขียนในจดหมาย, Ant. 御社 | 明敏 | [めいびん, meibin] (n, adj, adv) ความคิด, เชาวน์, ไหวพริบ, มีไหวพริบ, เข้าใจภาษา, เป็นเรื่องเป็นราว, ฉลาด, รู้จักคิด, รู้จักเหตุผล, ข่าวคราว | 英和辞典 | [えいわじてん, eiwajiten] (n) พจนานุกรมภาษาอังกฤษ-ญี่ปุ่น | 英文 | [えいぶん, eibun] (n) เขียนเป็นภาษาอังกฤษ | 設変 | [せっぺん, seppen] (vt) เป็นคำย่อในภาษาญี่ปุ่น (ส่วนมากแล้วใช้ในโรงงานที่มีการออกแบบ)ซึ่งมาจากคำว่า 設計(การออกแบบ)+変更(การเปลี่ยนแปลง)=設変 การเปลี่ยนแปลงแบบ หรือ Design Change |
| 医師 | [いし, ishi] (n) (ภาษาทางการ) แพทย์, หมอ, See also: S. 医者 | タイ語 | [たいご, taigo] (n) ภาษาไทย | 明かん (アカン) | [あかん, akan] (ภาษาพูด)ใช้ไม่ได้ ไม่ได้การ | 補数 | [ほすう, hosuu] ภาษาไทยมักใช้ทับศัพท์ว่า Complement เป็นศัพท์เฉพาะทางในสายวิชาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ One Complement 1の補数, Two Complement 2の補数 One Complement คือ จำนวนที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้ได้เป็นค่าสูงสุดของเลขฐานนั้นๆ ในจำนวน digit ที่เท่ากัน เช่น คำถาม: ให้หา One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 คำตอบ: 345 มี 3 หลัก (digit) ค่าสูงสุดของเลขฐาน 10 ที่มี 3 หลักคือ 999 999-345=654 654 คือ One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 Two Complement คือ จำนวนน้อยที่สุดที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้จำนวนหลัก (digit) ของผลลัพธ์เพิ่มขึ้น 1 หลัก (digit) โดยปกติ วิธีการหา Two Complement ก็คือ เอา One Complement + 1 เช่น คำถามข้างบน ก็จะได้ Two Complement ของ 345 เป็น 655 | 母語 | [ぼご(โบโกะ)] (n) ภาษาแม่ | 三昧 | [さんまい, sanmai] (n) สมาธิ (คำว่า สัมไม เป็นคำศัพท์ทางศาสนาที่ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาบาลีสันสกฤตของอินเดียอย่างเดียวกับที่ภาษาไทยใช้ ที่อินเดียจะออกเสียงว่า สะ-มา-ดิ๊) | 可逆圧縮 | [かぎゃくあっしゅく, kagyakuasshuku] (n) เป็นศัพท์ทางเทคนิคในการบีบอัดข้อมูล มาจากภาษาอังกฤษ Lossless Compression ซึ่งก็คือ ข้อมูลก่อนการบีบอัดและข้อมูลหลังการขยายข้อมูลที่ถูกบีบอัดกลับมา มีความถูกต้องตรงกันไม่มีข้อแตกต่าง, See also: R. 非可逆圧縮 | 非可逆圧縮 | [ひかぎゃくあっしゅく, hikagyakuasshuku] (n) เป็นศัพท์ทางเทคนิค เกี่ยวข้องกับการบีบอัดข้อมูล จากภาษาอังกฤษว่า Lossy Compression คือ ข้อมูลก่อนการบีบอัดและหลังจากคลายการบีบอัดคืนกลับมา ข้อมูลที่ได้จะมีบางส่วนผิดเพี้ยนไป ดู Lossless Compression, See also: R. 可逆圧縮 | 階調 | [かいちょう, kaichou] (n) เป็นศัพท์ทางเทคนิค เกี่ยวกับ เรื่องภาพแสงสี มาจากภาษาอังกฤษคำว่า Gradation ซึ่งคือ การที่แสงสีมันการลดลั่นกันจาก เข้มไปอ่อน อ่อนไปเข้ม หรือ สว่างไปมืด | シアン | [しあん, shian] (n) เป็นสีหนึ่งในหมวด CMYK (สีที่เกิดจากการผสมแสงสี ให้นึกถึงตราสัญลักษณ์ของช่อง 7) <BR> Cyan (ภาษาฮอลลันดา) สีออกฟ้า = เกิดจากการผสมแสงสีเขียวกับสีน้ำเงิน <BR> Magenta สีออกชมพูเข้ม = เกิดจากการผสมแสงสีแดงกับสีน้ำเงิน <BR> Yellow สีเหลือง = เกิดจากการผสมแสงสีเขียวกับสีแดง <BR> K เป็นสีดำ = เกิดจากการผสมแสงสีแดงกับแสงสีเขียวกับสีน้ำเงิน(เอา RGB มาผสมกันหมด) | マジェンタ | [まじぇんた, majienta] (n) เป็นสีหนึ่งในหมวด CMYK (สีที่เกิดจากการผสมแสงสี ให้นึกถึงตราสัญลักษณ์ของช่อง 7) <BR> Cyan (ภาษาฮอลลันดา) สีออกฟ้า = เกิดจากการผสมแสงสีเขียวกับสีน้ำเงิน <BR> Magenta สีออกชมพูเข้ม = เกิดจากการผสมแสงสีแดงกับสีน้ำเงิน <BR> Yellow สีเหลือง = เกิดจากการผสมแสงสีเขียวกับสีแดง <BR> K เป็นสีดำ = เกิดจากการผสมแสงสีแดงกับแสงสีเขียวกับสีน้ำเงิน(เอา RGB มาผสมกันหมด) | マジェンタ | [まじぇんた, majienta] (n) เป็นสีหนึ่งในหมวด CMYK (สีที่เกิดจากการผสมแสงสี ให้นึกถึงตราสัญลักษณ์ของช่อง 7) <BR> Cyan (ภาษาฮอลลันดา) สีออกฟ้า = เกิดจากการผสมแสงสีเขียวกับสีน้ำเงิน <BR> Magenta สีออกชมพูเข้ม = เกิดจากการผสมแสงสีแดงกับสีน้ำเงิน <BR> Yellow สีเหลือง = เกิดจากการผสมแสงสีเขียวกับสีแดง <BR> K เป็นสีดำ = เกิดจากการผสมแสงสีแดงกับแสงสีเขียวกับสีน้ำเงิน(เอา RGB มาผสมกันหมด), See also: R. シアン | 英語 | [えいご, eigo] (n) ภาษาอังกฤษ | 台詞 | [せりふ, serifu] (n) (สพีชฺ) n. การพูด, วิธีการพูด, คำพูด, คำบรรยาย, คำสุนทรพจน์, วิชาเกี่ยวกับการพูด, ข่าวลือ, ภาษาชนชาติ, ภาษา., S. utterance | ドイツ語 | [ドイツご, doitsu go] (n) ภาษาเยอรมัน | เรอกุโตะ | [ドイツご] (n, vi, vt, modal, ver) เลิกกันในฉบับ ภาษา ประเทศ โอซาว่า, See also: S. เรกุโตะ | 御機嫌よう | [ごきげんよう, gokigenyou] สวัสดี (คำทักทายแบบสุภาพ ภาษาผู้ดี), See also: S. こんにちは | 音韻論 | [おんいんろん, on'inron] (n) วิชาที่ว่าด้วยระบบเสียงของภาษา, See also: R. phonology | ドタキャン | [どたきゃん, dotakyan] (colloq) Dotacan เป็นภาษาพูด หมายถึง เดทหรืองาน ที่ล้มเหลวก่อนจะได้เริ่ม | hentai | [どたきゃん, hentai] (n) มาจากภาษาญี่ปุ่น หมายถึง คนที่โรคจิตหรือ อาการจิตผิดปกติ มักใช้ไปในทางลามกและทางที่ไม่ดี, See also: S. pervert | 厨房 ; 中坊 ; 中に病 | [จูโบ จูนิเบียว จูนิบโย chuubou chuububyou ちゅうにびょう ちゅうぼう] (n, slang) ความหมายโดยแท้จริง แปลว่า ครัว แต่เนื่องจากไปพ้องเสียงกับอีกคำแสลงอีกคำที่มีความหมายว่า เกรียน (ทำตัวเป็นเด็กไม่รู้จักโต ก่อกวน หรือสร้างความรำคาญให้ผู้อื่น) คือ 中坊 (เด็กมัธยมต้น หรือ เด็กที่ไม่รู้จักโต) และในขั้นตอนเวลาพิมพ์คำว่า 中坊 มักจะไม่ออกมาให้เลือก ชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่จึงใช้คำ 厨房 ในเชิงคำแสลงว่า "เกรียน" แทนคำเดิมไปโดยปริยาย นอกจากนี้ยังมีคำว่า 中に病 (ちゅうにびょう)ซึ่งแปลว่า "โรคเด็กม.ต้น" ก็มีใช้ในความหมายเชิงว่า เกรียน ได้ด้วยเ่ช่นกัน (ขอบคุณข้อมูลจากเพจ "เรียนภาษาญี่ปุ่นกับโอมเซนเซ" ด้วยค่ะ) | 行けず | [いけず, ikezu] (ภาษาถิ่นโอซาก้า) ใจร้าย ชอบกลั่นแกล้ง |
| 言語 | [げんご, gengo] TH: ภาษา EN: language | 手話 | [しゅわ, shuwa] TH: ภาษามือ | 日本語 | [にほんご, nihongo] TH: ภาษาญี่ปุ่น EN: Japanese language | 文語 | [ぶんご, bungo] TH: ภาษาเขียน EN: written language | 文語 | [ぶんご, bungo] TH: ภาษาในวรรณกรรม EN: literary language | 飲む | [のむ, nomu] TH: ดื่ม ในภาษาญี่ปุ่นใช้กับการกินของเหลวหรือ การกลืนลงคอโดยไม่เคี้ยว | 習う | [ならう, narau] TH: เรียน โดยเฉพาะเกี่ยวกับทักษะ เช่น การใช้พู่กัน การเรียนภาษา EN: to learn | 中国語 | [ちゅうごくご, chuugokugo] TH: ภาษาจีน EN: Chinese language | 外来語 | [がいらいご, gairaigo] TH: คำที่มีที่มาจากภาษาอื่นแล้วนำมาใช้ในภาษาตน EN: borrowed word | 音便 | [おんびん, onbin] TH: การเปลี่ยนแปลงของเสียงอันเนื่องมาจากเสียงข้างเคียงในภาษาญี่ปุ่น EN: euphonical change | 国字 | [こくじ, kokuji] TH: อักษรคันจิที่คิดขึ้นเองในภาษาญี่ปุ่น EN: kanji made in Japan |
| Frau | นาง (คล้าย Mrs. ในภาษาอังกฤษ) | Sprache | (n) |die, pl. Sprachen| ภาษา | Wort | (n) |das, pl. Worte/ Wörte| คำ(เชิงภาษา) | auch | ด้วย, คล้าย too ในภาษาอังกฤษ | das | (artikel) คำนำหน้านามเพศกลางที่เฉพาะเจาะจง (เหมือน the ในภาษาอังกฤษ) | daß | (konj) ที่ว่า (ใช้เป็นคำเชื่อมระหว่างวลี หรืออนุประโยค คล้าย that ในภาษาอังกฤษ) เช่น Ich rechne damit, daß er mich heute anruft. ฉันคาดว่า เขาจะโทรมาหาฉันวันนี้ | dem | (artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) ที่อยู่ในรูป Dativ สำหรับคำนามเพศชาย der, และเพศกลาง das | den | (artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) 1. ที่อยู่ในรูป Akkusativ สำหรับคำนามเพศชาย der เช่น für den Mann สำหรับผู้ชายคนนั้น 2. ที่อยู่ในรูป Dativ สำหรับคำนามพหูพจน์เพศใดๆ เช่น mit den Männern กับผู้ชายเหล่านั้น | denn | ใช้เป็นคำเน้น ไม่มีความหมายที่แน่นอน ใช้เสริมในประโยคเพื่อให้ฟังดูนุ่มขึ้น อาจแปลเป็นไทยภาษาพูดว่า 'ล่ะ' เช่น Was machst du denn da? เธอทำอะไรอยู่หรือเนี่ย (ถ้าไม่มี denn ฟังดูห้วนคล้ายว่า เธอทำอะไรอยู่) | der | (artikel) คำนำหน้านามเพศชายที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) ที่อยู่ในรูปประธาน | der | (artikel) คำนำหน้านามเพศหญิงที่เฉพาะเจาะจงที่อยู่ในรูป Dativ (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) เช่น an der Tür ตรงประตู (Tür เป็นเพศหญิง) | die | (artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจงสำหรับเพศหญิง หรือพหูพจน์ (เหมือน the ในภาษาอังกฤษ), See also: der, das | einst | ครั้งหนึ่งในอดีต หรือ เมื่อก่อนนี้ (โดยมากใช้ในภาษาเขียน) เช่น Stavenger ist, wo wir einst waren. สตาเวนเจอร์คือเมืองหนึ่งที่เราเคยไป, Syn. früher | erneut | (adv) ครั้งใหม่, อีกครั้ง (ภาษาเขียน) เช่น erneut sagen พูดซ้ำอีกครั้ง, Syn. wieder | französisch | (adj, n) ที่เกี่ยวกับฝรั่งเศส, ภาษาฝรั่งเศส เช่น Wie heißt das auf französisch? มันเรียกว่าอย่างไรในภาษาฝรั่งเศส, Ich bin französisch./Ich bin eine Französin. ฉันเป็นคนฝรั่งเศส, See also: Frankreich | ist | เป็น อยู่ คือ (คล้าย is ในภาษาอังกฤษ), See also: sein | jedoch | (konj) แต่ (เป็นคำที่ไพเราะกว่า aber มักใช้ในภาษาเขียน ใช้บ่งสิ่งที่ขัดแย้งกัน) เช่น Er wollte seine Eltern besuchen, tat jedoch nicht. เขาอยากไปเยี่ยมพ่อแม่ แต่ก็ไม่ได้ทำ, See also: doch, Syn. aber | lassen | ยอมให้ (คล้าย let ในภาษาอังกฤษ) (กรณีกริยาช่วย) | lassen | วางไว้ ปล่อยไว้ (คล้าย let ในภาษาอังกฤษ) (กรณีกริยาแท้) | ließ, gelassen | | mehr | มากกว่า (คล้าย more ในภาษาอังกฤษ) | mit | ด้วย (คล้าย with ในภาษาอังกฤษ) | ob | ว่าจะ-หรือไม่ คล้าย if หรือ whether ในภาษาอังกฤษ | russisch | เกี่ยวกับรัสเซีย, ภาษารัสเซีย | sich | reflexive pronoun คล้าย himself ในภาษาอังกฤษ | sind | เป็น อยู่ คือ (คล้าย are ในภาษาอังกฤษ), See also: sein | war | เป็น อยู่ คือ (คล้าย was ในภาษาอังกฤษ), See also: sein | wir | เรา (คล้าย we ในภาษาอังกฤษ) | wurde | จะ (คล้าย would ของภาษาอังกฤษ), See also: wurden | wurden | จะ (คล้าย would ในภาษาอังกฤษ) | Kerl | (n) |der, pl. Kerle/Kerls| ชายหนุ่ม (ภาษาพูด), See also: Junge, Mann | Datum | (n) |das, pl. Daten| วันที่ เช่น Welches Datum haben wir heute? - Heute ist der 27. Oktober 2001. (วิธีการบอกวันที่เป็นภาษาเยอรมันโดยทั่วไป - Das Sommersemester fängt am 15.04 an., การบอกวันที่ในจดหมาย - den 12 Oktober 2003) | Scheisse! | (n, slang) เป็นคำด่า หรือ คำบ่น เวลาอะไรไม่ดี คล้ายกับ shit ในภาษาอังกฤษ ความหมายตรงตัวคือ อุจจาระ | Kumpel | (n) |der, pl. Kumpel| เพื่อนสนิท, คู่ซี้ (ความหมายคล้ายกับคำ buddy ในภาษาอังกฤษ) | Verdammt noch mal! | (phrase) เป็นคำด่า, สาบแช่ง (ค่อนข้างหยาบ) เทียบได้กับภาษาอังกฤษว่า Damn it! | Ach! | (phrase) คำแสดงความตกใจ หรือประหลาดใจ คล้ายกับ เหรอ! ฮ้า! (เทียบได้ประมาณ Oh! ในภาษาอังกฤษ) | Na und? | (phrase) เหรอ แล้วไง? (ภาษาพูด) | Wohnsitz | (n) |der| ที่พำนักอาศัย, ที่อยู่ที่ชัดเจน (เป็นภาษาราชการ), See also: der Wohnort | große Toilette machen | (vt) อุจจาระ (เป็นภาษาพูดเพื่อหลีกเลี่ยงคำว่า อุจจาระ) เช่น Wann haben Sie zum letzten Mal die große Toilette gemacht? คุณอึครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่ | geduldig | (adj, adv) อดทน เช่น Er wartet geduldig auf mich vor seiner Sprachschule. เขาคอยฉันอย่างอดทนที่หน้าโรงเรียนสอนภาษาของเขา | der Plausch | (n) การคุยสนทนา (ไม่เป็นทางการ เป็นภาษาพูด), การซุบซิบ, Syn. das Gespräch | Erdgeschoss | (n) |das| ชั้นล่างสุด (ไม่ใช่ชั้นใต้ดิน) ซึ่งเท่ากับชั้นที่หนึ่งในภาษาไทย | in etwa | โดยประมาณ, สัก... (ภาษาพูด) ตัวอย่างการใช้คำ a: Wann bist du angekommen? = คุณมาถึงตั้งแต่เมื่อไหร่ละเนี่ย? b: In etwa 10 Minuten schon. = อ๋อ ก็สัก 10 นาที แล้วล่ะ, See also: etwa, Syn. ungefähr | Kontemplation, -en | (n) การคิดอย่างมีสติ, การพิจารณาอย่างรอบคอบ, การไตร่ตรองอย่างแน่วแน่ (เป็นภาษาเขียน), See also: kontemplativ | Vokal | (n) |der, pl. Vokale| สระ (ในภาษาเยอรมัน a, e, i, o, u, ä, ö, ü) | Thailändisch | (n, uniq) |das| ภาษาไทย | Deutsch | (n, uniq) |das, nur Sg.| ภาษาเยอรมัน | Schatz | (n, slang) |der, pl. Schätze| ที่รัก (เป็นภาษาพูดสำหรับคู่รักหรือพ่อแม่กับลูก) เช่น Bist du schon zurück, mein Schatz? เธอกลับมาแล้วหรือจ๊ะ ที่รักจ๋า | abschleppen | (vt) |schleppte ab, hat abgeschleppt| รับ(คน), นำใครกลับบ้าน(โดยหวังจะมีเซ็กส์ด้วย ในภาษาพูดบางครั้ง) | Fremdsprache | (n) |die, pl. Fremdsprachen| ภาษาต่างประเทศ, ภาษาที่ไม่ใช่ภาษาแม่, See also: A. die Muttersprache | Muttersprache | (n) |die, pl. Muttersprachen| ภาษาแม่, See also: A. die Fremdsprache |
| checken | (vi) ตรวจสอบ ทดสอบ (เป็นคำศัพท์มาจากภาษาอังกฤษ Check) | geil | [ไกย] ยอดเยี่ยม ดีเลิศ (เป็นภาษาพูด เหมือนคำว่า เจ๋ง เทพ สุดยอด) เช่น Du bist einfach geil und wunderschön! | Sprachgebrauch { m } | (n) การใช้ภาษา | Verdammt noch mal!; Verflucht noch mal! | (phrase) damn it! (phrase) เป็นคำสบถ แปลว่า ฉิบหาย ให้ตายเถอะ (ดีกรีความหยาบคาย ขึ้นกับอารมณ์ผู้พูดขณะนั้น และแปลตรงจากภาษาอังกฤษ คือ แช่งมันไปเลย) |
| avoir | (vt) |j'ai, tu as, il a, nous avons, vous avez, ils ont| 1. มี เช่น J'ai soif. ผมมีอาการกระหายน้ำ หรือ ผมหิวน้ำ 2. avoir ยังเป็นกิริยาช่วยในประโยคที่อยู่ในรูปอดีต (Passé composé) เช่น Hier j'ai eu trés soif dans la classe de français. เมื่อวานนี้ดิฉันหิวน้ำมากเลยค่ะในชั่วโมงภาษาฝรั่งเศส | ä | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า a tréma ในภาษาฝรั่งเศส | ö | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า o tréma ในภาษาฝรั่งเศส | ü | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า ü tréma ในภาษาฝรั่งเศส | ß | เป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า deux s ในภาษาฝรั่งเศส | Salut! | เป็นคำทักทายสำหรับคนที่รู้จักกันดีแล้ว หรือในหมู่เพื่อน คล้าย หวัดดี (สวัสดี)ในภาษาไทย | séjour linguistique | (n) |m| การพำนักอยู่เพื่อเรียนภาษา, การอาศัยอยู่เพื่อเรียนภาษา | parole | (n) |f| คำ(ภาษา), คำพูด เช่น la parole de Dieu คำจากพระเจ้า | mamie | (n) |f| ย่า, ยาย (ภาษาที่เด็กตัวเล็กๆ ชอบใช้) | papi | (n) |m| ปู่, ตา (ภาษาที่เด็กตัวเล็กๆ ชอบใช้) | madame | เป็นคำนำหน้าชื่อของผู้หญิงที่สุภาพ ไม่จำเป็นต้องแต่งงานแล้ว คล้ายกับ นางและนางสาว ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Madame Chantel ในภาษาเขียน ย่อเป็น Mme. Chantel, See also: mademoiselle, Ant. monsieur, Related: mademoiselle | mademoiselle | เป็นคำนำหน้าชื่อที่สุภาพของหญิงสาวรุ่นที่มีอายุน้อย คล้ายกับ นางสาว ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Mademoiselle Chantel ในภาษาเขียน ย่อเป็น Mlle. Chantel (สังเกตว่า เมื่อใดก็ตาม mademoiselle ที่นำหน้าชื่อคน จะต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่), See also: madame, Ant. monsieur, Related: madame | monsieur | เป็นคำนำหน้าชื่อที่สุภาพของผู้ชาย คล้ายกับ นาย ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Monsieur Allongue ในภาษาเขียน ย่อเป็น M. Allongue (สังเกตว่า เมื่อใดก็ตาม monsieur ที่นำหน้าชื่อคน จะต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่), Ant. madame, mademoiselle | russe | (n) |m, เฉพาะเอกพจน์| ภาษารัสเซีย, See also: Russe | constitutionnellement | (adv) ตามรัฐธรรมนูญ (เป็นคำในภาษาฝรั่งเศสที่มีจำนวนพยัญชนะและสระในหนึ่งคำมากที่สุด) | bien | (adv) ดี (คล้ายกับคำว่า well ในภาษาอังกฤษ) เช่น Il travaille bien. เขาทำงานได้ดี, Ant. mal | joconde | (n) |f| ชื่อในภาษาฝรั่งเศสของภาพวาดเหมือนสตรีคนหนึ่ง ที่คนทั่วไปเรียกภาพนี้ว่า Mona Lisa ผลงานของ Leonardo Da Vinci จิตรกรชื่อก้องชาวอิตาลี ปัจจุบันภาพนี้อยู่ที่พิพิธภัณฑ์ Louvre กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส | Je vous en prie. | (phrase) ไม่เป็นไร (ใช้ในกรณีที่มีคนขอบคุณเรา มีความหมายเท่ากับ You're welcome.ในภาษาอังกฤษ เป็นภาษาสุภาพ ถ้าพูดกับคนคุ้นเคยกันใช้ประโยคที่ว่า Je t'en prie!), Syn. De rien!, Il n'y a pas de quoi. | OMS | (abbrev) องค์การอนามัยโลก ย่อจาก l'Organization Mondiale de la Santé (ซึ่งตรงกับ World Health Organisation (WHO)ในภาษาอังกฤษ) | argot | (n) |m| ภาษาสแลง, ภาษาพูด เช่น Les mots du Dictionnaire de la langue française pour l'usage argot. | linguistique | (n, adj) ภาษาศาสตร์, เกี่ยวกับภาษา, เกี่ยวกับการศึกษาภาษา, See also: langue, langage, science du langage |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |